การตัดสินผล และ การเขียนรายงาน การประเมินโครงการ การตัดสินผล และ การเขียนรายงาน การประเมินโครงการ ดวงกมล ไตรวิจิตรคุณ ภาควิชาวิจัยและจิตวิทยาการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
การตัดสินผล หัวใจสำคัญของการประเมินอยู่ที่ การตัดสินผล หรือการตัดสินคุณค่า ได้อย่างเหมาะสม การตัดสินคุณค่า ประกอบด้วย 1. ตัวชี้วัด ได้แก่ ตัวชี้วัดสำคัญ (คุณภาพของโครงการ การบริหารโครงการ และ ผลของโครงการ) 2. เกณฑ์
ความสัมพันธ์ระหว่าง ตัวชี้วัด เกณฑ์ และคุณค่า (INDICATOR) เกณฑ์ (CRITERIA) คุณค่า (VALUE) ข้อมูลเชิงประจักษ์ (EMPIRICAL DATA) การตัดสิน
คุณค่าที่ต้องการตัดสิน ตัวอย่าง คุณค่าที่ต้องการตัดสิน ตัวชี้วัด เกณฑ์ ผลสำเร็จของโครงการจัดหาอาหารเสริม (นม) ให้แก่ เด็กเล็กในจังหวัด ก -จำนวนเด็กที่ ได้รับอาหารเสริม - สุขภาพของเด็ก -100% ได้ อาหารเสริม -อัตราความ เจ็บป่วยของ เด็กลดลง 10%
การสรุปผลการประเมิน ยึดประเด็นตามวัตถุประสงค์ของการประเมินเป็นสำคัญ และนำเสนอเรียงลำดับตามวัตถุประสงค์ของการประเมิน ประกอบด้วย ผลการวิเคราะห์ข้อมูลที่วัดได้จากตัวชี้วัด แต่ละตัว และ ผลการตัดสินคุณค่าหลังจากที่ได้ข้อมูลจาก ตัวชี้วัดแต่ละตัวเทียบกับเกณฑ์ที่กำหนดไว้
การสรุปผลการประเมิน ถ้าเป็นไปได้ ควรพิจารณาทั้งที่เป็นส่วนของผลผลิต (output) และผลลัพธ์ (outcome) ต้องเข้าใจว่าผลการประเมินมีโอกาสเป็นไปได้ทั้งทางบวกและทางลบ ดังนั้นต้องเสนอภาพลบได้อย่างนุ่มนวล แต่ต้องมีผลให้นำภาพลบดังกล่าวมาปรับปรุงและพัฒนาด้วย
การอภิปรายผลการประเมิน เป็นการนำสารสนเทศจากสรุปผลการประเมินมาพิจารณาเน้นให้เห็นความชัดเจนยิ่งขึ้น ผู้ประเมินสามารถแสดงความคิดเห็นเสริม สนับสนุน หรือโต้แย้งได้
การอภิปรายผลการประเมิน วิธีการในการอภิปรายผล คือ 1. ผู้ประเมินต้องยึดสรุปผลการประเมินเป็นหลักในการอภิปรายผล 2. ควรยกประเด็นมาอภิปรายแต่ละประเด็นให้ชัดเจนเป็นลำดับต่อเนื่องไป
ความคิดเห็นประกอบการอภิปราย ความมั่นใจต่อผลการประเมิน พิจารณาในประเด็น - เกิดขึ้นจริงหรือไม่ - มีข้อจำกัดอะไรบ้าง - เป็นไปตามที่คาดหวังหรือไม่
ความคิดเห็นประกอบการอภิปราย ผลจากการประเมินมีคุณภาพระดับใด พิจารณาในประเด็น - เปรียบเทียบระหว่างการมีและไม่มีโครงการ - เปรียบเทียบกับโครงการอื่น - ความพอใจของผู้บริหาร - ควรปรับปรุงหรือดัดแปลงโครงการในส่วนใด - ควรหยุดโครงการหรือทำต่อหรือขยาย โครงการ
ความคิดเห็นประกอบการอภิปราย งบประมาณที่ใช้ พิจารณาในประเด็น - เหมาะสมและคุ้มค่ากับผลที่ได้รับหรือไม่ - ควรปรับปรุงในส่วนใด ความคิดเห็นของผู้เกี่ยวข้อง เป็นความคิดเห็นที่เกี่ยวกับผลการประเมินในแง่มุมต่าง ๆ ดังเช่นที่ผู้ประเมินได้อภิปรายไว้แล้ว
ข้อเสนอแนะ แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย เป็นการนำข้อสรุปจากสรุปผลการประเมินและอภิปรายผลการประเมินมาประมวลความคิดให้เป็นแนวทางที่เหมาะสม แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย เป็นข้อเสนอแนะสำหรับผู้บริหารเพื่อให้เกิดแนวทางการพัฒนาโครงการหรือเปลี่ยนแปลงโครงการในระดับนโยบาย
ข้อเสนอแนะ 2. ข้อเสนอแนะเชิงปฏิบัติ เป็นข้อเสนอแนะที่เน้นสำหรับผู้ปฏิบัติงาน เพื่อให้เป็นแนวทางต่อการพัฒนาการปฏิบัติกิจกรรมให้มีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น
การเขียนรายงานการประเมิน
ความสำคัญของรายงานการประเมินโครงการ เป็นการโน้มน้าวให้ผู้เกี่ยวข้องนำผลการประเมินไปใช้ได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และทันการณ์ แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ 1. การรายงานสรุปสำหรับผู้บริหาร (Executive Summary Report) 2. การรายงานเชิงเทคนิคสำหรับผู้ปฏิบัติ (Technical Report) 2.1 การรายงานประเมินความก้าวหน้า 2.2 การรายงานประเมินสรุปรวม 4/4/2019 Free template from www.brainybetty.com
การรายงานสรุปสำหรับผู้บริหาร เป็นรายงานเชิงสรุป สำหรับผู้บริหาร มีความยาวประมาณ 1-3 หน้า สั้น กระชับ ชัดเจน และโน้มน้าวให้ผู้บริหารตัดสินใจ มีผลในทางปฏิบัติให้มากที่สุด 4/4/2019 Free template from www.brainybetty.com
Free template from www.brainybetty.com รายงานเชิงเทคนิค การรายงานประเมินความก้าวหน้า (Formative Evaluation Report) - เป็นรายงานระหว่างดำเนินโครงการ - ควรเน้นการรายงานสารสนเทศที่จะมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงปรับปรุงโครงการ - เป็นระยะ ๆ ตามความเหมาะสม - อาจรายงานอย่างเป็นทางการ/ด้วยวาจา 4/4/2019 Free template from www.brainybetty.com
Free template from www.brainybetty.com รายงานเชิงเทคนิค 2. การรายงานประเมินสรุปรวม (Summative Evaluation Report) - เป็นรายงานเมื่อสิ้นสุดโครงการ เพื่อตัดสินคุณค่าของโครงการในภาพรวม - ควรเน้นการรายงานสารสนเทศที่มีผลต่อการตัดสินใจเกี่ยวกับอนาคตของโครงการ - นอกจากผลประเมินแล้ว ควรแสดงถึงวิธีการต่าง ๆ ที่ใช้ว่าเที่ยงตรง น่าเชื่อถือและเหมาะสมอย่างไร 4/4/2019 Free template from www.brainybetty.com
การรายงานประเมินความก้าวหน้า การรายงานประเมินสรุปรวม ความแตกต่างระหว่างการรายงานประเมินความก้าวหน้ากับรายงานประเมินสรุปรวม การรายงานประเมินความก้าวหน้า การรายงานประเมินสรุปรวม จุดประสงค์ เพื่อแสดงผลของโครงการระหว่างดำเนินโครงการสำหรับนำผลไปใช้ในการปรับปรุงโครงการ เพื่อแสดงผลโดยสรุปรวมของโครงการทั้งหมดสำหรับตัดสินใจในการดำเนินโครงการ ระดับความเป็นทางการ (Tone) ไม่เป็นทางการ เกือบทั้งหมดเป็นทางการ แบบฟอร์ม (Form) เป็นลายลักษณ์อักษรวาจาอย่างไม่เป็นทางการ เป็นลายลักษณ์อักษรและอาจนำเสนอด้วยวาจา 4/4/2019 Free template from www.brainybetty.com
การรายงานประเมินความก้าวหน้า การรายงานประเมินสรุปรวม ความแตกต่างระหว่างการรายงานประเมินความก้าวหน้ากับรายงานประเมินสรุปรวม การรายงานประเมินความก้าวหน้า การรายงานประเมินสรุปรวม ความยาว (Length) ยืดหยุ่นได้ ยืดหยุ่นได้ โดยต้องมีรายละเอียดที่พอจะสรุปหรือช่วยในการตัดสินใจสำหรับผู้บริหาร ระดับความเฉพาะเจาะจง มีความเฉพาะเจาะจงสูงในประเด็นต่าง ๆ ของโครงการ มีความเฉพาะเจาะจงน้อยจะเน้นทุกประเด็นที่จะช่วยให้ตัดสินใจสรุปในภาพรวมได้ 4/4/2019 Free template from www.brainybetty.com
โครงสร้างของรายงานการประเมิน บทสรุปสำหรับผู้บริหาร บทนำ โครงการที่จะประเมิน วิธีการประเมิน สรุปผลการประเมิน สรุปและอภิปรายผลการประเมิน ข้อเสนอแนะ 4/4/2019 Free template from www.brainybetty.com
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร ประกอบด้วย ชื่อโครงการ วัตถุประสงค์ เป้าหมายของโครงการที่จะประเมิน เหตุผลที่ประเมิน วัตถุประสงค์ของการประเมิน ผลประเมินที่สำคัญ ข้อเสนอเชิงนโยบาย อื่น ๆ เช่น มีการตัดสินใจใดบ้าง รายงานนี้สำหรับใคร ใครบ้างที่ควรสนใจรายงานนี้เพิ่มเติม ข้อจำกัดของการประเมิน 4/4/2019 Free template from www.brainybetty.com
Free template from www.brainybetty.com 2. บทนำ ความเป็นมาของโครงการประเมิน ประกอบด้วย หลักการและเหตุผล ความสำคัญของการประเมิน ผู้ใช้สารสนเทศการประเมิน จุดมุ่งหมายของการประเมิน ถ้าเป็นโครงการใหญ่อาจแบ่งเป็นวัตถุประสงค์ทั่วไป และวัตถุประสงค์เฉพาะ ขอบเขตของการประเมิน ประกอบด้วย จุดเน้นการประเมิน ประชากร/กลุ่มตัวอย่าง ช่วงเวลา 4/4/2019 Free template from www.brainybetty.com
Free template from www.brainybetty.com 3. โครงการที่จะประเมิน ความเป็นมาของโครงการ ผู้รับผิดชอบและผู้ร่วมรับผิดชอบหรือผู้ให้ทุน (ถ้ามี) วัตถุประสงค์ของโครงการ กลุ่มเป้าหมายของโครงการ การดำเนินงาน งบประมาณ ตัวชี้วัดและเกณฑ์ตัดสินความสำเร็จของโครงการ 4/4/2019 Free template from www.brainybetty.com
Free template from www.brainybetty.com 4. วิธีการประเมิน ประเภทการประเมิน (Formative หรือ Summative) รูปแบบการประเมิน (ถ้ามี) ประเด็นการประเมิน ประกอบด้วย คำถามหลัก ตัวแปร ตัวชี้วัด และข้อมูลรายละเอียดที่ผู้ใช้ผลการประเมินควรทราบ และ/หรือ ต้องการทราบ เครื่องมือที่ใช้ เช่น แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ ขั้นตอนการกำหนด/เลือก/พัฒนา/สร้างเครื่องมือ การรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย ประเภทข้อมูล วิธีการเก็บข้อมูล 4/4/2019 Free template from www.brainybetty.com
Free template from www.brainybetty.com 4. วิธีการประเมิน การวิเคราะห์ข้อมูล สถิติที่ใช้ เกณฑ์การตัดสินผลการประเมิน การรายงานผลการประเมิน อาจเป็นระยะ ๆ และสรุปรวม หรือสรุปรวมครั้งเดียว งบประมาณในการประเมิน แยกตามหมวด 4/4/2019 Free template from www.brainybetty.com
Free template from www.brainybetty.com 5. สรุปผลการประเมิน ผลการประเมินตัวโครงการที่จะประเมิน ประกอบด้วย ความสอดคล้องของโครงการ ความสัมพันธ์เชิงเหตุผลของรายละเอียดโครงการ ความเป็นไปได้ ผลการประเมินการบริหารโครงการ เช่นเจ้าหน้าที่หรือผู้เกี่ยวข้องดำเนินการตามแผนหรือไม่ กิจกรรมสำคัญ ๆ เกิดขึ้นจริงตามกำหนดเวลาหรือไม่ มีการปรับเปลี่ยนอย่างไรบ้าง 4/4/2019 Free template from www.brainybetty.com
Free template from www.brainybetty.com 5. สรุปผลการประเมิน ผลการประเมินผลลัพธ์ของโครงการ ซี่งเป็นส่วนสำคัญที่สุด พิจารณาจากวัตถุประสงค์ของโครงการ ผลการประเมินผลที่ไม่ได้คาดหวังจากโครงการ ซึ่งนอกเหนือจากวัตถุประสงค์ของโครงการ ซึ่งอาจได้จากการบอกเล่า วิจารณ์ เสนอข่าวจากแหล่งต่าง ๆ 4/4/2019 Free template from www.brainybetty.com
6. สรุปและอภิปรายผลการประเมิน สรุปผลการประเมิน อภิปรายผลการประเมิน - ควรเน้นอภิปรายความแน่ใจของผลที่เกิดจากโครงการว่ามีความจริงเพียงใด - ข้อจำกัดของการประเมินมีอิทธิพลต่อผลการประเมินหรือไม่อย่างไร 4/4/2019 Free template from www.brainybetty.com
6. สรุปและอภิปรายผลการประเมิน - เปรียบเทียบให้เห็นว่าการมีโครงการกับไม่มีโครงการได้ผลต่างกันอย่างไร - ควรปรับโครงการในด้านใดบ้าง/อย่างไร - ควรดำเนินการต่อไปหรือยกเลิกโครงการ - ความคุ้มค่าของโครงการโดยอาจเปรียบเทียบกับโครงการอื่น 4/4/2019 Free template from www.brainybetty.com
Free template from www.brainybetty.com 7. ข้อเสนอแนะ ควรเสนอแนะในสิ่งที่เป็นไปได้ ประกอบด้วย 1. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย ทั้งจากผลโครงการโดยตรงและจากผลอื่น ๆ 2. ข้อเสนอแนะเชิงปฏิบัติ ทั้งจากผลโครงการโดยตรงและจากผลอื่น ๆ 4/4/2019 Free template from www.brainybetty.com
Free template from www.brainybetty.com 8. ส่วนประกอบอื่น ๆ ปกนอก ควรประกอบด้วย ชื่อโครงการที่จะประเมิน ผู้ประเมิน ผู้รับผลการประเมิน ระยะเวลารายงานการประเมิน บรรณานุกรม ภาคผนวก ได้แก่ รายชื่อผู้ทรงคุณวุฒิ เครื่องมือ หน้งสือติดต่อ สถิติ สูตรคำนวณ 4/4/2019 Free template from www.brainybetty.com
เทคนิคการเขียนรายงาน ควรเสนอรายงานเป็นระยะ ๆ อย่างสม่ำเสมอ อาจใช้วิธีรายงานอย่างไม่เป็นทางการ ช่วยกระตุ้นความสนใจและทราบความเป็นไปของโครงการ เสนอรายงานอย่างถูกต้อง และพยายามนำเสนอจุดเด่นในการประเมินเพื่อแสดงให้เห็นว่าผลที่ได้ถูกต้องน่าเชื่อถืออย่างไร 4/4/2019 Free template from www.brainybetty.com
เทคนิคการเขียนรายงาน ควรเสนอรายงานให้ตรงกับความต้องการของผู้ใช้ เสนอให้ตรงเวลา เสนอผลการประเมินทางลบได้อย่างนุ่มนวล ควรใช้ตาราง แผนภาพ กราฟ 4/4/2019 Free template from www.brainybetty.com