บทที่ 4 การจัดการการดำเนินงานขนส่ง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นิติบุคคลอาคารชุดวันพลัส คอนโด นายน์ทีน 1
Advertisements

ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
การจัดสรรตำแหน่งและการ คัดเลือก เพื่อบรรจุลูกจ้างชั่วคราวเข้า รับราชการ.
การจัดการองค์ความรู้ ( KM )
บทที่5 การควบคุมการผลิตและต้นทุนการผลิต
การฝึกอบรมและพัฒนาพนักงานขาย
อำนาจเจริญ - ว่าง- - ว่าง- - ว่าง - -ว่าง -
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
แผนงานย่อย “น้ำมันทอดซ้ำเสื่อมสภาพ”
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
การวิเคราะห์ข้อมูล เขตพัฒนาเศรษฐกิจ พิเศษ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์ จังหวัด จังหวัด นราธิวาส 1.
CSIT-URU อ. กฤษณ์ ชัยวัณณคุปต์ Mathematics and Computer Program, URU บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ เทคโนโลยีสารสนเทศ Introduction to Information.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
ทิศทางการตลาด และ การ สนับสนุนเกษตร อินทรีย์ โดย น. ส. สุทัศนีย์ ราช เรืองระบิน รองอธิบดี กรมการค้าภายใน.
ประเภทของ CRM. OPERATIONAL CRM เป็น CRM ที่ให้การสนับสนุนแก่กระบวนการธุรกิจ ที่เป็น “FRONT OFFICE” ต่างๆ อาทิ การขาย การตลาด และการ ให้บริการ SALES FORCE.
ระเบียบคณะกรรมการพลังงานปรมาณูเพื่อสันติว่าด้วยวิธีการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของวัสดุนิวเคลียร์และสถานประกอบการทางนิวเคลียร์พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
รายชื่อกลุ่ม 1.น.ส.อริศรา มีตัน ปวส. 2/6 รหัส น.ส.พรพรรณ หมอนสวัสดิ์ ปวส. 2/6 รหัส น.ส.ศลัญญากรณ์ ศิลป์มณีโชค ปวส. 2/6 รหัส
เอกสารเกี่ยวกับการขนส่งสินค้า
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
เครื่องมือทางภูมิศาตร์
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ยินดีต้อนรับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน (พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์) และคณะ ในโอกาสตรวจเยี่ยมจังหวัดตาก วันที่ กรกฎาคม 2558.
บทที่ 5 ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารทรัพยากรมนุษย์
การรายงานความคืบหน้าหรือสถานะ
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ผู้ปฏิบัติ : ทีมสนับสนุน
ณ ห้องประชุมกองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
วาระที่ ผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเตรียมความพร้อมบุคลากร สำนักแผนงานและโครงการพิเศษเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานในพื้นที่
ความรู้เบื้องต้นระบบระบายอากาศ
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
พิธีการส่งของออกทางบกที่ด่านศุลกากร
รูปแบบ และ ประโยชน์การขายสินค้าออนไลน์
แผนการตลาดสำหรับ [ชื่อผลิตภัณฑ์]
กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561
“ถ้าหากบริษัทบุหรี่ต้องหยุดทำการตลาดที่พุ่งเป้าไปที่เด็กๆ บริษัทบุหรี่จะล้มละลายภายใน 25 – 30 ปี เพราะจะไม่มีลูกค้าเพียงพอที่ธุรกิจจะอยู่ได้”
กองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพ จังหวัดน่าน
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
การวางแผนกำลังการผลิต
Supply Chain Management
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
Lean Management การลดขั้นตอนการนัดตรวจสุขภาพจิตของ นร.กพ
คู่มือการใช้เครื่องชี้วัดสำหรับ การประเมินผลการปฏิบัติตามมาตรฐาน ทางคุณธรรมและจริยธรรม ส่วนมาตรฐานการบริหารงานบุคคล สำนักงาน ก.ถ. สป.
การขายและการตลาดสำหรับธุรกิจโรงแรมและที่พัก
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
Supply Chain Logistics
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
บทที่ 7 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 4 การจัดการการดำเนินงานขนส่ง บทที่ 4 การจัดการการดำเนินงานขนส่ง อาจารย์สุรพงศ์ อินทรภักดิ์

วัตถุประสงค์ของการดำเนินงานขนส่ง 1. เข้าใจภาพรวมการดำเนินงานขนส่ง 2. เข้าใจการดำเนินงานขนส่งระหว่างจังหวัด 3. เข้าใจการดำเนินงานขนส่งในพื้นที่ 4. เข่าใจระบบถอดเทรลเลอร์เพื่อลงและขึ้นสินค้า 5. เจ้าใจการดำเนินงานในสถานีขนถ่ายสินค้า อาจารย์สุรพงศ์ อินทรภักดิ์

1 ภาพรวมการดำเนินงานขนส่ง การดำเนินงานขนส่งจะดำเนินงานทั้งการขนส่งขาเข้า (Inbound Transport) และการขนส่งขาออก (Outbound Transport) โดยการขนส่งมีทั้งการขนส่งภายในประเทศและการขนส่งภายนอกประเทศ ซึ่งจะมีกระบวนการคล้ายกันในทุกวิธี โดยวงจรของการจัดส่ง (Delivery Cycle) ต้องพิจารณาความถี่ในการจัดส่งสินค้า เส้นทางจัดส่ง และขนาดยานพาหนะ เพื่อให้เกิดต้นทุนต่ำสุด ขั้นตอนจะเริ่มจาก การออกใบสั่งให้จัดส่งไปยังลูกค้า (Release Orders for Shipment) พิมพ์ใบหยิบสินค้าและเตรียมสินค้า (Print Pick List and Stage Goods) การพิมพ์ใบจัดส่ง และ (Bill of Lading and Packing List) ออกใบแจ้งหนี้และจัดส่ง อาจารย์สุรพงศ์ อินทรภักดิ์

1.1 การขนส่งระหว่างประเทศ การบริการที่ผู้รับจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศเสนอให้บริการแก่เจ้าของสินค้ามีตั้งแต่การจัดการเกี่ยว กับเส้นทางการส่งสินค้าและงานพื้นๆ เช่น การจองระวางเรือให้แก่เจ้าของสินค้า หรือการดำเนินการ พิธีการศุลกากร จนถึงการให้บริการบรรจุภัณฑ์รวมถึงการจัดการทางด้านการขนส่งครบวงจรและกระบวนการ จำแนกแจกจ่ายสินค้าไปยังที่ต่างๆ อาจารย์สุรพงศ์ อินทรภักดิ์

1.1 การขนส่งระหว่างประเทศ ลักษณะของการขนส่งที่ดี การขนส่งเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับการดำเนินชีวิตของมนุษย์และการดำเนินธุรกิจ ดังนั้น เพื่อให้การขนส่งมี ประสิทธิภาพ ควรมีลักษณะการขนส่งที่ดีดังนี้ 1. มีความปลอดภัย 2. มีความรวดเร็วตรงต่อเวลา ทันเวลาตามความต้องการของผู้บริโภค 3. ประหยัดค่าใช้จ่าย 4. มีความสะดวกสบาย อาจารย์สุรพงศ์ อินทรภักดิ์

1.1 การขนส่งระหว่างประเทศ ปัจจัยที่ควรพิจารณาในการเลือกวิธีการขนส่ง - ตัวผลิตภัณฑ์ (ของแข็ง, ของเหลว, มูลค่า) ดูทางกายภาพ - แหล่งที่ตั้งของตลาดและระยะทาง (ดูเส้นทางการขนส่ง) - ความเร็ว (ดูค่าระวาง) - อัตราค่าระวาง (Freight Rate) - ความน่าเชื่อถือ (Dependability) อาจารย์สุรพงศ์ อินทรภักดิ์

1.1 การขนส่งระหว่างประเทศ รูปแบบของการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ 1. โดยเรือ เหมาะสมกับการขนส่งคราวละมากๆ ระยะทางไกล ต้นทุนต่ำ ไม่เร่งด่วน ต้องการการวางแผนที่ดี เช่นสินค้าวัตถุดิบ ส่วนประกอบ เครื่องจักร ปัจจุบันนิยมการขนส่งทางเรือระบบคอนเทนเนอร์ 2. โดยเครื่องบิน เหมาะสมกับการขนส่งที่ต้องการความเร่งด่วน ปริมาณน้อย ต้นทุนสูง ตอบสนองความ ต้องการผู้บริโภคได้ดี เช่นสินค้า อะไหล่เครื่องจักร สินค้าแฟชั่น ผัก ผลไม้ เครื่องประดับ 3. โดยรถบรรทุก เหมาะสมกับการขนส่งประเทศใกล้เคียง ระยะสั้น ดำเนินการง่าย ส่งมอบรวดเร็วตาม กำหนด เช่น สินค้าอุปโภค บริโภค ส่งไปประเทศพม่า ลาว กัมพูชา มาเลเซีย 4. โดยทางรถไฟ เหมาะสมกับการขนส่งประเทศใกล้เคียง ระยะสั้น ต้นทุนต่ำ เช่น ส่งออกเข้าด่าน ปาดังเบซาร์ประเทศมาเลเซีย, เวียงจันทร์ประเทศลาว 5. โดยทางท่อ เหมาะสมกับการขนส่งประเทศใกล้เคียง สินค้าเป็นน้ามัน แก๊ส 6. โดยไปรษณีย์ เหมาะสมกับตัวอย่างสินค้า สะดวก ต้นทุนต่ำ อาจารย์สุรพงศ์ อินทรภักดิ์

1.1 การขนส่งระหว่างประเทศ เริ่มจากที่ต้องมีการเสนอราคาและยืนยันราคากันก่อน (Pro-forma Invoice) พร้อมเงื่อนไขทางการค้าและธนาคารออกจดหมายรับรองเครดิต (Letter of Credit; L/C) เมื่อได้รับ L/C จะเริ่มทำการผลิตหรือจัดหา แล้วทำการจัดสินค้าลงบรรจุภัณฑ์ซึ่งต้องมีเอกสารกำกับสินค้าในบรรจุภัณฑ์ (Packing List) เอกสารขอนำเข้าและส่งออกจากกรมศุลกากร เอกสารรับรองแหล่งกำเนิดสินค้าและใบรับรองที่จำเป็น และเอกสารตราส่งสินค้า (Bill of landing) ซึ่งมีทั้งตราส่งทางน้ำ ทางเรือ ทางบก ทางอากาศ อาจารย์สุรพงศ์ อินทรภักดิ์

1.2 การขนส่งภายในประเทศ จะเริ่มจากการรวบรวมคำสั่งซื้อสินค้าจากลูกค้า แล้วพิจารณาร่วมกับเกี่ยวกับ วิธีขนส่งยานพาหนะที่จะขนส่งสินค้า เลือกเส้นทางและตารางกำหนดเวลาในการจัดส่งเทคนิคในการปฏิบัติ (Cross Dock, Milk Run, Consoildation, etc) จัดเตรียมสินค้า บรรทุกสินค้าขึ้นยานพาหนะ จัดเตรียมเอกสาร เลือกผู้ขับยานพาหนะ และการควบคุมการขนส่ง 1. รวบรวมคำสั่งซื้อสินค้า 2. เลือกวิธีขนส่ง 3. เลือกยานพาหนะ 4. เลือกเส้นทางกำหนดเวลา 5. การควบคุมการขนส่ง 6. จัดเตรียมเอกสาร 7. จัดเตรียมสินค้าบรรทุกสินค้า อาจารย์สุรพงศ์ อินทรภักดิ์

1.2 การขนส่งภายในประเทศ การดำเนินงานขนส่งระหว่างจังหวัด (Trunking Operation) การขนส่งระหว่างจังหวัด หรือการกระจายสินค้าระยะเริ่มแรก (Primary Transport) เกี่ยวกับการกระจายสินค้า ระยะแรก โดยมีการเคลื่อนย้ายสินค้า ซึ่งปกติมีการกำหนดเครือข่ายซึ่งจำเป็นต้องกระจายสินค้า และจัดส่งสินค้าให้ลูกค้าที่ร้านของลูกค้า ซึ่งการขนส่งระหว่างเมือง แบ่งเป็น 3 ลักษณะดังนี้ การเคลื่อนย้ายสินค้าระหว่างหน่วยงาน เช่น จากโรงงานไปคลังสินค้า จากศูนย์จำหน่ายสินค้าไปยังอีกที่หนึ่ง เช่น การส่งสินค้าของแอมเวย์ ซึ่งเริ่มจากคลังสินค้าที่ถนนพัฒนาการไปยังศูนย์ย่อยทั่วประเทศ การจัดส่งสินค้าเต็มคันรถไปยังลูกค้าในระยะทางที่ไกล เช่น การใช้รถเทรลเลอร์ขนสินค้าจากที่ศูนย์กระจายสินค้าจากที่ศูนย์กระจายสินค้าวังน้อยของโลตัส ไปยังแต่ละร้านในแต่ละภาค การเคลื่อนย้ายสินค้าจากคลังสินค้ากลางสำหรับทำการจัดส่ง ซึ่งความหมายรวมถึง การดำเนินงานกระจายสินค้าในพื้นที่ (Local Distribution) อาจารย์สุรพงศ์ อินทรภักดิ์

1.2 การขนส่งภายในประเทศ ในประเทศไทยการขนส่งแบบนี้อาจจะมีการวิ่งระยะทางไกล คนขับรถทุกๆ 500 กิโลเมตร หรือใช้ระบบจอดตู้พ่วง หรือเทรลเลอร์ทิ้งไว้ เช่น กรณีขนส่งไปถึงขอนแก่นจะเปลี่ยน 1 ครั้ง เพื่อวิ่งต่อไปยังจังหวัดหนองคาย อาจารย์สุรพงศ์ อินทรภักดิ์

1.2 การขนส่งภายในประเทศ ในประเทศไทยการขนส่งแบบนี้อาจจะมีการวิ่งระยะทางไกล การขนส่งจะใช้รถยนต์ขนาดใหญ่ เช่น รถพ่วงวิ่งไปจุดขนถ่ายหลังจากนั้นจะมีรถยนต์ 10 ล้อ หรือรถยนต์ 6 ล้อ วิ่งมารับสินค้าต่อไป ซึ่งนิยมใช้กันมาก เพื่อให้มีการกระจายสินค้าได้กว้างขวางมากขึ้น อาจารย์สุรพงศ์ อินทรภักดิ์

1.2 การขนส่งภายในประเทศ ในประเทศไทยการขนส่งแบบนี้อาจจะมีการวิ่งระยะทางไกล อาจารย์สุรพงศ์ อินทรภักดิ์

1.2 การขนส่งภายในประเทศ วางแผนและจัดองค์กร ให้มีการดำเนินการขนส่งระหว่างเมืองอย่างมีประสิทธิภาพ ฝ่ายจัดการต้องทุ่มเทและให้ความสนใจ ในความสำคัญเร่งด่วนในรายละเอียดต่อไปนี้ - การติดตาม การควบคุม และการรับตามตำแหน่งเทรลเลอร์ในปัจจุบัน - ในการขนส่งต่อกัน 2 เที่ยวหรือถ่ายโอนสินค้าหรือทำงาน กะ ต้องสร้างความมั่นใจว่าการส่งมอบงานระหว่างกะของเทรลเลอร์ได้ดำเนินการอย่างมีประสิทธิภาพ - การควบคุม และการออกเอกสารกำกับการส่งสินค้า ต้องมั่นใจว่ามีการผนึกเอกสารเพื่อรักษาความปลอดภัย และได้มีการดำเนินการตามขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ถูกต้อง อาจารย์สุรพงศ์ อินทรภักดิ์

1.2 การขนส่งภายในประเทศ วางแผนและจัดองค์กร ให้มีการดำเนินการขนส่งระหว่างเมืองอย่างมีประสิทธิภาพ ฝ่ายจัดการต้องทุ่มเทและให้ความสนใจ ในความสำคัญเร่งด่วนในรายละเอียดต่อไปนี้ - ในกรณีควบคุมอุปกรณ์ในการควบคุมการเดินทาง (Tachograph) ซึ่งเป็นแผ่นดิสก์ที่มอบแก่พนักงานขับรถ หรือระบบอื่น (GPS) - การทำงานภายใต้เหตุการณ์ฉุกเฉิน เช่น คนขับรถป่วยกะทันหัน สภาพดินฟ้าอากาศ ซึ่งทำให้การส่งมอบสินค้า หรือเปลี่ยนคันรถเพื่อส่งต่อล่าช้า และปัญหารถพังเป็นต้น - การสื่อสารกับผู้รับสินค้าหรือศูนย์โอนย้ายสินค้า เพื่อสร้างความมั่นใจว่ามีการเปลี่ยนถ่ายอย่างรวดเร็ว และการส่งสินค้าตามจุดต่างๆทำอย่างรวดเร็วเช่นกัน - ต้องสร้างความมั่นใจว่าน้ำหนักบรรทุกรวมและน้ำหนักบรรทุกต่อเพลาไม่เกินกว่ากำหนด เพราะถ้าเกินจะส่งผลต่อการชั่งน้ำหนักและถูกปรับในที่สุด อาจารย์สุรพงศ์ อินทรภักดิ์

1.2 การขนส่งภายในประเทศ ปัจจัยที่มีผลต่อการขนส่งในพื้นที่ (Factor which Affect local Delivery) ปัจจัยที่ต้องคำนึงได้แก่ธรรมชาติและขนาดของผลิตบรรจุภัณฑ์และการบรรทุก (Nature and size of Product and Load) - มีสินค้าเมื่อไร และชั่วโมงการทำงานมากน้อยเพียงใด - ความต้องการในการยกขน เคลื่อนย้าย และเป็นสินค้าอันตรายหรือไม่ - มาตรฐานบรรจุภัณฑ์ - ปริมาณสินค้าในการแวะส่งเฉลี่ย ต่ำสุด สูงสุด - น้ำหนัก ปริมาตร มูลค่า และการแตกหักของสินค้า - การใช้พาเลท กล่อง และสิ่งห่อหุ้มสินค้า อาจารย์สุรพงศ์ อินทรภักดิ์

1.2 การขนส่งภายในประเทศ ปัจจัยที่มีผลต่อการขนส่งในพื้นที่ (Factor which Affect local Delivery) ทำเลที่ตั้งธรรมชาติของลูกค้า (The location and Nature of Customer) - เป็นพื้นที่นอกเมือง พื้นที่ในเขตชุมชน หรือใจกลางเมือง - มีข้อจำกัดในการเข้าไปในพื้นที่ เช่น พื้นที่ต้องห้าม พื้นที่กำหนดปิดชั่วคราว ปิดเร็วกว่ากำหนด - กำหนดชั่วโมงทำงาน - ความหนาแน่นของจุดที่หยุดแวะส่งสินค้า (Drop density) - อุปกรณ์อำนวยประโยชน์ของลูกค้า การมีพนักงาน และระดับความร่วมมือเชิงปฏิบัติการ - เวลาในการขับรถเฉลี่ย และเวลาที่วิ่งกลับมายังจุดเริ่มต้น อาจารย์สุรพงศ์ อินทรภักดิ์

1.2 การขนส่งภายในประเทศ ปัจจัยที่มีผลต่อการขนส่งในพื้นที่ (Factor which Affect local Delivery) ชนิดของยานพาหนะ (Type of Vehicle) - การนำสินค้าเข้าบรรทุกทางด้านหลังหรือด้านข้าง - อุปกรณ์ เช่น มีอุปกรณ์ยกสินค้าทางด้านหลังของรถ หลังคาแบบเคลื่อนย้ายได้ - ขนาดยานพาหนะ เป็นแบบยึดติดตายตัวหรือแยกส่วน - การมียานพาหนะที่เพียงพอ ลักษณะของการจัดส่งที่ต้องการ (Style of Delivery required) - ระดับการให้บริการลูกค้าที่ได้ให้คำมั่นสัญญา - การดำเนินเงินเป็นการให้บริการลูกค้าทั่วไป ตามปกติ หรือลูกค้าภายในองค์กร - ความต้องการระยะเวลาในการจัดส่ง - การทุ่มเทเอาใจใส่ต่อลูกค้า อาจารย์สุรพงศ์ อินทรภักดิ์

1.2 การขนส่งภายในประเทศ ความปลอดภัยส่วนบุคคล (PPE) พนักงานขับรถและพนักงานขนถ่าย อาจารย์สุรพงศ์ อินทรภักดิ์