รัฐธรรมนูญใหม่ (พ.ศ. 2550) กับการปกครองท้องถิ่นไทย โดย รัฐธรรมนูญใหม่ (พ.ศ. 2550) กับการปกครองท้องถิ่นไทย โดย นายประยูร พรหมพันธุ์ ประธานกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น
สารบัญ วัตถุประสงค์ของการกระจายอำนาจให้ท้องถิ่น รัธฐรรมนูญ พ.ศ. 2550 ยึดหลักการประชาธิปไตย ประเด็นที่เป็นสาระสำคัญที่เกี่ยวกับการปกครองส่วนท้องถิ่น
รัฐธรรมนูญใหม่ (พ.ศ. 2550) กับการปกครองท้องถิ่นไทยรัฐธรรมนูญใหม่ รัฐธรรมนูญใหม่ (พ.ศ. 2550) กับการปกครองท้องถิ่นไทยรัฐธรรมนูญใหม่ รัฐธรรมนูญ มาตรา 1 หมวดที่ 1 “ ประเทศไทยเป็นราชอาณาจักรอันหนึ่งอันเดียว จะแบ่งแยกมิได้” รัฐธรรมนูญ มาตรา 2 “ ประเทศไทยมีการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข” ประเทศไทยเป็น “รัฐเดี่ยว” (UNITARY STATE)
รัฐธรรมนูญใหม่ (พ.ศ. 2550) กับการปกครองท้องถิ่นไทยรัฐธรรมนูญใหม่ (ต่อ) รัฐธรรมนูญใหม่ (พ.ศ. 2550) กับการปกครองท้องถิ่นไทยรัฐธรรมนูญใหม่ (ต่อ) การจัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน แบ่งได้ 3 ระดับ (พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 มาตรา 4) - ระเบียบบริหารราชการส่วนกลาง - ระเบียบบริหารราชการส่วนภูมิภาค - ระเบียบบริหารราชการส่วนท้องถิ่น
Centralization Deconcentration Decentralize อำนาจอธิปไตย SOVEREIGNTY อำนาจนิติบัญญัติ Legislative อำนาจบริหาร Executive อำนาจตุลาการ Jurisdiction - ใช้อำนาจทางศาลยุติธรรม ใช้อำนาจทางสภาผู้แทน และวุฒิสภา การจัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ร.บ. บริหารราชการแผ่นดิน 1.ระเบียบบริหารราชการส่วนกลาง Centralization 2.ระเบียบบริหารราชการส่วนภูมิภาค Deconcentration 3.ระเบียบบริหารราชการส่วนท้องถิ่น Decentralize ได้แก่กระทรวง ทบวง กรมต่างๆ ในส่วนกลาง (เมืองหลวง) นายกรัฐมนตรี และ ครม.เป็นผู้ใช้ อำนาจในนามรัฐบาลแห่งชาติ แบ่งมอบอำนาจให้กับภูมิภาค ได้แก่ จังหวัด และอำเภอ โดยมี ผวจ. และ นอภ. เป็น หน.ข้าราชการ ในระดับที่เกี่ยวข้อง กระจายอำนาจให้ อปท. ต่างๆ ผู้บริหารมาจากการเลือกตั้ง กทม. พัทยา อบจ. เทศบาลต่างๆ (ตำบล เมือง นคร) อบต. (เล็ก กลาง ใหญ่)
วัตถุประสงค์ของการกระจายอำนาจให้ท้องถิ่น แบ่งเบาภาระของราชการส่วนกลาง หลักการแบ่งงานกันทำ (Division of Work) ประชาชนในท้องถิ่นได้เรียนรู้การปกครองตนเอง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นสถาบันแห่งการเรียนรู้ของประชาชนในท้องถิ่น ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในทางปฏิบัติ
รัธฐรรมนูญ พ.ศ. 2550 ยึดหลักการประชาธิปไตย หลักการมีส่วนร่วมของท้องถิ่นและประชาชน หลักการเกี่ยวกับการกระจายอำนาจให้ อปท. การส่งเสริมและสนับสนุนให้ อปท. มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา การมีส่วนร่วมในการดูแลทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การสนับสนุนให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม การมีส่วนร่วมในการออกเสียงลงประชามติ
รัธฐรรมนูญ พ.ศ. 2550 ยึดหลักการประชาธิปไตย (ต่อ) หลักการตรวจสอบการบริหารจัดการของ อปท. โดยประชาชนในท้องถิ่น กำหนดให้มีกลไกการตรวจสอบการดำเนินงานของ อปท. โดยภาคประชาชน กำหนดให้มีระบบตรวจสอบและประเมินผลการดำเนินงานของ อปท. ในลักษณะไตรภาคี ประชาชนมิสิทธิเข้าชื่อถอดถอนผู้บริหาร คณะผู้บริหาร และสมาชิกสภาท้องถิ่น
สาระสำคัญที่เกี่ยวกับการปกครองส่วนท้องถิ่น พันธกิจหลักของ อปท. ที่มีต่อประชาชน คุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหารและข้าราชการท้องถิ่น การปฏิรูประบบบริหารงานบุคคลของ อปท. การปรับปรุงระบบการกำกับดูแล อปท. การกำหนดกระบวนการบริหารงานของ อปท. ให้ชัดเจนรัดกุมยิ่งขึ้น การปรับปรุงกฎหมายเกี่ยวกับข้าราชการส่วนท้องถิ่น (พ.ร.บ. ระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542)
เอกสารอ้างอิง รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 (รวมทั้งฉบับแก้ไขเพิ่มเติมทุกฉบับ) พ.ร.บ. องค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2542 และและฉบับแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2546 พ.ร.บ. เทศบาล พ.ศ. 2546 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 12) พ.ศ. 2546
เอกสารอ้างอิง (ต่อ) พ.ร.บ. สภาตำบลและองค์กรบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2546 พ.ร.บ. ระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2542
สวัสดี สวัสดี