งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน การบริหารจัดการด้านการเงินการคลังสุขภาพ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน การบริหารจัดการด้านการเงินการคลังสุขภาพ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน การบริหารจัดการด้านการเงินการคลังสุขภาพ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของหน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤติทางการเงิน (ระดับ 7 ไม่เกินร้อยละ 4) การบริหารจัดการการเงินการคลังที่มีประสิทธิภาพ ประเด็นตรวจราชการ ไม่เกินร้อยละ 4 ของหน่วยบริการในพื้นที่ เป้าหมาย ณ สิ้นเดือนตุลาคม หน่วยบริการประสบปัญหาวิกฤติทางการเงิน ระดับ 7 จำนวน 1 แห่งร้อยละ 1.28 ผลการดำเนินงาน

2 แผนการตรวจราชการ : การบริหารจัดการด้านการเงินการคลังสุขภาพ
4 จังหวัดตอนบน 3 จังหวัดตอนล่าง สงขลา พัทลุง สตูล ตรัง ปัตตานี ยะลา นราธิวาส

3 ประเด็นการตรวจราชการ
1.การจัดสรรเงินอย่างพอเพียง (Sufficent Allocation) หน่วยบริการมีรายได้ ≥ ค่าใช้จ่าย เมื่อเทียบกับแผนทางการเงิน(Planfin) ไม่น้อยกว่าร้อยละ80 2.ติดตามกำกับด้วยแผนทางการเงิน (Planfin Management) หน่วยบริการมีผลต่างของแผนกับรายได้และค่าใช้จ่ายจริงไม่เกิน ร้อยละ 5 ไม่น้อยกว่าร้อยละ70 3. สร้างประสิทธิภาพบริหารจัดการ (Efficient Management) หน่วยบริการผ่านเกณฑ์ประเมิน > 4 ตัว (มากกว่าระดับ B-) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 65 4.พัฒนาการบริหารระบบบัญชี (Accounting Management) หน่วยบริการที่มีคุณภาพบัญชี(อิเล็กทรอนิกส์) ผ่านเกณฑ์ที่กำหนดไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 หน่วยบริการที่เป็นศูนย์ต้นทุนนำข้อมูลเงินนอกงบประมาณเข้าระบบ GFMIS ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 5.พัฒนาเครือข่ายและศักยภาพบุคลากรด้านการเงินการคลัง บุคลากรด้านการเงินการคลัง (CFO และ Auditor) ที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

4 ประเด็นการตรวจราชการ
1.การจัดสรรเงินอย่างพอเพียง (Sufficent Allocation) หน่วยบริการมีรายได้ ≥ ค่าใช้จ่าย เมื่อเทียบกับแผนทางการเงิน(Planfin) ไม่น้อยกว่าร้อยละ80 การจัดทำ Planfin ของหน่วยบริการ ผลงานผู้ป่วยในของหน่วยบริการ

5 ประเด็นการตรวจราชการ
2.ติดตามกำกับด้วยแผนทางการเงิน (Planfin Management) หน่วยบริการมีผลต่างของแผนกับรายได้และค่าใช้จ่ายจริงไม่เกิน ร้อยละ 5 ไม่น้อยกว่าร้อยละ70 การใช้จ่ายตามแผน Planfin รายรับ รายจ่าย บวกลบไม่เกินร้อยละ 5 ความเป็นไปได้ของการใช้จ่ายตามแผน

6 ประเด็นการตรวจราชการ
3. สร้างประสิทธิภาพบริหารจัดการ (Efficient Management) หน่วยบริการผ่านเกณฑ์ประเมิน > 4 ตัว (มากกว่าระดับ B-) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 65 ประเมิน Scoring plus ประเมินตาม Total Performance Score (TPS) การคาดการณ์สถานการณ์การเงินการคลังหน่วยบริการ

7 แนวทาง : การวิเคราะห์ประสิทธิภาพหน่วยบริการ

8 เกณฑ์ประเมินผล: ด้านประสิทธิภาพ
ผลรวมคะแนนการบริหารประสิทธิภาพ Total Performance Score (TPS) คะแนนรวม Total Performance Score (TPS) ระดับ ≥ 8 A ดีมาก ≥ 7-8 B ดี ≥ 6-7 C พอใช้ ≥ 5-6 D ต้องปรับปรุง < 5 F ไม่ผ่าน

9 ประเด็นการตรวจราชการ
4.พัฒนาการบริหารระบบบัญชี (Accounting Management) หน่วยบริการที่มีคุณภาพบัญชี(อิเล็กทรอนิกส์) ผ่านเกณฑ์ที่กำหนดไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 หน่วยบริการที่เป็นศูนย์ต้นทุนนำข้อมูลเงินนอกงบประมาณเข้าระบบ GFMIS ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ความครบถ้วน ทันเวลา คะแนนบัญชีจาก Website คะแนนคุณภาพบัญชี A B C D (ทีมตรวจระดับเขต)

10 โครงการ กิจกรรม ผู้รับผิดชอบ
5.พัฒนาเครือข่ายและศักยภาพบุคลากรด้านการเงินการคลัง บุคลากรด้านการเงินการคลัง (CFO และ Auditor) ที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 โครงการ กิจกรรม ผู้รับผิดชอบ 1. พัฒนาการบริหารระบบบัญชี (Accounting Mamagement ) 1.1 พัฒนาคุณภาพและความสมบูรณ์ของระบบบัญชี กลุ่มงานบริหาร สสจ.พัทลุง 1.2 ประชุมเชิงปฏิบัติการโปรแกรมจัดเก็บรายได้ (E-Hos Accounting)สงขลา/ปัตตานี กลุ่มงานประกันฯ 1.3 ประชุมวิเคราะห์ผลการดำเนินงานของจังหวัดที่อบรมโปรแกรม (E-Hos Accounting) ของปี 2561 CFO แต่ละจังหวัด 2.กำกับ ติดตามแผน Planfin 2.1 ประชุมคณะกรรมการ CFO เขต CFO เขต 3.พัฒนาเครือข่ายและศักยภาพบุคลากรด้านการเงินการคลัง 3.1 พัฒนาศักยภาพ CFO ระดับจังหวัด CFO เขต/จังหวัด


ดาวน์โหลด ppt เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน การบริหารจัดการด้านการเงินการคลังสุขภาพ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google