สรุปผลการตรวจราชการและนิเทศงาน ปีงบประมาณ 2559 รอบที่ 1 คณะที่ 1: การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย และระบบควบคุมโรค ผู้สูงอายุ 12 เขตสุขภาพ วันที่ 19 พ.ค. 59
กรอบนำเสนอ สถานการณ์ภาพรวม การดำเนินการ ปัญหาอุปสรรค ข้อค้นพบจากการตรวจราชการ ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายสำหรับส่วนกลาง กรมในการตรวจครั้งต่อไป
คณะที่ 1: การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย และระบบควบคุมโรค หัวข้อ : ร้อยละของผู้สูงอายุที่ต้องการความช่วยเหลือ ในการดำเนินกิจวัตรประจำวันพื้นฐานไม่เกิน ร้อยละ 15 ของประชากรผู้สูงอายุ
การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย: กลุ่มผู้สูงอายุ (60 ปีขี้นไป) สถานการณ์ ผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น แนวโน้มกลุ่มพึ่งพิง(ติดบ้าน+ติดเตียง)เพิ่มขึ้น การตรวจประเมิน Geriatric syndrome ยาก เพราะมีการคัดกรองหลายเรื่อง การจัดการตำบล LTC
ข้อมูลทั่วไป :สัดส่วนผู้สูงอายุต่อประชากร ข้อมูลทั่วไป :สัดส่วนผู้สูงอายุต่อประชากร 14.55 รอกราฟเฉลี่ยและเส้นตัด ที่มา : ข้อมูลรายงาน ตก.2 ของ 12 เขต
ข้อมูลทั่วไป :ร้อยละผู้สูงอายุได้รับการคัดกรอง ADL 88.07 ที่มา : ข้อมูลรายงาน ตก.2 ของ 12 เขต
4. ประเด็นตรวจราชการที่มุ่งเน้น : ระบบการดูแลผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพึ่งพิงแบบระยะยาว(Long term care) แสดงข้อมูลเชิงปริมาณ: ที่มา : ข้อมูลรายงาน จากศูนย์อนามัยเขต 2 กพ.59
4. ประเด็นตรวจราชการที่มุ่งเน้น : ระบบการดูแลผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพึ่งพิงแบบระยะยาว(Long term care) แสดงข้อมูลเชิงปริมาณ:
4. ประเด็นตรวจราชการที่มุ่งเน้น : ระบบการดูแลผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพึ่งพิงแบบระยะยาว(Long term care) แสดงข้อมูลเชิงปริมาณ:
การบริหารงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคตามกลุ่มวัย กระบวนการบริหารงาน PP ภาพรวม การบริหารจัดการเป็นรูปแบบโซน (สาธารณสุขโซน:สสซ.) มี CM และ PM (Focal point) 5 กลุ่มวัย ระดับจังหวัดและอำเภอ กระบวนการบริหารแผนกลยุทธ์ด้านสุขภาพใช้ข้อมูลนำเข้าจากหลายด้าน ทั้งนโยบายจากระดับประเทศ ข้อมูลปัญหาจากพื้นที่ ผ่านกระบวนการมีส่วนร่วม และกรอบแนวคิด 6 BB กำหนดกรอบการบริหารแผนยุทธศาสตร์ และแผน PP เพื่อให้หน่วยงานในพื้นที่นำไปปฏิบัติให้เป็นรูปธรรม มีการถ่ายทอดแผนยุทธศาสตร์ลงสู่พื้นที่ เพื่อนำไปจัดทำแผนปฏิบัติการ ใช้ฐานข้อมูล 43 แฟ้ม ใช้โปรแกรม Hos XP และ Data Center ระบบควบคุม กำกับติดตาม ในรูปแบบนิเทศ ปีละ 2 ครั้ง ทุกจังหวัดมีแผนงานโครงการ มีเป้าหมาย quick win 3 6 9 12 เดือนชัดเจน
ปัญหา/อุปสรรค การพัฒนาศักยภาพ Care Manager ล่าช้า ไม่เพียงพอ ทำ ให้พื้นที่เป้าหมาย ไม่มีแผนการดูแลรายบุคคล ขาดงบประมาณการอบรม Care Manager หลักสูตร 70 ชั่วโมง ในพื้นที่นอกเหนือจากเป้าหมายตำบล(กระทรวงกำหนด) แต่มีความพร้อมที่จะยกระดับมาตรฐานบริการ การจัดกิจกรรมพัฒนา ป้องกันหกล้ม และภาวะสมองเสื่อม อย่างต่อเนื่อง ขาดการถอดบทเรียนสิ่งดีๆในพื้นที่
ปัญหา อุปสรรค แนวทางของ สปสช. ในการบริหารจัดการงบประมาณสำหรับ อบรมCare Giver และการจ่ายค่าตอบแทนให้กับผู้ที่ดูแล ผู้สูงอายุตามเกณฑ์ ขาดความชัดเจน ผู้เข้าอบรมขาดคุณสมบัติด้านวุฒิการศึกษาตามเกณฑ์ที่ กำหนด(CG ควรจบอย่างน้อย ม.3) ขาดการ Benchmarking หรือเทียบเคียง เป้าหมาย ใน ระบบการติดตามและประเมินผล ข้อมูลผู้สูงอายุ ใน ระบบ 43 แฟ้ม และระบบฐานข้อมูล HDC ยังไม่ ครบถ้วน ถูกต้องและทันเวลา ผู้สูงอายุ ยังไม่ได้รับการแก้ไขปัญหาที่ครอบคลุมทุกมิติ แบบคัดกรองผู้สูงอายุ
ข้อเสนอแนะในการสนับสนุน สนับสนุนการใช้ค่ากลาง (Norm) เป็นเครื่องมือแก้ไขปัญหาผู้สูงอายุ โดยบูรณาการในตำบล LTC บูรณาการ 5 กลุ่มวัย สนับสนุนและพัฒนานโยบายการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุกลุ่ม 1 (ติดสังคม) ซึ่งเป็นประชากรผู้สูงอายุส่วนใหญ่ โดยสร้างการมีส่วนร่วมกับชุมชนและใช้ศักยภาพในการช่วยเหลือกลุ่มที่มีภาวะพึ่งพิงและกลุ่มวัยอื่นๆ ควรสนับสนุนให้มีการจัดการความรู้ และการเยี่ยมชมเสริมพลังโดยใช้สื่อสาธารณะ เป็นกลไกการเสริมสร้างศักยภาพทีมงานระดับจังหวัด และอำเภอ
ข้อเสนอแนะระบบข้อมูล / การคัดกรอง การจัดทำฐานข้อมูลและการประเมินคัดกรองผู้สูงอายุ ควร บูรณาการให้ชัดเจนระหว่างกรมอนามัย และกรมการแพทย์ให้ เป็นรูปธรรมมากขึ้น วิเคราะห์สถานการณ์ ข้อมูลสุขภาพจาก 43 แฟ้ม และคืน กลับข้อมูลทุก 3 เดือน
ข้อเสนอแนะการดำเนินงาน LTC สปสช.เขต : ควรเร่งรัดทำคู่มือการใช้จ่ายงบประมาณ กองทุน LTC และแนวทาง (Guideline) การใช้เงินให้กับ พื้นที่ กรมอนามัย : สนับสนุนคู่มือแนวทางการดำเนินงานตำบลบูรณาการ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อมให้กับพื้นที่ พัฒนาทีมเยี่ยมเสริมพลังการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long term care)ระดับเขต ควรสนับสนุนการอบรม Training for the trainer หลักสูตร care manager ควรมีการจัดเวที ลปรร. ทีมวิทยากร CG CM เพื่อพัฒนาเป็นทีม วิทยากรระดับประเทศ กระทรวงสาธารณสุข : ชี้แจงทำความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบาย แก่ นายแพทย์สสจ. ผอ.รพ.ทุกระดับ อย่างต่อเนื่อง เพื่อ นำไปสู่ความร่วมมือการขับเคลื่อนงานได้อย่างต่อเนื่อง
นวัตกรรมที่เป็นแบบอย่าง การจัดการสุขภาพด้วยค่ากลางในโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพ ชุมชน (จ.เชียงใหม่) ตำบลหาดเสี้ยว อ.ศรีสัชนาลัย จ.สุโขทัย เป็นศูนย์เรียนรู้ ต้นแบบครบวงจร
นวัตกรรม “นวัตกรรมเตือนความจำ” รพ. สต. ดอนเกล็ด อ. ศรีบุญเรือง จ นวัตกรรม “นวัตกรรมเตือนความจำ” รพ.สต.ดอนเกล็ด อ.ศรีบุญเรือง จ.หนองบัวลำภู การนำไปใช้ประโยชน์ ลดภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นจากโรค ที่สามารถป้องกันได้ ผู้ป่วยได้รับการดูแลที่ ต่อเนื่องและได้มาตรฐานเดียวกันตาม แผนการรักษาของแต่ละบุคคล เจ้าหน้าที่ อสม. จิตอาสาในหน่วยงานมีการพัฒนา รูปแบบการเยี่ยมผู้ป่วยติดเตียงที่บ้านที่เป็น แนวทางเดียวกัน และมาตรฐานเดียวกัน โดยใช้เครื่องมือ นาฬิกาเตือนความจำทุก แห่ง
ระบบ COC R 9 Continuum of care REGION 9 วัตถุประสงค์ รูปแบบการใช้งาน 1.เพื่อรองรับการส่งต่อผู้ป่วยอย่างมีระบบ 2.เพื่อให้แผนการรักษาของแพทย์จากหน่วยบริการทุติยภูมิ/ตติยภูมิ ลงสู่การดูแลอย่างต่อเนื่องในระดับปฐมภูมิ 3.ข้อมูลมีความถูกต้อง และรวดเร็ว 4.เพื่อลดอัตราตาย ลดภาวะแทรกซ้อน และลดการ Readmit รูปแบบการใช้งาน 1.ใช้งานผ่าน Smart Phone 3G, 4G,WIFI 2.ส่งต่อข้อมูลจากหน่วยบริการตติยภูมิ / ทุติยภูมิ ลงสู่หน่วยบริการระดับปฐมภูมิทุกแห่ง 3.โปรแกรมสามารถเชื่อมต่อกับโปรแกรมระบบโรงพยาบาลเช่น HOS-XP,HOM C,SSB 3.ขับเคลื่อนโดย FCTและเชื่อมโยงสู่ DHS ทำให้สามารถมองเห็นปัญหาภาพรวมเพื่อนำมาวิเคราะห์ต่อยอดหาแนวทางพัฒนา บทบาทหน้าที่ ประเมินผล 1.อัตราการตอบกลับ 2.ระยะเวลาการเยี่ยม 3.ภาวะแทรกซ้อน<5% 4.รูปภาพการเยี่ยมบ้าน COC ติดตามก่อนD/Cเพื่อวางแผนร่วมกับ Ward บริการให้ยืมวัสดุอุปกรณ์ พัฒนาองค์ความรู้ - ผู้ปฏิบัติ - ประชาชน Two way Communication
นวัตกรรมที่เป็นแบบอย่าง (ต่อ) จ.พังงา ภูเก็ต รูปแบบการนำและบทบาทของคลัง สมองภาคประชาชนในการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ จ. สุราษฎร์ธานี รูปแบบการบริหารจัดการกลยุทธ์ “SALE 60+MODEL” : Screening ,Aging Health Club ,LTC, End of Life Care นวัตกรรม 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ (บริจาคเตียง เก่าปรับเตียงเป็นสีชมพู)
จำนวน Care Manager ที่ผ่านการอบรมทั้งหมด (คน) ออกแบบการรายงาน ตาราง แสดงจำนวน Care Manager ที่ผ่านการอบรมหลักสูตรผู้จัดการการดูแล ผู้สูงอายุ 70 ชั่วโมงกรมอนามัย จังหวัด จำนวน Care Manager ที่ผ่านการอบรมทั้งหมด (คน) อยู่ในพื้นที่ LTC อยู่นอกพื้นที่ตำบล LTC รพช. รพสต. อปท. สสจ. สสอ. รพท. 1. จังหวัด.................................... 2. จังหวัด.................................. 3. จังหวัด................................... 4. จังหวัด................................. 5. จังหวัด................................. 6. จังหวัด................................... 7. จังหวัด.................................
ข้อเสนอแนะในการตรวจราชการครั้งต่อไป เครื่องมือการเก็บข้อมูล ปรับแบบฟอร์มการตรวจราชการรอบ 2 (แบบรายงาน 4.4) เปลี่ยนหัวตำบลเป็นอำเภอ