นายแพทย์สุพรรณ ศรีธรรมมา ที่ปรึกษากระทรวงด้านพัฒนาระบบบริการสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข ในยุคการเปลี่ยนแปลง โดย...... นายแพทย์สุพรรณ ศรีธรรมมา ที่ปรึกษากระทรวงด้านพัฒนาระบบบริการสาธารณสุข
ทบาทภารกิจ กระทรวงสาธารณสุข (ใหม่) กำหนดนโยบายและยุทธศาสตร์ ด้านสุขภาพของประเทศ ให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลง ที่เกิดขึ้นในทุกระดับ 1.
การบริหารจัดการด้านสุขภาพ พัฒนาระบบและกลไก การบริหารจัดการด้านสุขภาพ 2.
3. ติดตาม กำกับ ดูแลระบบสุขภาพในภาพรวม และสร้างกลไกการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน
ออกกฎหมาย บังคับใช้กฎหมาย และกำหนดมาตรฐานที่จำเป็น รวมทั้งกำกับดูแลและพัฒนาคุณภาพให้เป็นไปตามมาตรฐาน 4.
จัดให้มีบริการด้านสุขภาพ โดยกำหนดชุดสิทธิประโยชน์ขั้นพื้นฐานและพัฒนาบริการเฉพาะทาง 5.
สร้างระบบการป้องกันและควบคุมโรคและภัยทางสุขภาพ ที่มีประสิทธิภาพทั้งในภาวะปกติและภาวะฉุกเฉิน 6.
ส่งเสริมทุกภาคส่วนของสังคม ในการมีส่วนร่วมสร้างเสริมสุขภาพ และพัฒนาศักยภาพของประชาชนทางด้านพฤติกรรม และสำนึกทางสุขภาพ 7.
ประสานเพื่อกำหนดนโยบาย ทิศทางการวิจัย และการบริหารจัดการวิจัยด้านสาธารณสุข 8.
9. ดำเนินงานด้านสุขภาพ ระหว่างประเทศ
1. 2. 3. การเสนอ (ร่าง) กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ สำนักงาน ก.พ.ร. ขั้นตอน การเสนอ (ร่าง) กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ คณะทำงานแบ่งส่วนราชการภายในกรม 1. คณะกรรมการพัฒนาโครงสร้าง ระบบราชการของกระทรวง 2. 3. สำนักงาน ก.พ.ร.
4. 5. 6. คณะรัฐมนตรี สนง. คณะกรรมการกฤษฎีกา สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี รัฐมนตรีว่าการกระทรวง หรือ คณะรัฐมนตรี 5. สนง. คณะกรรมการกฤษฎีกา 6. สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี
7. เลขาคณะรัฐมนตรี - เสนอ ครม. เพื่อทราบ - ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
การตั้งกรมใหม่ ต้องเสนอเป็น พระราชบัญญัติ
มิติใหม่ ของข้าราชการพลเรือน
แนวคิดหลัก ในการปรับปรุงตำแหน่งใหม่ 1. หลักคุณธรรม 2. หลักสมรรถนะ 3. หลักผลงาน 4. หลักการกระจายอำนาจ 5. หลักอัตราตลาด 6. หลักความสามารถในการจ่ายของภาครัฐ
ประเภทของข้าราชการพลเรือน (ใหม่) 1. ประเภทบริหาร 1.1 ระดับต้น 1.2 ระดับสูง
2. ประเภทอำนวยการ 2.1 ระดับต้น 2.2 ระดับสูง 2. ประเภทอำนวยการ 2.1 ระดับต้น 2.2 ระดับสูง
3. ประเภทวิชาการ 3.1 ระดับปฎิบัติการ 3.2 ระดับชำนาญการ 3. ประเภทวิชาการ 3.1 ระดับปฎิบัติการ 3.2 ระดับชำนาญการ 3.3 ระดับชำนาญการพิเศษ 3.4 ระดับเชี่ยวชาญ 3.5 ระดับทรงคุณวุฒิ
4.2 ระดับชำนาญงาน 4.3 ระดับอาวุโส 4.4 ระดับทักษะพิเศษ 4. ประเภททั่วไป 4. ประเภททั่วไป 4.1 ระดับปฎิบัติงาน 4.2 ระดับชำนาญงาน 4.3 ระดับอาวุโส 4.4 ระดับทักษะพิเศษ
การจำแนกตำแหน่งข้าราชการพลเรือนในอนาคต ... เดิม ใหม่ ระดับ 11 ทรงคุณวุฒิ ทักษะพิเศษ ระดับ 10 เชี่ยวชาญ อาวุโส ระดับ 9 ชำนาญการพิเศษ ระดับ 8 ชำนาญงาน ชำนาญการ ระดับสูง ระดับสูง ระดับ 7 ปฏิบัติงาน ปฏิบัติการ ระดับต้น ระดับต้น ระดับ 3-5 หรือ 6 ระดับ 2-4 หรือ 5 ระดับ 1-3 หรือ 4 ทั่วไป วิชาการ อำนวยการ บริหาร จำแนกเป็น 4 ประเภท อิสระจากกัน แต่ละกลุ่มมีจำนวนระดับแตกต่างกันตาม ค่างานและโครงสร้างการทำงานในองค์กร มีบัญชีเงินเดือนพื้นฐานแยกแต่ละกลุ่ม กำหนดชื่อเรียกระดับตำแหน่งแทนตัวเลข จำแนกเป็น 11 ระดับ สำหรับทุกตำแหน่ง มีบัญชีเงินเดือนเดียว
โครงสร้างระบบค่าตอบแทนใหม่ข้าราชการพลเรือน ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบหลัก โครงสร้างระบบค่าตอบแทนใหม่ข้าราชการพลเรือน ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบหลัก Total Pay เชื่อมโยงผลสัมฤทธิ์ระหว่างหน่วยงานกับบุคคล ตำแหน่งงานที่มีลักษณะพิเศษ ช่วยสร้างความมั่นคงในการทำงาน สะท้อนขนาดงาน ผลงาน (Performance) และ สมรรถนะ (Competency) + + + 1 2 3 4 เงินเดือนพื้นฐาน เงินเพิ่ม สวัสดิการ โบนัส รายปี
ความก้าวหน้าในอาชีพ (ใหม่) ประเภทบริหาร ประเภทวิชาการ ประเภททั่วไป ประเภทอำนวยการ
สมรรถนะของข้าราชการพลเรือน(Competency) สมรรถนะหลัก (Core Competency) 1. การมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ 2. การบริการที่ดี 3. การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ 4. จริยธรรม 5. ความร่วมแรงร่วมใจ
กลไกการบริหารทรัพยากรบุคคล 1. ประเภทข้าราชการ 2. ระบบการกำหนดตำแหน่ง 3. วิธีการกำหนดตำแหน่ง
4. ระบบเงินเดือน 5. การบรรจุแต่งตั้ง 6. ผู้มีอำนาจบรรจุแต่งตั้ง 7. การเพิ่มประสิทธิภาพ และสร้างแรงจูงใจ
ประเภทข้าราชการ 1. ข้าราชการพลเรือนสามัญ 1. ข้าราชการพลเรือนสามัญ 2. ข้าราชการประจำต่างประเทศพิเศษ 3. ข้าราชการพลเรือนในพระองค์
บทบาท สำนักงาน ก.พ. 1. กำหนดนโยบายและออกกฎระเบียบ 1. กำหนดนโยบายและออกกฎระเบียบ 2. ติดตาม กำกับดูแล ตีความกฎหมาย 3. เสนอแนะให้ส่วนราชการและคณะรัฐมนตรี 4. ให้ความเห็นชอบกรอบอัตรากำลังของ ส่วนราชการ
คณะกรรมการพิทักษ์ระบบคุณธรรม ( ก.พ.ค. )
ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า 7 คน ก.พ.ค. ต้องทำงานเต็มเวลา เลขาธิการ ก.พ. เป็นเลขานุการ ก.พ.ค.
อำนาจหน้าที่ 1. เสนอแนะให้คำปรึกษา ก.พ. 1. เสนอแนะให้คำปรึกษา ก.พ. ในส่วนที่เกี่ยวกับนโยบายการพิทักษ์ระบบ คุณธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐ 2. พิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์
3. พิจารณาวินิจฉัยเรื่องราวร้องทุกข์ 4. พิจารณาเรื่องการคุ้มครองระบบคุณธรรม
การรักษาจรรยาข้าราชการ 1. การยึดมั่นและยืนหยัดทำในสิ่งที่ถูกต้อง 2. ความซื่อสัตย์สุจริตและความรับผิดชอบ 3. การปฏิบัติหน้าที่ด้วยความโปร่งใสและ สามารถตรวจสอบได้ 4. การปฏิบัติหน้าที่โดยไม่เลือกปฏิบัติอย่างไม่เป็นธรรม 5. การมุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน
1. ภาคทัณฑ์ 2. ตัดเงินเดือน 3. ลดเงินเดือน 4. ปลดออก 5. ไล่ออก โทษทางวินัย 5 สถาน 1. ภาคทัณฑ์ 2. ตัดเงินเดือน 3. ลดเงินเดือน 4. ปลดออก 5. ไล่ออก
บัญชีเงินเดือนขั้นต่ำขั้นสูงของข้าราชการพลเรือนสามัญ ตำแหน่ง ประเภทบริหาร บาท ขั้นสูง 61,860 63,920 ขั้นต่ำ 46,820 51,620 ระดับ ต้น สูง
ตำแหน่ง ประเภทอำนวยการ บัญชีเงินเดือนขั้นต่ำขั้นสูงของข้าราชการพลเรือนสามัญ ตำแหน่ง ประเภทอำนวยการ บาท ขั้นสูง 48,600 57,470 ขั้นต่ำ 22,330 27,450 ระดับ ต้น สูง
บัญชีเงินเดือนขั้นต่ำขั้นสูงของข้าราชการพลเรือนสามัญ ตำแหน่ง ประเภทวิชาการ บาท ขั้นสูง 21,360 34,630 47,110 57,470 61,860 ขั้นต่ำ 9,320 13,770 20,260 24,860 28,980 ระดับ ปฏิบัติการ ชำนาญการ ชำนาญการพิเศษ เชี่ยวชาญ ทรงคุณวุฒิ
บัญชีเงินเดือนขั้นต่ำขั้นสูงของข้าราชการพลเรือนสามัญ ตำแหน่ง ประเภททั่วไป บาท ขั้นสูง 17,490 26,440 39,640 57,470 ขั้นต่ำ 5,460 8,000 12,730 16,490 ระดับ ปฏิบัติงาน ชำนาญงาน อาวุโส ทักษะ พิเศษ
1. ประเภทบริหาร ระดับ อัตรา (บาท/เดือน) ระดับสูง 21,000 ระดับต้น บัญชีอัตราเงินประจำตำแหน่งของข้าราชการพลเรือนสามัญ 1. ประเภทบริหาร ระดับ อัตรา (บาท/เดือน) ระดับสูง 21,000 ระดับต้น 14,500
2. ประเภทอำนวยการ ระดับ อัตรา (บาท/เดือน) ระดับสูง 10,000 ระดับต้น บัญชีอัตราเงินประจำตำแหน่งของข้าราชการพลเรือนสามัญ 2. ประเภทอำนวยการ ระดับ อัตรา (บาท/เดือน) ระดับสูง 10,000 ระดับต้น 5,600
3. ประเภทวิชาการ ระดับ อัตรา (บาท/เดือน) ทรงคุณวุฒิ 15,600 13,000 บัญชีอัตราเงินประจำตำแหน่งของข้าราชการพลเรือนสามัญ 3. ประเภทวิชาการ ระดับ อัตรา (บาท/เดือน) ทรงคุณวุฒิ 15,600 13,000 เชี่ยวชาญ 9,900 ชำนาญการพิเศษ 5,600 ชำนาญการ 3,500
ขอขอบคุณ