รายวิชา งานไฟฟ้าเบื้องต้นสำหรับครูอุตสาหกรรมศิลป์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การผลิตบ่อพัก ทำเอง ใช้เอง หจก. มภัสกาญ คอนสตรัคชั่น
Advertisements

แนวทางการจัดทำบัญชีสมดุลยางพารา
การตรวจซ่อม ระบบไฟฟ้า
ชื่อผู้สอน : นางฐิติมา พิริยะ
สายเคเบิ้ล จัดทำโดย 1.นาย ภาคภูมิ เกาะสระน้อย
จัดทำโดย น. ส. ดวงกมล งามอยู่เจริญ เลขที่ 8 น. ส. ณัชชา เชื้อตา เลขที่ 6 เตรียมบริหารธุรกิจปี 1.
แหล่งน้ำธรรมชาติของโลก แหล่งน้ำในบรรยากาศ (Atmospheric Water) ได้แก่ สถานะไอน้ำ เช่น เมฆ หมอก สถานะของเหลว ได้แก่ ฝน และน้ำค้าง และสถานะของแข็ง ได้แก่
วิชา เขียนแบบไฟฟ้า รหัส ท-ป-น (0-4-2)
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
ระเบียบคณะกรรมการพลังงานปรมาณูเพื่อสันติว่าด้วยวิธีการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของวัสดุนิวเคลียร์และสถานประกอบการทางนิวเคลียร์พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
หลักเกณฑ์วิธีที่ดีในการผลิตอาหาร
ชุมชนปลอดภัย.
ไฟฟ้า.
กระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสง
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer network)
การคำนวณโหลด Load Calculation
อุปกรณ์การติดตั้งงานระบบไฟฟ้า (Installation Equipment)
การใช้หม้อแปลงไฟฟ้า อย่างมีประสิทธิภาพ.
สมัยกลาง (EARLY MEDIVAL)
A L U M I N I U M นายจักรกฤษณ์ หมวกผัน นายเอกราช รอดสว่าง
Piyadanai Pachanapan, Power System Design, EE&CPE, NU
ระดับความเสี่ยง (QQR)
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 4 : สื่อกลางส่งข้อมูลและการมัลติเพล็กซ์ (Transmission Media and Multiplexing) Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
ไฟฟ้า.
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
ประเภทแผ่นโปร่งใส (แผ่นใส) รายวิชา ออปแอมป์และลิเนียร์ไอซี
ประเภทแผ่นโปร่งใส (แผ่นใส) รายวิชา ออปแอมป์และลิเนียร์ไอซี
ประกาศกระทรวงพลังงาน เรื่อง ระบบดับเพลิง และการตั้งกระป๋องน้ำมัน ถังน้ำมัน และถังเก็บน้ำมันขนาดเล็ก ไว้ในอาคารเก็บน้ำมันโดยเฉพาะที่มีระบบดับเพลิง พ.ศ.
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
รายวิชา งานไฟฟ้าเบื้องต้นสำหรับครูอุตสาหกรรมศิลป์
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 28 สิงหาคม 2561
เรื่อง ศึกษาตัวกลางที่เหมาะสมกับการชุบแข็งของเหล็กกล้าคาร์บอน
รายวิชา งานไฟฟ้าเบื้องต้นสำหรับครูอุตสาหกรรมศิลป์
ชนิด สมบัติ และการใช้ประโยชน์ของวัสดุ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ยินดีต้อนรับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน (พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์) และคณะ ในโอกาสตรวจเยี่ยมจังหวัดตาก วันที่ กรกฎาคม 2558.
Instruction design แผนจัดการเรียนรู้ Active Learning
บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ประยุกต์
ความรู้เบื้องต้นระบบระบายอากาศ
แผ่นดินไหว.
บทที่ 7 การจัดเก็บวัสดุและหีบห่อ
โดย นายอนุชา ศรีเริงหล้า นักอุตุนิยมวิทยาปฏิบัติการ
ตัวชี้วัดที่ 5 : ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดน้ำ
มาทำความรู้จักกับ เห็ดหนังช้าง.
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561
การปรับปรุงพื้นที่ทุรกันดาร 2559 นายแพทย์สงกรานต์ ไหมชุม
วัสดุและเทคนิค ทางการออกแบบ อ.สุวิธธ์ สาดสังข์ ( Material and
บรรยายครั้งที่ 8 - กราฟฟิกวิศวกรรม 1
บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part1.
รายวิชา งานไฟฟ้าเบื้องต้นสำหรับครูอุตสาหกรรมศิลป์
ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยว
งานนำเสนอสำหรับโครงการ นิทรรศการวิทยาศาสตร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การกำหนดประเด็นปัญหา
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
แนวทางการออกแบบนิตยสาร
กรณีศึกษา : เทคโนโลยีชีวภาพกับสิ่งแวดล้อม
อ. อรนพัฒน์ เหมือนเผ่าพงษ์ สาขาวิชาการจัดการโรงแรมและธุรกิจที่พัก
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
สื่อเทคโนโลยีประกอบการสอน เรื่อง กำลังไฟฟ้าและพลังงานไฟฟ้า
บทที่ 5 พัลส์เทคนิค
บทที่ 7 การจัดเก็บวัสดุและหีบห่อ
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
ทายสิอะไรเอ่ย ? กลม เขียวเปรี้ยว เฉลย ทายสิอะไรเอ่ย ? ขาว มันจืด เฉลย.
นวัตกรรม หน่วยไตเทียม.
การใช้ระบบสารสนเทศในการวิเคราะห์ข่าว
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รายวิชา งานไฟฟ้าเบื้องต้นสำหรับครูอุตสาหกรรมศิลป์ รายวิชา งานไฟฟ้าเบื้องต้นสำหรับครูอุตสาหกรรมศิลป์ อ.โสภณ มหาเจริญ บทที่ 4 เรื่องชนิดและการใช้งานของสายไฟฟ้า

วัตถุประสงค์ 4.1 เพื่อให้ผู้เรียนบอกชนิดของสายไฟฟ้าได้  4.2 เพื่อให้ผู้เรียนทราบถึง ข้อกำหนดทั่วไปเกี่ยวกับสายไฟฟ้า  4.3 เพื่อให้ผู้เรียนวิเคราะห์และเลือกใช้งานของสายไฟฟ้าอย่างถูกต้อง วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม          1. บอกถึง ชนิดของสายไฟฟ้า          2. บอก ข้อกำหนดทั่วไปเกี่ยวกับสายไฟฟ้า          3 . อธิบายการใช้งานของสายไฟฟ้า

2.1 ชนิดและการใช้งานของสายไฟฟ้า 2.1 ชนิดและการใช้งานของสายไฟฟ้า          สายไฟฟ้าเป็นสื่อกลางในการนำเอากำลังไฟฟ้าจากแหล่งต้นกำลังไปยังสถานที่ต่างๆ ที่ต้องการใช้ไฟฟ้า ไปติดตั้ง ใช้งาน จะพิจารณาจากข้อมูลเบื้องต้น ดังนี้ 1. ความสามารถในการนำกระแสไฟฟ้าได้สูงสุด  โดยไม่ทำให้ฉนวนของสาย (insulated) ได้รับความเสียหายซึ่งสามารถดูเปรียบเทียบได้จากตารางสำเร็จรูปโดยที่ข้อกำหนดการใช้งานของสายไฟฟ้า ขนาดต่างๆดังกล่าวเป็นไปตามมาตรฐานการติดตั้งไฟฟ้า

1. ความสามารถในการนำกระแสไฟฟ้าได้สูงสุด  โดยไม่ทำให้ฉนวนของสาย (insulated) ได้รับความเสียหายซึ่งสามารถดูเปรียบเทียบได้จากตารางสำเร็จรูปโดยที่ข้อกำหนดการใช้งานของสายไฟฟ้าขนาดต่างๆดังกล่าวเป็นไปตามมาตรฐานการติดตั้งไฟฟ้า

               2. แรงดันไฟฟ้าที่สายไฟฟ้าทนได้  ส่วนใหญ่ผู้ผลิตจะพิมพ์ติดไว้ที่ผิวฉนวนด้านนอกของสายไฟฟ้า เช่น 300V.  หรือ  750V. เป็นต้น                3. อุณหภูมิแวดล้อมขณะใช้งาน เช่น 60 องศาเซลเซียส  หรือ 70 องศาเซลเซียส เป็นต้น

   4. ชนิดของฉนวน  เช่น ฉนวนพีวีซี (PVC) หรือที่เรียกว่าโพลิไวนิลคลอไรด์ (Polyvinylchloride) เหมาะสำหรับการเดินสายไฟฟ้าในอาคารทั่วไป ทั้งนี้เนื่องจากพลาสติกพีวีซีมีความอ่อนตัวสามารถดัดโค้งงอได้ทนต่อความร้อนเหนียวและไม่เปื่อยง่าย  ฉนวนพลาสติกอีกชนิดหนึ่ง คือ ครอสลิ่งก์โพลีเอธทีลีน  (cross  linked  Polyethylene : XLPE) ซึ่งเป็นสายอะลูมิเนียมหุ้มฉนวนหนาพิเศษ  จึงสามารถรับแรงกระแทกได้มากขึ้น

    5. ลักษณะการนำไปใช้งาน  โดยพิจารณาจากลักษณะการติดตั้ง  สถานที่ใช้งานสภาพความแข็งแรงของสายไฟฟ้าทั้งนี้จะต้องพิจารณาให้เหมาะสมกับสายไฟฟ้าแต่ละชนิดด้วย

ข้อกำหนดทั่วไปเกี่ยวกับสายไฟฟ้า ที่ควรทราบมีดังนี้ ข้อกำหนดทั่วไปเกี่ยวกับสายไฟฟ้า  ที่ควรทราบมีดังนี้           2.2.1  สีของฉนวนหุ้มสายไฟฟ้า   โค๊ดสีมาตรฐานมีดังนี้         สายหุ้มฉนวนแกนเดียว           ใช้ได้ทุกสี         สายหุ้มฉนวน 2 แกน            ใช้สีเทาอ่อน ดำ         สายหุ้มฉนวน 3 แกน           ใช้สีเทาอ่อน ดำ แดง         สายหุ้มฉนวน 4 แกน            ใช้สีเทาอ่อน ดำ แดง น้ำเงิน         สายหุ้มฉนวน 5 แกน           ใช้สีเทาอ่อน ดำ แดง น้ำเงิน เหลือง         สำหรับสายดิน (earth)           ใช้สายสีเขียวหรือเขียวสลับเหลือง

ชนิดของสายหุ้มฉนวน  สายที่นิยมใช้ในงานติดตั้งไฟฟ้าทั่วไป  ที่ควรทราบได้แก่ สายVAF,VFF,VSF,THW,VCT และสาย NYY       ก. สาย VAF เนื่องจากมีรูปทรงแบนจึงเรียกว่า สายแบนแกนคู่  ภายในประกอบด้วยสายทองแดงจำนวนสองเส้นหุ้ม ด้วยฉนวนพีวีซีสองชั้นหรือ (PVC/PVC) ดังรูปด้านล่างนี้ เหมาะสำหรับงานเดิน สายไฟฟ้าด้วยเข็มขัดรัดสายเนื่องจากสามารถดัดโค้งงอได้ดี  พิกัดแรงดัน  300 โวลต์  อุณหภูมิใช้งานไม่เกิน 70 องศาเซลเซียส มีหลายขนาดเช่น 2 × 5 (มม)2 หมายถึง  ภายในสาย VAF  ประกอบด้วยสายจำนวน2 เส้น  แต่ละเส้นมีพื้นที่หน้าตัดเท่ากับ 1.5  ตารางมิลลิเมตร  เป็นต้น

          ข. สาย VFF ภายในประกอบด้วยสายทองแดงฝอยจำนวนสองแกนหุ้มด้วยฉนวน  พีวีซีชั้นเดียว (pvc insulated)  ดังรูป เหมาะสำหรับงานที่ต้องเคลื่อนย้ายบ่อย ๆ พิกัดแรงดดันและอุณหภูมิใช้งานเหมือนกับสาย VAF

         ค. สาย VSF ภายในประกอบด้วยสายทองแดงฝอยหุ้มด้วยฉนวนพีวีซีชั้นเดียว จำนวนงานเหมือนกับ สาย VAF

         ง. สาย THW ภายในประกอบด้วยสายทองแดงตันเส้นเดียว หุ้มด้วยฉนวนพีวีซีชั้นเดียว ใช้สำหรับติดตั้งในท่อร้อยสายพิกัดแรงดัน 750 โวลต์  อุณหภูมิใช้งาน  ไม่เกิน 70 องศาเซลเซียส

         ง. สาย THW ภายในประกอบด้วยสายทองแดงตันเส้นเดียว หุ้มด้วยฉนวนพีวีซีชั้นเดียว ใช้สำหรับติดตั้งในท่อร้อยสายพิกัดแรงดัน 750 โวลต์  อุณหภูมิใช้งาน  ไม่เกิน 70 องศาเซลเซียส

         จ. สาย VCT ภายในประกอบด้วยสายทองแดงฝอยจำนวน 2 แกนหรือมากกว่า  หุ้มฉนวนสองชั้น ใช้ต่อเข้ากับปลั๊กตัวผู้ของอุปกรณ์ไฟฟ้าต่าง ๆ และอื่น ๆ พิกัดแรง ดันและอุณหภูมิใช้งานเหมือนกับสาย THW

ฉ. สาย NYY ภายในประกอบด้วยสายทองแดงจำนวนสองแกนหรือมากกว่า  หุ้มด้วยฉนวนสามชั้นเหมาะสำหรับการเดินสายใต้ดินโดยตรงหรือใช้งานทั่วไป  บางชนิดจะมีแผ่นเหล็กเป็นเกราะกำบัง  พิกัดแรงดันและอุณภูมิใช้งานเหมือนกับสาย VCT

การใช้งานของสายไฟฟ้า       สายไฟฟ้าที่ผลิตตามมาตรฐานของสำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม มอก.11-2531 ได้กำหนดชนิดของสายไฟฟ้าและลักษณะการติดตั้งไว้ดังตราราง ขนาดกระแสและรูปแบบการติดตั้ง 

สายไฟฟ้าตาม มอก. 11-2531 ตารางที่ แรงดั นใช้ งาน (V) สถานที่ใช้งาน ลักษณะการติดตั้ง 1 (IV) 300 ใช้ในสถานที่ แห้ง และสถานที่ เปียก - เดินลอยต้องยึดด้วยวัสดุ ฉนวน - เดินในท่อหรือช่องเดิน สายในสถานที่แห้ง - ห้ามร้อยท่อฝังดิน หรือฝัง ดินโดยตรง

ใช้ใน สถานที่ แห้ง และ สถานที่ เปียก สายไฟฟ้าตาม มอก. 11-2531 แรงดั นใช้ งาน (V) สถานที่ใช้ งาน ลักษณะการติดตั้ง ตารางที่ 2 (VAF) 300 ใช้ใน สถานที่ แห้ง และ สถานที่ เปียก สายกลม - เดินลอย - เดินเกาะ ผนัง - เดินซ่อน(conceal)ในผนัง - เดินในท่อหรือช่องเดินสาย - เดินร้อยท่อ (conduit) ฝังดินได้ แต่ต้องป้องกันไม่ให้น้ำเข้า ภายในท่อและป้องกันไม่ให้สายมี โอกาสแช่น้ำ - ห้ามฝังดินโดยตรง สายแบน - เดินเกาะผนัง - เดิน ซ่อนในผนัง - ห้ามผังดินโดยตรง - เดินฝังใน ผนังปูนฉาบ

ใช้ใน สถานที่ แห้ง และ สถานที่ เปียก สายไฟฟ้าตาม มอก. 11-2531 แรงดั นใช้ งาน (V) สถานที่ใช้ งาน ลักษณะการติดตั้ง 3 (VVR) 300 ใช้ใน สถานที่ แห้ง และ สถานที่ เปียก - ใช้งานได้ทั่วไป - ห้ามฝังดินโดยตรง 4 (THW) 750 - เดินลอยต้องยึดด้วยวัสดุ ฉนวน - เดินในท่อหรือช่องเดิน สายในสถานที่แห้ง - ห้ามฝังดินโดยตรง - ร้อยท่อฝังดินได้ แต่ต้อง ป้องกันไม่ให้น้ำเข้าไปในท่อ    และป้องกันไม่ให้สายมี โอกาสแช่น้ำ

ใช้ใน สถานที่ แห้ง และ สถานที่ เปียก สายไฟฟ้าตาม มอก. 11-2531 แรงดั นใช้ งาน (V) สถานที่ใช้ งาน ลักษณะการติดตั้ง 5 (VVF) 750 ใช้ใน สถานที่ แห้ง และ สถานที่ เปียก สายกลม - เดินลอย - เดิน เกาะผนัง - เดินฝังในผนังปูนฉาบ - เดิน ซ่อนในผนัง - เดินในท่อหรือช่องเดินสาย - เดินร้อยท่อ ฝังดินได้ แต่ ต้องป้องกันไม่ให้น้ำเข้า ภายในท่อและป้องกันไม่ให้ สายมีโอกาสแช่น้ำ สายแบน – เดินเกาะผนัง - เดินซ่อนในผนัง - ห้ามฝังดินโดยตรง - เดิน ฝันในผนังปูนฉาบ

ใช้ใน สถานที่ แห้ง และ สถานที่ เปียก - ใช้งานได้ทั่วไป - ฝังดินโดยตรง สายไฟฟ้าตาม มอก. 11-2531 แรงดั นใช้ งาน (V) สถานที่ใช้ งาน ลักษณะการติดตั้ง 6 (NYY) 750 ใช้ใน สถานที่ แห้ง และ สถานที่ เปียก - ใช้งานได้ทั่วไป - ฝังดินโดยตรง 7 ใช้ใน สถานที่ แห้ง และ สถานที่ เปียก 8 (NYY-N)

ใช้ใน สถานที่ แห้ง และ สถานที่ เปียก สายไฟฟ้าตาม มอก. 11-2531 แรงดั นใช้ งาน (V) สถานที่ใช้ งาน ลักษณะการติดตั้ง 9 (VAF-G) 750 ใช้ใน สถานที่ แห้ง และ สถานที่ เปียก - ใช้ต่อเข้าเครื่องอุปกรณ์ ไฟฟ้าและเครื่องใช้ไฟฟ้า 10 (VFF) 300 - ใช้ต่อเข้าเครื่องอุปกรณ์ ไฟฟ้า ชนิดหยิบยกได้และใช้ต่อเข้า ดวงโคม 11 - เดินเกาะผนัง - เดิน ซ่อนในผนัง - เดินฝังในผนังปูนฉาบ - ห้ามร้อยท่อฝังดินหรือฝัง ดินโดยตรง

ใช้ใน สถานที่ แห้ง และ สถานที่ เปียก สายไฟฟ้าตาม มอก. 11-2531 แรงดั นใช้ งาน (V) สถานที่ใช้ งาน ลักษณะการติดตั้ง 12 (VVR-G) 300 ใช้ใน สถานที่ แห้ง และ สถานที่ เปียก - ใช้งานได้ทั่วไป - ห้ามฝังดินโดยตรง 13 (VVF-G) 750 - เดินเกาะผนัง - เดินซ่อนในผนัง - เดินฝังในผนังปูนฉาบ - ห้ามฝังดินโดยตรง

14 (NYY-G) 15 (VCT-G) 16 (VFF-G) สายไฟฟ้าตาม มอก. 11-2531 แรงดั นใช้ งาน (V) สถานที่ใช้ งาน ลักษณะการติดตั้ง 14 (NYY-G) 750 ใช้ใน สถานที่ แห้ง และ สถานที่ เปียก - ใช้งานได้ทั่วไป - ฝังดินโดยตรง 15 (VCT-G) - ใช้ต่อเข้าเครื่องอุปกรณ์ ไฟฟ้าและเครื่องใช้ไฟฟ้า 16 (VFF-G) 300 ใช้ใน สถานที่ แห้ง และ สถานที่ เปียก - ใช้ต่อเข้าเครื่องใช้ไฟฟ้า ชนิดหยิบยกได้และต่อเข้า ดวงโคม

ชนิดของตัวนำและรูปแบบการติดตั้ง วิธีการเดินสายไฟ วิธีการ เดินสาย ชนิดของตัวนำและรูปแบบการติดตั้ง ก สายแกนเดียวหุ้มฉนวนเดินในอากาศ ข สายแบบหุ้มฉนวนมีเปลือกเดินเกาะผนัง ค สายแกนเดียวหุ้มฉนวนไม่เกิน 3 เส้น หรือสายหุ้ม ฉนวนมีเปลือกไม่กิน 3 แกน เดินในท่อในอากาศ  ในท่อฝังในผนังปูน ฉาบ  หรือในท่อฝ้าเพดาน ง สายแกนเดียวหุ้มฉนวนไม่เกิน 3 เส้น  หรือสายหุ้ม ฉนวนมีเปลือกไม่เกิน 3 แกน เดินในท่อฝังดิน จ สายแกนเดียวหุ้มฉนวนมีเปลือกไม่เกิน 3 เส้น หรือ สายหุ้มฉนวนมีเปลือกไม่เกิน 3 แกน ฝังดินโดยตรง

ขนาดกระแสไฟฟ้า ขนาดกระแสไฟฟ้าทองแดงหุ้มฉนวน  พีวีซี  ตาม มอก. 11-2534  อุณหภูมิตัวนำ 70 องศาเซลเซียส ขนาดแรงดัน 300 หรือ 750  โวลต์  อุณหภูมิโดยรอบ 40 องศาเซลเซียส (สำหรับวิธีการเดินสาย ก-ค)  และ 30 องศาเซลเซียส (สำหรับวิธีการ เดินสาย ง และ จ)

ขนาดกระแสไฟฟ้า (ภายในอาคาร) ขนาดสาย(ตร.มม.) ขนาดกระแส (แอมแปร์) วิธีการเดินสาย ก ข ค ง จ ท่อโลหะ ท่อ อโลหะ ท่ออโลหะ 0.5 9 8 7 10 - 1 14 11 15 13 21 1.5 17 18 16 26 2.5 23 20 24 34 4 31 27 32 28 45 6 42 35 30 36 56 60 50 43 58 75 81 66 54 77 65 97

สรุป สายไฟฟ้าที่ใช้ในงานด้านไฟฟ้ามีหลายชนิดได้แก่ VFF AVF NYY ซึ่งแต่ละชนิดมีคุณสมบัติในการใช้งานที่เฉพาะเจอะจงจำเป็นต้องคำนึงการใช้งานสายไฟให้เหมาะสมกับสถานที่และชนิดของสายไฟฟ้าด้วย ในทำนองเดียวกัน นอกจากชนิดและสภาพแวดล้อมที่ต้องคำนึงถึงการเลือกชนิดของสายไฟที่ใช้แล้ว ปริมาณของกระแสไฟฟ้า แรงดันไฟฟ้าที่ใช้ก็ต้องเลือกขนาดของสายไฟฟ้าให้เหมาะสมกับงานอีกด้วย

แบบฝึกหัด ให้ผู้เรียน ทำชิ้นงาน แสดงคุณลักษณะเฉพาะของสายไฟฟ้าในแบบต่างๆ ตามที่เรียนมา จัดเป็นกลุ่ม ๆ ละ 4 คน จัดทำบอร์ดแสดงชนิดของสายไฟ และคุณลักษณะเฉพาะ ของสายไฟชนิดต่างๆ ทุกรูปแบบ