ศูนย์อนามัยที่ 11 นครศรีธรรมราช

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สถานการณ์และการเตรียมความพร้อม การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน
Advertisements

เป็นการนำความรู้ด้าน Microsoft Excel ที่มีความพิเศษตรงที่สามารถ กำหนดสูตรการคำนวณในแต่ละเซลล์ ของ Sheet งานนั้นๆได้ โดยอาศัย ความแม่นยำในการคีย์ข้อมูลเข้าไป.
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
ให้ความรู้ผู้ป่วยโรคไซนัสอักเสบ
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
สถานการณ์และการเตรียมความพร้อม การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน
การประเมินผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
การพัฒนาโปรแกรมระบบ รายงาน หน่วยงานเวชสารสนเทศ หน่วยงานเวชสารสนเทศ กลุ่มพัฒนาระบบบริการ สุขภาพโรงพยาบาลสุโขทัย.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ผลการดำเนินงาน ประจำปี 2558 ตุลาคม 2557 – กันยายน 2558
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
ศูนย์บริการสาธารณสุข 39 ราษฎร์บูรณะ
Out Come.
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
ประชุมการตรวจสอบคุณภาพเวชระเบียน
การจัดการควบคุมคุณภาพข้อมูล
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงาน
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ด้านระบบสารสนเทศสุขภาพ
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานบริหารและธุรการ คณะบริหารธุรกิจ
กรมตรวจบัญชีสหกรณ์.
ผลการดำเนินงาน การบริหารจัดการประเมิน และดูแลผู้ป่วยก่อนกลับเข้าทำงาน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ผู้ปฏิบัติ : ทีมสนับสนุน
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
EB9 หน่วยงานของท่านมีการดำเนินการเพื่อป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนในหน่วยงานอย่างไร (1) มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับการปฏิบัติงานที่อาจเกิดผลประโยชน์ทับซ้อน.
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ปัญหาที่พบในการเรียกเก็บชดเชย
SMS News Distribute Service
แนวทางการรณรงค์ พัฒนาการเด็ก 4-8 กรกฎาคม 2559
กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข โรงแรมเดอะรอยัลเจมส์ กอล์ฟ รีสอร์ท
กองทุนฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพ จังหวัดน่าน
Miniresearch งานผู้ป่วยนอก.
การติดตาม (Monitoring)
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
รายงานสถานการณ์E-claim
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
Service Profile :PCT ศัลยกรรม รพร.เดชอุดม
งานวิสัญญี รพร.เดชอุดม
มั่นใจเชื่อถือได้ เหรียญ+ป้าย ลูกของแม่
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
การพัฒนาการทำแผล หอผู้ป่วยพิเศษร่มเย็น 4
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
จุดเน้นในการพัฒนา/แผนพัฒนา ความเสี่ยง/ความท้าทาย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ศูนย์อนามัยที่ 11 นครศรีธรรมราช งานเวชระเบียน ศูนย์อนามัยที่ 11 นครศรีธรรมราช

เจตจำนง/ความมุ่งหมาย  จัดทำประวัติเวชระเบียนของผู้รับบริการทางแพทย์และค้นหาประวัติเวชระเบียน มีข้อมูลประวัติส่วนบุคคลอย่างถูกต้อง ครบถ้วน รวดเร็ว สามารถนำไปใช้ประกอบในการให้บริการทางการแพทย์ บันทึกประวัติให้การบริการทางการแพทย์ ของแพทย์ พยาบาลหรือหน่วยงานที่ให้บริการของผู้มารับบริการผู้ป่วยในอย่างถูกต้อง ครบถ้วนตามมาตรฐาน เก็บรักษาเวชระเบียนผู้ป่วยนอก ผู้ป่วยใน อย่างเป็นระบบ มีความปลอดภัย ค้นหาได้รวดเร็ว ถูกต้อง ครบถ้วน รวบรวมสถิติข้อมูลทางการแพทย์ของผู้ป่วยทุกรายจัดทำเป็นรายงานต่างๆ พันธกิจ  งานเวชระเบียน ให้บริการลงทะเบียนผู้ป่วยนอกและใน ได้อย่างครบถ้วนถูกต้อง จัดระบบเวชระเบียนได้มาตรฐาน เป็นแหล่งข้อมูลและเผยแพร่สถิติผู้ป่วย สนับสนุนการรักษาพยาบาลศึกษาวิจัยและอ้างอิงทางกฎหมาย ปรัชญา  ทำงานเป็นทีมและพัฒนาคุณภาพ เพื่อให้ระบบเวชระเบียนตั้งแต่การลงทะเบียนผู้ป่วย การจัดเก็บ ค้นหา และบริการข้อมูลเวชระเบียนเกิดความต่อเนื่องและสื่อสารที่ดีระหว่างทีมผู้ให้บริการ ในการดูแลรักษาผู้ป่วย เพื่อให้บริการด้านสุขภาพอย่างมีมาตรฐาน

วัตถุประสงค์ 1.ระบบบันทึกเวชระเบียนมีความสมบูรณ์ถูกต้องตามมาตรฐานการบันทึกเวชระเบียน 2.ระบบการจัดเก็บเวชระเบียนและรักษาความปลอดภัยเวชระเบียนมีประสิทธิภาพและปลอดภัย 3.ระบบเข้าถึงข้อมูลและรักษาความลับที่มีประสิทธิภาพ 4.ระบบตรวจสอบคุณภาพ (QC)ที่มีประสิทธิภาพและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 1.สามารถให้บริการจัดทำเวชระเบียนผู้มารับบริการรายใหม่-เก่า การค้นหารายเก่าได้ (โดยทีมห้องบัตรและทีมอุบัติเหตุ/ฉุกเฉิน) 2.มีการบันทึกประวัติการรักษาผู้ป่วย การให้รหัสโรคและรหัสหัตถการตามหลักมาตรฐานสากล หลังจากแพทย์วินิจฉัยโรคแล้วทุกราย 3.มีการจัดเก็บประวัติเวชระเบียนผู้ป่วยรายใหม่และประวัติผู้ป่วยรายเก่าเสร็จสิ้นทุกวัน 4.นำข้อมูลมาประมวลผลออกมาในรูป 12 แฟ้ม 21 แฟ้ม นำข้อมูลจัดกลุ่มการรักษาตามระบบDRG 5.นำข้อมูลมาจัดทำรายงานทางสถิติ 6..ให้บริการแก่ผู้รับบริการด้าน ทางกฎหมาย งานประกันชีวิต ชันสูตร ขอบเขตบริการ

เป้าหมาย 1.สามารถบริการผู้ป่วยนอกก่อนเวลาทำการ เวลา 06.30-08.30 น.เพื่อความสะดวกและรวดเร็วในการให้บริการ 2.ผู้รับบริการมีความพึงพอใจโดยไม่มีข้อร้องเรียนเกี่ยวกับงานบริการและพฤติกรรมการให้บริการ 3.ข้อมูลข่าวสารถูกต้อง ทันสมัยและสามารถรายงานตามกำหนดได้ ตลอดจนมีการตรวจสอบโดยคณะทำงานเวชระเบียนตรวจสอบคุณภาพได้ 4.สามารถให้รหัสโรคทั้งผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยในได้อย่างถูกต้องตามมาตรฐานสากล สอดคล้องกับความเห็นของแพทย์ 5.มีสถานที่เพียงพอในการเก็บประวัติผู้มารับบริการทั้งผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน และจัดเก็บในคอมพิวเตอร์

ตัวชี้วัดหลัก ความถูกต้องของการให้บริการทำบัตรใหม่-เก่า (ถูกคน) 100 % ความถูกต้องของการให้บริการทำบัตรใหม่-เก่า (ถูกคน) 100 % ความรวดเร็วในการให้บริการทำบัตรใหม่-เก่า [รายใหม่ 4 นาที,รายเก่า 5 นาที (รวมค้นหา chart) ] ความครอบคลุมของเวชระเบียน(ทบทวนเวชระเบียน) [ทุกเดือน ประเมินใหญ่ 6 เดือน/ครั้ง] การสูญหายของเวชระเบียน [น้อยกว่าหรือเท่ากับ 10 ]

สรุปตัวชี้วัด ตัวชี้วัด เป้าหมาย เม.ย56 พ.ค.56 ความถูกต้องของการให้บริการทำบัตรใหม่-เก่า (ถูกคน) 100 99.6 ความรวดเร็วในการให้บริการทำบัตรใหม่ 4 3 นาที 3.5 นาที ความรวดเร็วในการให้บริการทำบัตรเก่า 5 4 นาที การสูญหายของเวชระเบียน [น้อยกว่าหรือเท่ากับ 10 ความครอบคลุมของเวชระเบียน(ทบทวนเวชระเบียน) 2 ครั้ง

ประเมินการตรวจสอบคุณภาพเวชระเบียน ขั้นตอนการดำเนินการ 1.แต่งตั้งคณะกรรมการการประเมินคุณภาพเวชระเบียน 2.สุ่ม OPD CARD และCHART เพื่อประเมินคุณภาพ ทุกเดือน 3.สรุปผลการประเมินแจ้งแพทย์และผู้ที่เกี่ยวข้องทราบเพื่อดำเนินการปรับปรุงแก้ไข ให้สอดคล้องกับเกณฑ์คุณภาพที่ประเมิน ผ่านการประเมินสปสช ร้อยละ 80 4.พัฒนาระบบ IT เพื่อสะดวกและรวดเร็ว อ่านง่าย ข้อมูลมีความละเอียดครอบคลุมในการดำเนินงานและประหยัดทรัพยากรที่สิ้นเปลื้อง 5.เสนอแนะในกลุ่มงานและสามารถนำมาปรับปรุงงานให้เกิดการพัฒนาคุณภาพมากขึ้น

ผลการประเมินคุณภาพเวชระเบียน สรุปผลการประเมิน ผลการประเมินคุณภาพเวชระเบียน ปี จำนวน ครั้งที่1 ครั้งที่2 2553 40 55.77 57.28 2554 57.58 58.42 2555 56.28 67.83

ปัญหา/ข้อเสนอแนะ/การแก้ไข Informed consent ใบรับทราบและยินยอมรับการรักษา/ทำหัตถการ ปัญหา ใบรับทราบและยินยอมให้การรักษามีข้อมูลรายละเอียดที่ไม่สอดคล้องกับการประเมิน เช่น เหตุผลความจำเป็นในการรับการรักษา ข้อดีข้อเสีย ผลการรักษาไม่มีการบันทึกไว้ที่ชัดเจน และบางรายการคือการลงลายมือชื่อรับทราบข้อมูลรับทราบและยินยอมให้ทำการรักษาไม่ครบถ้วน(เกณฑ์ข้อ 2 ) Physical examination การตรวจร่างกาย การบันทึกการตรวจร่างกาย บันทึกรายละเอียดไม่ครบถ้วน มีบางรายการที่ไม่ได้บันทึก เช่นการตรวจร่างกายทุกระบบ การบันทึกแผนการรักษาไม่มี แบบฟอร์มไม่เป็นรูปแบบที่ชัดเจน Progress notes บันทึกทางการแพทย์ การบันทึกเนื้อหาไม่ครอบคลุมรูปแบบ S O A P ใน 3 วันแรก บาง Chart ไม่ได้สรุปผลการเปลี่ยนแปลง การลงนามแพทย์ผู้บันทึก Nurses” note บันทึกการให้การพยาบาล การบันทึกการให้ยา สารน้ำ การให้เลือดไม่ครบถ้วนหรือไม่มี การวินิจฉัยทางการพยาบาล การวางแผน การประเมินผลกิจกรรม ไม่สอดคล้องหรือครอบคลุมตามกำหนด และการบันทึกอาการแรกรับน่าจะมีความละเอียดมากขึ้น เพื่อให้สอดคล้องกับการบันทึกของแพทย์

สิ่งที่ควรพัฒนาเวชระเบียน 1.ใบรับทราบ/ยินยอมให้การรักษา ได้รับการปรับปรุงโดยจัดทำรูปแบบแบบฟอร์มใหม่ให้มีเนื้อหารายละเอียดที่ชัดเจนมากขึ้น มีใบยินยอมการรักษารายละเอียดที่ถูกต้อง โดยพิมพ์และอธิบายโดยแพทย์ให้ผู้ป่วยรับทราบในการนอนครั้งนั้นจากงานบริการผู้ป่วยนอกและงานอุบัติเหตุฉุกเฉิน ก่อนรับการรักษาเป็นผู้ป่วยใน ซึ่งทำให้มีความครอบคลุมในเนื้อหาสาระมากขึ้น 2.แบบบันทึกการการตรวจร่างกาย ได้เปลี่ยนแปลงรูปแบบใหม่ โดยใช้เทคโนโลยี (IT )ในการบันทึกรายละเอียดผ่านโปรแกรม ซึ่งมีเนื้อหาเพิ่มมากขึ้น รายละเอียดถูกต้องแม่นยำ เพิ่มความสะดวกและลดเวลาในการปฏิบัติงานได้มากขึ้น สามารถพิมพ์เอกสารมาแนบใน CHART ผู้ป่วย แพทย์เจ้าของไข้จะมาทำการบันทึกเพิ่มเดิม ตามรายละเอียดแบบฟอร์มที่กำหนด 3.นำผลการการตรวจสอบเวชระเบียน รับทราบถึงปัญหาที่เกิดขึ้น เพื่อบันทึกรายละเอียดให้มีความครอบคลุมตามเนื้อหาสาระ รายละเอียดโดยแพทย์ ตามฟอร์มใหม่ที่ได้จัดแบ่งวันที่มารับบริการอย่างถูกต้อง สะดวกในการบันทึกตามรายวันมากขึ้น 4.เปลี่ยนแปลงรูปแบบฟอร์มขึ้นใหม่ ซึ่งมีเนื้อหาสาระที่มีรายละเอียดที่ชัดเจนมากขึ้น และนำผลการการประเมินเวชระเบียนเพื่อให้แก้ไขการบันทึกทางการพยาบาลที่มีมาตรฐานการบันทึกให้เกิดความครอบคลุมและสามารถอ่านลายมือง่าย

ตรวจสอบจำนวน 39 ชุด คะแนน score 1,317 คะแนน overall 1,715 คะแนน รายงานสรุปค่าเฉลี่ยผลการตรวจประเมินคุณภาพการบันทึกเวชระเบียนผู้ป่วยนอก ประจำปีงบประมาณ 2556 (แยกตามราย Content ในภาพรวม หน่วยบริการ Patient HX PE Tre Follow1 Follow2 Follow3 Op. Info SS FS %Score ดาวน์โหลดข้อมูล 1 12287 รพ.ส่งเสริมสุขภาพ ศูนย์อนามัยที11 4.41 4.62 5.21 4.92 6.56 7.7 7.61 33.7 43.97 76.79 Mean ตรวจสอบจำนวน 39 ชุด คะแนน score 1,317 คะแนน overall 1,715 คะแนน ร้อยละ 76.79

ปัญหาจากการตรวจประเมินคุณภาพเวชระเบียนผู้ป่วยนอก Patient”s profile : ข้อมูลผู้ป่วย เกณฑ์ข้อ 6 : ระบุ วัน เดือน ปี ที่บันทึกข้อมูลเวชระเบียนครั้งแรก History : ประวัติการเจ็บป่วย เกณฑ์ข้อ 6 บันทึกการซักประวัติการแพ้ยา/ประวัติการแพ้อื่นๆ เกณฑ์ข้อ7 ประวัติการใช้สารเสพติด การสูบบุหรี่ การดื่มสุรา การซักประวัติการใช้สารเสพติด Treatment/Investigation : การรักษา/การตรวจเพื่อวินิจฉัย เกณฑ์ข้อ 5 การให้การปรึกษาระหว่างแผนก/การวินิจฉัย/การรักษาที่ผ่านมา Follow up : การตรวจติดตาม เกณฑ์ข้อ 7 บันทึกการให้คำแนะนำเกี่ยวกับการปฏิบัติตัว/การสังเกตอาการที่ผิดปกติ ข้อมูลผู้ป่วย : ใบปะหน้า OPD CARD มีรายละเอียดให้ครบถ้วน กำหนดวันที่บันทึกข้อมูลให้ถูกต้อง ประวัติการเจ็บป่วย : ประวัติการแพ้ยา ควรใส่ให้ครบทุกครั้งที่มารับบริการ และการซักประวัติการใช้สารเสพติด การรักษา/การตรวจเพื่อวินิจฉัย : การแผนการรักษาคำปรึกษาที่ชัดเจน

การพัฒนาการงานเวชระเบียน ระบบความถูกต้องการทำบัตร มีการตรวจเช็ดผู้ลงทะเบียนออก VISIT และตรวจสอบอีกครั้งเจ้าหน้าที่หน้าเคาเตอร์ ก่อนเรียกชื่อผู้ป่วยและหลังจากเรียกชื่อผู้ป่วยมารับบัตรทวนถามชื่ออีกครั้ง ตรวจสอบจากบัตรประชาชนหรือสูติบัตรทุกครั้ง/ตรวจสอบชื่อ-สกุลตรงกัน ผู้ที่เปลี่ยนชื่อ-สกุลจะแจ้งเจ้าหน้าที่ก่อนทุกครั้ง กรณีไม่นำบัตรประชาชน/สูติบัตร (ให้จนท.ตรวจสอบ) จะทวนถามที่อยู่หรือวัน/เดือน/ปีเกิดทุกครั้ง ระบบความรวดเร็วการให้บริการ ให้บริการนอกเวลา (เวลารับบัตร 06.30น. ) จัดลำดับคิวการรับบริการก่อน-หลัง เพื่อป้องกันการแซงคิว และความไม่พึงพอใจในการรับบริการ และให้ลำดับคิวส่งหน้าห้องตรวจและแผนกอื่นๆตามลำดับ ระบบ IT (โปรแกรม hos- xp )ที่ใช้ง่ายสะดวกในการจัดเก็บข้อมูล และการใช้ระบบVISIT ผู้ป่วยโดยยกเลิกบัตรOPD CARD ในผู้ป่วยทั่วไป ส่วนผู้ป่วยโรคเรื้อรังใช้บัตรOPD CARD เหมือนเดิม ซึ่งลดการจัดเก็บและการค้นหา ประหยัดเวลาและทรัพยากรในหน่วยงาน ใช้บัตรโรงพยาบาลพร้อมบัตรประชาชนหรือสูติบัตรในการบริการตรวจโรคทั่วไป

การพัฒนาการงานเวชระเบียน ระบบความครอบคลุม ได้รับการทบทวนเวชระเบียนจากคณะกรรมการในการตรวจประเมินคุณภาพเวชระเบียน มีข้อเสนอแนะ/แนวทางการแก้ไข เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของงานเวชระเบียน นำระบบIT มาใช้เพื่อลดปริมาณงานและประหยัดทรัพยากร แต่มีความครอบคลุมในคุณภาพเวชระเบียน นำสิ่งที่เป็นปัญหามาทบทวนแจ้งให้แพทย์/พยาบาลหรือบุคลากรอื่นที่เกี่ยวข้องรับทราบ ระบบการป้องกันการสูญหายเวชระเบียน ตรวจสอบการออก VISIT ผู้ป่วยและการส่งคืนบัตรOPD CARD ของแต่ละวัน กรณียืม-คืนเวชระเบียนต้องลงทะเบียน การยืม-คืนทุกครั้งในโปรแกรม HOS-xp ในเวรนอกเวลา(กลุ่มงานฉุกเฉิน)เมื่อเข้ามาค้นประวัติต้องลงทะเบียนการค้นหาและบันทึกในทะเบียนส่งคืนทุกครั้ง(กรณีแพทย์ร้องขอเวชระเบียน) จัดเก็บเข้าชั้นเก็บทุกวันมาลำดับ เรียงเลข HN จากน้อย-มาก และสุ่มตรวจสอบบัตรOPD CARD อาทิตย์ละ2 ครั้งจากเจ้าหน้าที่ กรณีจัดเก็บสลับที่ ค้นหาไม่ได้ในช่วงเวลาที่กำหนดจะออกใบแทนบัตรผู้ป่วยก่อนแล้ว เจ้าหน้าที่กลับมาทบทวนและค้นหาใหม่ภายหลังอีกครั้ง การส่ง-คืน chart และ OPD CARD ผู้ป่วยใน ตรวจสอบจากทะเบียนส่งคืน Chart จากผู้ป่วยใน เจ้าหน้าที่ตรวจสอบลงทะเบียนรับ Chart จากผู้ป่วยใน ผ่านโปรแกรม Hos-xp

สวัสดี