โครงการสนับสนุนสินเชื่อเกษตรกรชาวสวนยางรายย่อย เพื่อประกอบอาชีพเสริม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักมาตรฐานด้านการบัญชีภาครัฐ
Advertisements

โครงการสนับสนุนสินเชื่อสถาบันเกษตรกร
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
การแนะนำระบบการรับสมัครบุคคลเข้าศึกษา สถาบันพระบรมราชชนก
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์
การจัดสรรตำแหน่งและการ คัดเลือก เพื่อบรรจุลูกจ้างชั่วคราวเข้า รับราชการ.
กลุ่มตรวจการสหกรณ์ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดสุพรรณบุรี
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดกาฬสินธุ์ ฝ่ายบริหารทั่วไป
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการ กรม สำนักงานสหกรณ์จังหวัด สระบุรี ( กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการ จัดการสหกรณ์ ) ข้อมูล ณ วันที่ 25 ธันวาคม โครงการตามนโยบายรัฐบาล.
1 ปฏิทิน งบประมา ณ กันยายน 2555 อนุมัติแผนปฏิบัติงาน 5 แผนหลัก 76 แผน ย่อย 1-15 ตุลาคม จัดทำ Action Plan ทุก หน่วยงาน - ส่งโครงการจังหวัดให้
ณ 31 พฤษภาคม
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
1. 2 กิจกรรมหลัก ส่งเสริมและพัฒนา องค์กรและเกษตรกร ที่ตัวชี้วัด หน่วยนับ แผนผล % หมายเหตุ 1 สหกรณ์ผ่านเกณฑ์มาตรฐานแห่ง กลุ่มเกษตรกรผ่านเกณฑ์มาตรฐานแห่ง.
การติดตามประเมินผล และรายงาน.
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดบุรีรัมย์
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
. แผ น กลุ่ม 1 กลุ่ม 2 กลุ่ม 3 กลุ่ม 4 กลุ่ม 5 รวม 1. สหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกรได้รับ การส่งเสริม สนับสนุนการ ดำเนินงาน สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร
ตรวจการสหกรณ์ ปกติ เจ้าภาพ กจส./ กลุ่มส่งเสริม ดำเนินการแล้วอยู่ระหว่างดำเนินการยังไม่ดำเนินการ จัดทำคำสั่งแต่งตั้ง ผู้ตรวจการ 1 ติดตามประเมินผล รวบรวมรายงาน.
ปรับโครงสร้างการผลิตข้าว
รายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 3 ประจำเดือน มีนาคม 2558.
รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปี ติดตามงานแผนกล ยุทธ์ ปี เจ้าภาพ กบส./ กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ ดำเนินการแล้วอยู่ระหว่างดำเนินการยังไม่ดำเนินการ.
การมอบนโยบายแนวทาง การปฏิรูปที่ดินประจำปี 2559 โดย นายสรรเสริญ อัจจุตมานัส เลขาธิการ ส. ป. ก.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
ผลการปฏิบัติงานของ กลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาการบริหาร การจัดการสหกรณ์ ประจำเดือน มกราคม 2558.
คณะกรรมการปรับปรุงยุทธศาสตร์ฯ
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
การบริหารจัดการงบค่าเสื่อม ปี 2561
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
Design by Agri - Map สำนักงานชลประทานที่ ๘.
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
ข่าวประชาสัมพันธ์สำนักงานเกษตรจังหวัดสุโขทัย
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ผลการปฏิบัติงานกรมตรวจบัญชีสหกรณ์
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
การดำเนินงานเมื่อสิ้นสุดโครงการ
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
แนวทางปฏิบัติ กรมป่าไม้
ภายใต้ร่มพระบารมี เพื่อการพัฒนาการ เกษตรอย่างยั่งยืน
ผลการปฏิบัติงาน กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ประจำปีงบประมาณ 2561
มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด
ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ และแนวทางแก้ไข ของกองวิจัยและพัฒนาข้าว
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
นายทะเบียนแจ้งผลการจองชื่อ
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
วาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
วาระที่ ผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเตรียมความพร้อมบุคลากร สำนักแผนงานและโครงการพิเศษเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานในพื้นที่
ประเด็นปัญหาที่ตรวจพบจากการตรวจสอบ
สำนักงานกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ สาขา 7
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
แนวทางการรณรงค์ พัฒนาการเด็ก 4-8 กรกฎาคม 2559
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
นโยบายขับเคลื่อนงานวิจัย และจริยธรรมการวิจัย กรมอนามัย
มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด
การประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบ ภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ.
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
การจัดทำแผนการสอบบัญชีโดยรวม
โครงการส่งเสริมการบริหารจัดการการเงินชุมชน
รายงานสถานการณ์E-claim
โครงการ “9,999 ตามรอยเท้าพ่อ”
รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ 2560 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลำพูน
4.2.3แผนการปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการสนับสนุนสินเชื่อเกษตรกรชาวสวนยางรายย่อย เพื่อประกอบอาชีพเสริม โดย กรมส่งเสริมการเกษตร (กสก.) การยางแห่งประเทศไทย (กยท.) ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.)

ขั้นตอนการขึ้นทะเบียนโครงการสนับสนุนสินเชื่อเกษตรกรชาวสวนยางรายย่อยเพื่อประกอบอาชีพเสริม การประชาสัมพันธ์โครงการ รับสมัครเกษตรกรเข้าร่วมโครงการ ตรวจสอบคุณสมบัติของเกษตรกร   1 2 3 โคย : สนง.เกษตรอำเภอ/ธ.ก.ส./สกย. สมัครได้ที่ : สนง.เกษตรอำเภอ โดย : สนง.เกษตรอำเภอ จัดทำแผนการผลิต/แผนธุรกิจอาชีพเสริม  ชี้แจงและแนะนำข้อมูลทางเลือก ในการประกอบอาชีพเสริม   จัดทำบัญชีรายชื่อชาวสวนยางพารา   “แผนธุรกิจ” 6 5 4 โดย : สนง.เกษตรอำเภอ โดย :เกษตรกรชาวสวนยางพารา โดย : สนง.เกษตรอำเภอ/ธ.ก.ส./สกย. พิจารณาแผนธุรกิจในการประกอบอาชีพเสริมของเกษตรกร การพิจารณาการให้สินเชื่อ 7 8 ติดต่อขอรับรายละเอียดเพิ่มเติม ได้ที่ ธ.ก.ส. ทุกสาขา ทั่วประเทศ ธ.ก.ส. Call Center : 02-5550555 โดย : คณะกรรมการบริหารโครงการระดับจังหวัด โดย : ธ.ก.ส. สาขา

ข้อมูล สะสมในปีบัญชีถึง : 22/12/2559 ประเภทข้อมูล รวมทุกกลุ่มลูกค้า ผลการดำเนินงานโครงการสินเชื่อเกษตรกรชาวสวนยางรายย่อย เพื่อประกอบอาชีพเสริม ข้อมูล รวมทั้งประเทศ ข้อมูล สะสมในปีบัญชีถึง : 22/12/2559 ประเภทข้อมูล รวมทุกกลุ่มลูกค้า ภาค จ่ายเงินกู้ ต้นเงินคงเป็นหนี้คงเหลือ NPL %NPL/ยอดจ่าย %NPL/LOAN สัญญา จำนวนเงิน ภาคเหนือตอนบน 3,940 363.31 3,526 285.62 6.10 1.68 2.13 ภาคเหนือตอนล่าง 973 89.46 831 68.98 1.09 1.22 1.59 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 36,558 3,229.45 33,467 2,606.64 40.25 1.25 1.54 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 14,118 1,273.15 13,303 1,054.68 19.20 1.51 1.82 ภาคกลาง 9 0.75 5 0.38 0.00 ภาคตะวันออก 5,996 489.19 4,649 346.64 4.68 0.96 1.35 ภาคตะวันตก 1,511 134.64 1,044 82.81 1.85 1.38 2.24 ภาคใต้ตอนบน 21,076 1,976.70 17,619 1,438.90 24.70 1.72 ภาคใต้ตอนล่าง 49,259 4,609.76 45,488 3,738.65 13.54 0.29 0.36 สำนักกิจการนครหลวง 7 0.66 6 0.42 รวม 133,447 12,167.07 119,938 9,623.73 111.41 0.92 1.16 หน่วย: ล้านบาท

โครงการสนับสนุนสินเชื่อเกษตรกรชาวสวนยางรายย่อยเพื่อประกอบอาชีพเสริม ณ 22 ธันวาคม 2559 เป้าหมายเกษตรกร จำนวน 130,000 ราย วงเงิน 13,000 ล้านบาท เป้าหมายเกษตรกรระยะที่ 1 จำนวน 100,000 ราย วงเงิน 10,000 ล้านบาท เป้าหมายเกษตรกรระยะที่ 2 จำนวน 30,000 ราย วงเงิน 3,000 ล้านบาท เกษตรกรสมัครเข้าร่วมโครงการระยะที่ 1 (ระยะเวลา 20 พฤศจิกายน 2557-30 มกราคม 2558) จำนวน 111,341 ราย วงเงิน 10,764 ล้านบาท เกษตรกรสมัครเข้าร่วมโครงการระยะที่ 2 (ระยะเวลา 17 สิงหาคม 2558-15 กันยายน 2558) จำนวน 61,348 ราย วงเงิน 6,102 ล้านบาท คกก. จังหวัด พิจารณาเห็นชอบ จำนวน 100,304 ราย วงเงิน 9,220 ล้านบาท คกก. จังหวัดพิจารณาไม่เห็นชอบ/ทบทวน จำนวน 11,037 ราย วงเงิน 1,544 ล้านบาท คกก. จังหวัดรอพิจารณา จำนวน - ราย วงเงิน - ล้านบาท คกก. จังหวัด พิจารณาเห็นชอบ จำนวน 61,348 ราย วงเงิน 6,102 ล้านบาท คกก. จังหวัดพิจารณาไม่เห็นชอบ/ทบทวน จำนวน - ราย วงเงิน - ล้านบาท คกก. จังหวัดรอพิจารณา จำนวน - ราย วงเงิน - ล้านบาท ส่งข้อมูลให้ ธ.ก.ส. แล้ว จำนวน 100,304 ราย วงเงิน 9,220 ล้านบาท ยังไม่ได้ส่งข้อมูลให้ ธ.ก.ส. จำนวน - ราย วงเงิน - ล้านบาท ส่งข้อมูลให้ ธ.ก.ส. แล้ว จำนวน 61,348 ราย วงเงิน 6,102 ล้านบาท ยังไม่ได้ส่งข้อมูลให้ ธ.ก.ส. จำนวน - ราย วงเงิน - ล้านบาท ธ.ก.ส. จ่ายเงินกู้แล้ว จำนวน 75,274 ราย วงเงิน 6,730 ล้านบาท อยู่ระหว่างพิจารณาให้สินเชื่อ จำนวน - ราย วงเงิน - ล้านบาท ไม่ผ่านหลักเกณฑ์การให้สินเชื่อ จำนวน 25,030 ราย วงเงิน 2,490 ล้านบาท ธ.ก.ส. จ่ายเงินกู้แล้ว จำนวน 58,173 ราย วงเงิน 5,437 ล้านบาท อยู่ระหว่างพิจารณาให้สินเชื่อ จำนวน - ราย วงเงิน - ล้านบาท ไม่ผ่านหลักเกณฑ์การให้สินเชื่อ จำนวน 3,175 ราย วงเงิน 665 ล้านบาท สรุปการสนับสนุนทั้ง 2 ระยะในส่วนของ ธ.ก.ส. ธ.ก.ส. รับข้อมูลจากคณะกรรมการจังหวัดพิจารณา 161,652 ราย วงเงิน 15,322 ล้านบาท ธ.ก.ส. จ่ายเงินกู้แล้ว 133,447 ราย วงเงิน 12,167 ล้านบาท อยู่ระหว่างการพิจารณาให้สินเชื่อ - ราย วงเงิน - ล้านบาท ไม่ผ่านหลักเกณฑ์การให้สินเชื่อ 28,205 ราย วงเงิน 3,155 ล้านบาท ไม่ผ่านหลักเกณฑ์การให้สินเชื่อ หลักประกันไม่เพียงพอ 7,584 ราย วิเคราะห์งบกระแสเงินสดไม่ผ่าน 5,308 ราย ลูกค้าถอนความประสงค์ในการขอกู้ 10,619 ราย อื่น ๆ (เข้าใจว่าเป็นเงินให้เปล่า) 4,694 ราย

ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข ปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการสนับสนุนสินเชื่อเกษตรกร ชาวสวนยางรายย่อยเพื่อประกอบอาชีพเสริม ลำดับ ประเด็นปัญหา ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข 1. ในระยะแรกได้มีเกษตรกรที่สมัครเข้าร่วมโครงการบางส่วนเข้าใจคลาดเคลื่อนในหลักเกณฑ์เงื่อนไขและวัตถุประสงค์โครงการ โดยเข้าใจว่าเป็นเงินที่รัฐบาลสนับสนุนแบบจ่ายขาด แต่เมื่อทราบว่าเป็นเงินให้กู้ดอกเบี้ยต่ำ จึงขอถอนความประสงค์ไม่เข้าร่วมโครงการ - หน่วยงานที่เกี่ยวข้องชี้แจงทำความเข้าใจในหลักเกณฑ์เงื่อนไขและรายละเอียดของโครงการจนเป็นที่พอใจ 2. การปรับเปลี่ยนแผนการผลิตหรือแผนธุรกิจระหว่างพิจารณาสนับสนุนสินเชื่อไม่ตรงกับแผนการผลิตที่ผ่านการพิจารณากลั่นกรองให้ความเห็นชอบโดยคณะกรรมการบริหารโครงการระดับจังหวัด ทำให้ต้องกลับไปทบทวนแผนและเสนอพิจารณาใหม่ จึงทำให้เกษตรกรชะลอการตัดสินใจขอรับการสนับสนุนสินเชื่อตามโครงการ - หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ควรชี้แจงและช่วยจัดทำแผนการผลิตหรือแผนธุรกิจตามความสมัครใจของเกษตรกรก่อนนำเสนอคณะกรรมการบริหารโครงการระดับจังหวัด

ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข ปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการสนับสนุนสินเชื่อเกษตรกร ชาวสวนยางรายย่อย เพื่อประกอบอาชีพเสริม ลำดับ ประเด็นปัญหา ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข 3. การกำหนดวัตถุประสงค์ของการกู้เงินตามโครงการ ต้องเป็นการประกอบอาชีพการเกษตรหรือเกี่ยวเนื่องการเกษตรเท่านั้น ไม่ได้รวมถึงการประกอบอาชีพอย่างอื่นนอกภาคการเกษตร ทำให้ไม่สามารถสนับสนุนสินเชื่อได้ - เป็นไปตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขของโครงการที่กำหนดตามเมนูทางเลือกที่ กรมการส่งเสริมการเกษตร (กสก.) จัดทำ 4. เกษตรกรหรือไม่สามารถจัดหาบุคคลค้ำประกันได้ หรือไม่สามารถจัดหาหลักประกันได้เพียงพอกับวงเงินที่ขอกู้ - การสนับสนุนสินเชื่อของ ธ.ก.ส. ผู้ขอกู้ต้องจัดหาหลักประกันอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างมาเป็นประกันหนี้ตามหลักเกณฑ์เงื่อนไขของโครงการ ซึ่งไม่อาจผ่อนปรนได้เนื่องจากจะขัดกับพระราชบัญญัติ ธ.ก.ส.

ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข ปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการสนับสนุนสินเชื่อเกษตรกร ชาวสวนยางรายย่อย เพื่อประกอบอาชีพเสริม ลำดับ ประเด็นปัญหา ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข 5. เกษตรกรไม่มีความสามารถในการชำระหนี้คืนได้ (วิเคราะห์กระแสเงินสดไม่ผ่าน) - เกษตรกรบางส่วนมีภาระหนี้เดิมกับ ธ.ก.ส. หรือสถาบันการเงินอื่นอยู่จำนวนมาก เมื่อวิเคราะห์รายได้ – รายจ่ายทั้งระบบแล้ว ไม่มีความสามารถในการชำระหนี้คืนได้ 6. การเสนอแผนการผลิตหรือแผนธุรกิจไม่สอดคล้องกับวงเงินที่ขอกู้ และบางพื้นที่มีลักษณะเลียนแบบกัน ซึ่งไม่มีการตรวจสอบการใช้เงินกู้อย่างจริงจัง - คณะกรรมการบริหารโครงการระดับจังหวัดพิจารณาแผนการผลิตหรือแผนธุรกิจไม่ละเอียดถี่ถ้วนพอควร เนื่องจากบางพื้นที่มีเกษตรกรเข้าร่วมโครงการจำนวนมาก รวมถึงไม่มีมาตรฐานผลผลิตและค่าลงทุนที่ชัดเจน เพื่อใช้ในการวิเคราะห์วงเงินกู้ตามแผนการผลิตหรือแผนธุรกิจ

สวัสดีครับ