การบูรณาการ การช่วยเหลือ 4 กลุ่มเป้าหมายหลัก ตามนโยบาย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
Advertisements

เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
การมีส่วนร่วมของชุมชนในการติดตาม ดูแลพฤติกรรมของเด็กและเยาวชนตามกระบวนการยุติธรรม เชิงสมานฉันท์ จังหวัดฉะเชิงเทรา ผู้วิจัย กนกวรรณ ตั้งจิตบำรุง หลักสูตร.
การขัดเกลาทางสังคมซ้ำเพื่อสร้างพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ของเยาวชนในศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน ผู้วิจัย นภัสวรรณ บุญประเสริฐ หลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรดุษฎี
ผู้วิจัย พันตำรวจโทสุวัฒน์ สุวรรณนิกขะ หลักสูตรปริญญาการจัดการมหาบัณฑิต ปี๒๕ 48.
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
กรณีศึกษาของเยาวชนที่กระทำความผิดคดีฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา : สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน จังหวัดสระบุรี ผู้วิจัย โยธิน จารุจุฑารัตน์ หลักสูตร ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต.
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
กลุ่ม 6 ผลการประชุมระดมความ คิดเห็น เพื่อกำหนดทิศทางก้าวใหม่ ในการให้บริการ : ฝึกอบรมนักวิทยาศาสตร์ ห้องปฏิบัติการ.
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
เสียงสะท้อนจากพื้นที่การ ดำเนินงานตามนโยบายกรม สุขภาพจิต : การพัฒนางาน ด้านวิกฤตสุขภาพจิต โดย ดร. นพ. พิทักษ์พล บุณยมาลิก ผู้อำนวยการสถาบันกัลยาณ์ราช นครินทร์
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
วันศุกร์ที่ 3 มิถุนายน 2559 เวลา น. ณ ห้องบัญชาการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยแห่งชาติ อาคาร 3 ชั้น 5 กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย การประชุมกองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสา.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
การขับเคลื่อนงานสุขภาพจิต วัยทำงาน ประจำปี 2559 โดย โรงพยาบาลจิตเวชนครสวรรค์ราช นครินทร์
การกำกับ ติดตาม ประเมินผล สำนักตรวจและประเมินผล Bureau of Inspection and Evaluation.
ชุมชนปลอดภัย.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การจัดตั้งและการดำเนินงาน ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน (ศพค.)
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
การบูรณาการการจัดการปัญหาทางด้านสังคมของศูนย์พึ่งได้
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
กระบวนงานการให้บริการ
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
การดำเนินงานเมื่อสิ้นสุดโครงการ
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
กลุ่มเกษตรกร.
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
คำรับรองการปฏิบัติราชการ
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
แนวทางการรณรงค์ พัฒนาการเด็ก 4-8 กรกฎาคม 2559
แนวทางการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปี 2562
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
คลินิกโรคติดเชื้อเด็ก โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
จังหวัดสมุทรปราการ.
สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จังหวัดเชียงใหม่
สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดฉะเชิงเทรา
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
การท่องเที่ยวโดยชุมชน (Community - Based Tourism)
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การบูรณาการ การช่วยเหลือ 4 กลุ่มเป้าหมายหลัก ตามนโยบาย oscc ศูนย์ช่วยเหลือสังคม กรณี ตั้งครรภ์ไม่พร้อม (คุณแม่วัยใส) สำนักบริหารการสาธารณสุข ณ KU HOME มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

คำนิยาม “ตั้งครรภ์ไม่พร้อม (คุณแม่วัยใส)” หมายถึง เด็กและเยาวชน มีอายุต่ำกว่า ๒๐ ปี ตั้งครรภ์ หรือสงสัยว่าตั้งครรภ์ โดยไม่ได้ตั้งใจ ไม่ได้มีการวางแผนจะให้เกิดขึ้น โดยมีสาเหตุมาจาก การไม่มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการตั้งครรภ์ และการคุมกำเนิด การถูกข่มขืนจนตั้งครรภ์ การตั้งครรภ์ก่อนการสมรส ตลอดจนความไม่พร้อมในด้านภาวะต่างๆ ด้านเศรษฐกิจ สังคม การไม่รับผิดชอบของบิดาของเด็กในครรภ์ โดยการผลักภาระการเลี้ยงดูให้ผู้หญิง เป็นต้น

เมื่อเกิดปัญหาตั้งครรภ์ไม่พร้อม จะทำอย่างไร ?

เด็กและสตรีที่ท้องไม่พร้อม กรอบแนวคิดการช่วยเหลือเด็ก เยาวชนและสตรี ที่ประสบปัญหาท้องไม่พร้อม เด็กและสตรีที่ท้องไม่พร้อม เยียวยาสภาพจิตใจ ปรึกษาทางเลือก ดูแลเป็นพิเศษ ยุติการท้อง ท้องต่อ บ้านพักรอคลอด/หลังคลอด ยกเป็นบุตรบุญธรรม ดูแลเอง การยุติที่ปลอดภัย การอุปการะเด็ก ครอบครัวทดแทน ความพร้อมของการเลี้ยงดู การปรึกษา หลังยุติการท้อง ทีมา : เครือข่ายสนับสนุนทางเลือกผู้หญิงที่ท้องไม่พร้อม

การบูรณาการ การช่วยเหลือ เด็กและสตรีที่ถูกกระทำรุนแรง ของศูนย์พึ่งได้ (oscc) กระทรวงสาธารณสุข กับปัญหาตั้งครรภ์ไม่พร้อม (คุณแม่วัยใส)

แนะนำด้านสวัสดิการสังคม OSCC ปรึกษาทางเลือก ผู้รับบริการ กุมารเวช ประกันสังคม ห้องคลอด (LR) ตัดสินทางเลือก ตั้งครรภ์ต่อ ฝากครรภ์ บ้านพักรอคลอด <12wks เครือข่ายบริการ โทรศัพท์ติดตามผล ANC สูตินรีเวช IPD OPD ยังไม่ตัดสินใจ >12wks ยุติการตั้งครรภ์ ซักประวัติ รับฟังปัญหาไม่ตัดสิน สะท้อนความรู้สึก เสริมศักยภาพ แนะนำด้านสวัสดิการสังคม สูตินรีเวช (ANC) จิตเวช เวชระเบียน ER ARV ประกันสังคม

oscc (One Stop Crisis Center) การบูรณาการ การช่วยเหลือ 4 กลุ่มเป้าหมายหลักตามนโยบาย oscc (One Stop Crisis Center) ศูนย์ช่วยเหลือสังคม กรณีตั้งครรภ์ไม่พร้อม (คุณแม่วัยใส)

กำหนดให้ หน่วยงานทุกกระทรวงตามภาคผนวก เป็นหน่วยงานรับเรื่อง (Front line 1) และ ให้ รพช./รพศ./รพท.และรพ. ในกทม.(อยู่ระหว่างหารือ) เป็นหน่วยงานให้บริการหลัก (Front line 2)

OSCC (One Stop Crisis Center) 1300 ศูนย์ช่วยเหลือสังคม ปัญหา ช่องทางการติดต่อ บูรณาการช่วยเหลือในภาวะวิกฤติ การช่วยเหลือภายหลังภาวะวิกฤติ ติดตาม ประเมินผล ถ้าท่านประสบปัญหา การคุ้มครองพิทักษ์สิทธิและการดำเนินการตามกฎหมาย แจ้งที่หน่วยรับเรื่อง หน่วยงาน พม. :คุ้มครองสวัสดิภาพ จัดหาที่พักชั่วคราว โรงพยาบาล : ดูแลสุขภาพ มากกว่า 20,000 หน่วย ทั่วประเทศ ตั้งครรภ์ไม่พร้อม (คุณแม่วัยใส) Hot Line:1300 เร่งรัด ติดตามผลและรายงานผล จัดเก็บข้อมูล ฟื้นฟูเยียวยา ด้านร่างกาย จิตใจ และสังคม สำนักงานสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน : นำเด็กออกจากสถานประกอบการเพื่อสืบค้นข้อเท็จจริงและดำเนินการตามกฎหมาย ค้ามนุษย์ สถานีตำรวจ : รับแจ้งความ สืบสวนหาข้อเท็จจริง Website www.osccthailand.go.th (อยู่ระหว่างพัฒนาระบบ) แรงงานเด็ก หน่วยงานอื่นๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน การช่วยเหลืออื่นๆ ตามสภาพปัญหา Mobile Application ความรุนแรง ต่อเด็กและสตรี ฯ www.osccthailand.go.th (อยู่ระหว่างพัฒนาระบบ) แจ้งเตือน แจ้งเตือน แจ้งเตือน แจ้งเตือน (อยู่ระหว่างพัฒนาระบบ) (อยู่ระหว่างพัฒนาระบบ) (อยู่ระหว่างพัฒนาระบบ) (อยู่ระหว่างพัฒนาระบบ) เชื่อมโยงระบบการให้บริการ แจ้งเตือนถึงหน่วยงานผู้รับผิดชอบ เมื่อผู้ประสบปัญหายังไม่ได้รับบริการหรือบริการล่าช้า และปกป้องข้อมูลบุคคล โดยระบบสารสนเทศ ICT หน่วยรับเรื่องมากกว่ามากกว่า 21,614 หน่วย ทั่วประเทศ ได้แก่ พม. 324 หน่วย, สธ. 10,579 หน่วย, รง. 76 หน่วย, ยธ. 77 หน่วย, มท. 8,729 หน่วย, ศธ. 236 หน่วย, สตช. 1,465 หน่วย, กทม. 127 หน่วย และเมืองพัทยา 1 หน่วย

บ้านพักเด็กและครอบครัว ให้การดูแลเพื่อใช้ชีวิตได้อย่างปกติสุข ขั้นตอนการช่วยเหลือกรณีการตั้งครรภ์ไม่พร้อม (คุณแม่วัยใส) กรณีต้องการที่พักชั่วคราว (คลอดบุตรแล้วประสบปัญหา, ตั้งครรภ์หรือสงสัยว่าตั้งครรภ์) บ้านพักเด็กและครอบครัว องค์กรเอกชน ฯลฯ ให้การดูแลเพื่อใช้ชีวิตได้อย่างปกติสุข 3 3 ตั้งครรภ์ – 1 ปี หลังคลอด 2 1 2 3 ตั้งครรภ์ ประชุมทีมสหวิชาชีพ (ภายใน 5 วัน) วางแผนทางเลือก 1.แจ้งด้วยตนเอง 2. โทร 1300 ภายใน 24 ชม. พิจารณาเลือกข้อเสนอ 3. แจ้งผ่านทางเว็บไซต์ (1 วัน) หน่วยให้บริการ ติดตาม/ ประเมินผล หมายเหตุ : ในกรณีที่เป็นความสมัครใจของเด็ก พ่อแม่/ผู้ปกครอง ต้อง “เคารพการตัดสินใจของเด็ก” ยุติการตั้งครรภ์ 4 พม. สามารถปิด Case ได้ในกรณีที่ผู้ประสบปัญหาสามารถกลับมาใช้ชีวิตได้อย่างปกติสุข/ คืนสู่ครอบครัว สังคม ยุติ/ ปรับแผน การช่วยเหลือ 5 ยุติการตั้งครรภ์ (กรณีเข้าเกณฑ์) 3 พม. 10

ระบบแจ้งเตือน (Alarm) แบ่งเป็น ๒ กรณี คือ ๑) กรณีปัญหานั้นถูกส่งมายัง หน่วยงานเป็นเจ้าภาพหลัก บุคคลที่ได้รับการเตือน ๒) เมื่อยุติ Cases ๓) เมื่อ Cases ได้รับบริการที่ล่าช้ากว่ากำหนด ๑. ผู้รับผิดชอบ และผู้บังคับบัญชาหน่วยงาน ๒. ผู้บังคับบัญชาในระดับจังหวัด ๓. ผู้บริหารระดับกระทรวง ๕ วัน ๖ วัน ๘ วัน 22

Case ตัวอย่าง

จบการนำเสนอ

การปิด CASES หรือยุติการให้บริการ แบ่งเป็น ๒ กรณี คือ ๑) เมื่อเด็ก เยาวชนและสตรีที่ประสบปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อม ได้รับการยุติการตั้งครรภ์ ให้คำแนะนำด้านการวางแผนครอบครัว และการ วางแผนการดำเนินชีวิตต่อไปในสังคม ๒) เมื่อ เด็ก เยาวชนและสตรีที่ประสบปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อม ตัดสินใจตั้งครรภ์ต่อ และได้รับบริการการฝากครรภ์ในโรงพยาบาล เรียบร้อยแล้วรวมทั้งมีการวางแผนการดำเนินชีวิตต่อไปในสังคม

ยุทธศาสตร์บูรณาการ การจัดการปัญหาท้องไม่พร้อมและความรุนแรง ยุทธศาสตร์บูรณาการ การจัดการปัญหาท้องไม่พร้อมและความรุนแรง ยุทธศาสตร์ที่ 1 การป้องกันและการเฝ้าระวังปัญหา - สร้างระบบการค้นหากลุ่มเสี่ยงในชุมชน - รณรงค์ สร้างความตระหนัก ค่านิยม และวัฒนธรรม ของคนในสังคมต่อปัญหา - มีระบบการเฝ้าระวังและป้องกันปัญหา

ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาระบบบริการช่วยเหลือ เด็กและสตรีที่ถูกกระทำรุนแรง - พัฒนาเครือข่ายระบบบริการให้ครอบคลุมทั้งจังหวัด ยุทธศาสตร์ที่ 3 การฟื้นฟูและเยียวยาเด็กและสตรีที่ถูก กระทำรุนแรงรวมถึงผู้ที่ได้รับผลกระทบและครอบครัว - การประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการให้การ ช่วยเหลือ ฟื้นฟูเยียวยา ในระยะยาว

สาเหตุไม่พร้อมในเด็กและสตรี เมื่อต้องท้อง 1. ถูกข่มขืน 2. ถูกล่อลวงมีเพศสัมพันธ์ (โดยไม่ได้ตั้งใจ) 3. ครอบครัวมีประวัติความรุนแรง 4. คุมกำเนิดล้มเหลว 5. สาเหตุทางเศรษฐกิจ

สาเหตุไม่พร้อมในเด็กและสตรี เมื่อต้องท้อง(ต่อ) 6. ถูกทอดทิ้ง ผู้ชายไม่รับผิดชอบ 7. ท้องนอกสมรส 8. เปิดเผยการท้องต่อสังคมไม่ได้ 9. ต้องออกจากการเรียน 10.ต้องออกจากการทำงาน

โดย สานักอนามัยการเจริญพันธุ์ สถานการณ์ อนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่นและเยาวชน โดย สานักอนามัยการเจริญพันธุ์

 กรมอนามัยเผยสถิติแม่วัยใสอายุต่ำกว่า 20 ปี คลอดลูกเฉลี่ยวันละ 370 คน  ปัจจุบันวัยรุ่นมีเพศสัมพันธ์เร็วขึ้น อายุเมื่อมีเพศสัมพันธ์ครั้งแรกพบว่ามีอายุเฉลี่ย 15-16 ปี จากปัญหาดังกล่าว ทำให้วัยรุ่น มีการทำแท้งที่ไม่ปลอดภัยเสี่ยงต่อการเสียชีวิต หรืออาจเกิดการทอดทิ้งเด็ก ครอบครัวแตกแยก ขาดความรัก ความอบอุ่น เป็นผลกระทบที่ยาวนานต่อสภาวะทางอารมณ์ของเด็ก สุดท้ายกลายเป็นเยาวชนที่ก่อปัญหาให้กับสังคม (ข้อมูลจาการให้สัมภาษณ์ของ นพ.ชลน่าน ศรีแก้ว รมช.สาธารณสุข กล่าวภายหลังเป็นประธานเปิดการประชุมโครงการพัฒนายุทธศาสตร์ เพื่อแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น เมื่อวันที่ 16 มค.56 )

ความพร้อมของระบบในการแก้ไขปัญหา

ทำไมจึงบูรณาการท้องไม่พร้อม กับงานศูนย์พึ่งได้ ท้องไม่พร้อม ส่วนหนึ่งมีสาเหตุมาจากความรุนแรงทางเพศ ส่งผลกระทบต่อสุขภาพกาย สุขภาพจิตและสังคมของเด็กและผู้หญิงเป็นอันมาก เป็นประเด็นที่เกี่ยวข้องกับกฎหมาย เช่น พรบ.คุ้มครองเด็ก พ.ศ.2546 พรบ.คุ้มครองผู้ถูกกระทำด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ.2550 ฯลฯ เป็นปัญหาที่เกี่ยวข้องกับหลายหน่วยงาน การให้ความช่วยเหลือต้องทำงานแบบสหวิชาชีพ ต้องสร้างเครือข่ายการให้ความช่วยเหลือ

การตั้งท้องเป็นอันตรายต่อชีวิตและสุขภาพของผู้หญิง เกณฑ์การยุติการตั้งครรภ์ในประเทศไทย กระทำได้ในกรณีต่อไปนี้ การตั้งท้องเป็นอันตรายต่อชีวิตและสุขภาพของผู้หญิง ผู้หญิงมีอาการทางจิต ก่อนหรือขณะตั้งท้อง การตั้งท้องเกิดจากการข่มขืน การตั้งท้องโดยที่เด็กผู้หญิงอายุต่ำกว่า 15 ปี ข้อ 1-3 ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 305 (1) (2) และข้อบังคับแพทย์สภา 2548 ข้อ 4 ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 276-284