บทที่ 4 กระบวนการวินิจสาร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กิจกรรมปฐมนิเทศผู้ปกครอง ระดับมัธยมศึกษา ปีการศึกษา 2556
Advertisements

Chapter 4 Numerical Differentiation and Integration
EC451 Lecture 10 Heckscher-Ohlin (4) ดร.วิธาดา อนกูลวรรธกะ.
Heckscher-Ohlin (2) ดร.วิธาดา อนกูลวรรธกะ
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง What are you doing?
Translation.
วิธีการติดตั้ง โปรแกรม Discover Intensive Phonics 1. ก่อนใส่ ซีดี ให้ไปที่ control panel คลิคที่ firewall คลิค off เพื่อปลดล็อคให้เครื่องรับ โปรแกรมใหม่
Functions and Their Graphs
เทคนิคการเลือกหนังสืออ่านสำหรับผู้บริหาร รองปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
บทเรียนเพาเวอร์พอยท์
การอ่านตามแนว PISA โดย วิไลวรรณ ชูรัตน์.
การฟื้นฟูผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองแบบครบวงจร
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
ภาษาและเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับครู
English today! Never let each day slip by fruitlessly. Some degree of value must be achieved. อย่าปล่อยให้แต่ละวันผ่านไปอย่างไร้ค่า ต้องสร้างประโยชน์ให้เกิดขึ้นมา.
-การสะท้อน -การเลื่อนขนาน -การหมุน
Mind Mapping แผนที่ความคิดในการตอบคำถาม
Network Layer. Subnetting.
การประเมินผลระหว่างเรียนที่ ส่งเสริมการสอนของครูและ การเรียนรู้ของนักเรียนใน ศตวรรษที่ 21.
ประเด็นบรรยาย ๑. ทำไมต้อง “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” ๒. นโยบายของโครงการ ลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ ๓. ผล O-net ของโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ ลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)
การเรียนรู้โดยใช้โครงการเป็นฐาน (Project based Learning : PBL)
ประสบการณ์และเทคนิคทำวิจัยสถาบัน
ดร.เกศรี วิวัฒนปฐพี การสร้างเครือข่าย
การประชุมเตรียมความพร้อม การประเมินความสามารถด้านการอ่านของนักเรียน (Reading Test: RT) ชั้นประถมศึกษาที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ วันที่ 10 พฤศจิกายน 2560.
Pentaho Installation.
Java Development Kit Installation.
กลุ่มแนะแนวฯ สำนักงาน ก.พ. V.R.
บทที่ 6 : Firewall Part3 สธ412 ความมั่นคงของระบบสารสนเทศ
โรงเรียนในเตาพิทยาคม อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
สังคมและการเมือง : Social and Politics
การวิจารณ์งานศิลปะ การวิจารณ์ศิลปะในแง่สุนทรียศาสตร์ คือการประเมิน
การพัฒนาสังคม Social Development 9 : 22 ต.ค. 60.
Reading for comprehension
กม.152 กฎหมายมหาชนเบื้องต้น Introduction to Public law (ตอน 02)
บทที่ 6 : ภาพเวกเตอร์ สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ
Tableau Installation.
สื่อการสอนรายวิชา ง30204 โปรแกรมภาษาชี ภาษาคอมพิวเตอร์และโปรแกรม
R & R Studio Program Installation.
บทที่ 6 : ภาพเวกเตอร์ สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ
เกริ่นนำงานวิจัยเบื้องต้น
วิชา การบริหารทางการตลาด (MKT 3202)
ความหมายของการสื่อสาร
Scientific process skills
บทที่ 4 ทัศนคติของลูกค้า
By Dr. Khunakorn Khongchana Lecturer of English Program
นายดำหริ งิมสันเทียะ ผอ.สพป.อย.1
ระเบียบวาระการประชุม วันพุธที่ ๒๗ เดือน มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๑
การวัดผลและประเมินผล ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ของ TQF
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย
Hermeneutics หลักการตีความหมายพระคัมภีร์
การใช้ชีวิตในมหาวิทยาลัย และเทคนิคการเรียน ในระดับอุดมศึกษา
นายดำหริ งิมสันเทียะ ผอ.สพป.อย.1
ปัสสาวะเป็นเลือด แผนการเรียนรู้ที่ 2:
บทที่ 7: นโยบายของรัฐและปัจจัยภายนอกที่มีผลต่อการพัฒนาการเกษตร
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ (New Product Development or NPD)
ประชุมเชิงปฏิบัติ การบริหารการเปลี่ยนแปลงกรมอนามัย มุ่งสู่องค์กรนำด้านส่งเสริมสุขภาพและ อนามัยสิ่งแวดล้อม นายแพทย์วชิระ เพ็งจันทร์ อธิบดีกรมอนามัย วันที่
หลักสูตรภาษาอังกฤษตามข้อบังคับ
D I G I T A L 4.0 Hobbies ENG M.1 Sem. 2 Vocabulary
แบบฟอร์มที่ 2 1. ชื่อวิชา  THM4406 การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์และผจญภัย
แนะนำหนังสือใหม่ สิงหาคม 2560
กายภาพบำบัดใน ผู้ป่วยภาวะวิกฤต รศ.สมชาย รัตนทองคำ
การขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
การพัฒนาทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
บรรยายโดย พันเอก ณัฐพงษ์ เพราแก้ว
Weka Installation.
สภาพแวดล้อมทางการตลาด
ร่างแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 4
การใช้ภาษาไทยเบื้องต้น 3(3-0)
การส่งผลงานวิชาการ เพื่อตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารวิชาการ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 4 กระบวนการวินิจสาร ระดับความเข้าใจของการวินิจสาร การจับใจความ การวิเคราะห์ การตีความ การวิจารณ์และการประเมินค่า

การวินิจสาร คือการอ่านเพื่อพิจารณาสารอย่างละเอียดถี่ถ้วน (Intensive Reading) เป็นกระบวนการที่ต้องอาศัยการ วิเคราะห์ ตีความ วิจารณ์ และประเมินค่า เพื่อมุ่งหา ความคิดสำคัญจากสารนั้นๆ ดังนั้น ในการอ่านวินิจสารนั้นจำเป็นต้องมีความ รอบรู้ 2 ด้านหลักๆ คือ ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ วรรณกรรม และกระบวนการวินิจสาร

1. ระดับความเข้าใจของการวินิจสาร การแปลความ (Translation) คือการแปลเรื่องราวเดิมให้ออกมาเป็นคำใหม่แต่ ยังคงรักษาเนื้อหา และความสำคัญของเรื่องราวเดิมไว้ครบถ้วน การตีความ (Interpretation) เป็นการเอาความหมายเดิมมาบันทึกใหม่ เรียบ เรียงใหม่หรือมองเรื่องราวใหม่ หรือมองเรื่องเดิมในแง่ใหม่ การขยายความ (Extrapolation) เป็นการขยายความคิดให้กว้างขวางลึกซึ้งขึ้น สามารถประเมินค่า คาดคะเน เป็นการวัดความเข้าใจในเจตนาการสร้างสรรค์ ต่างๆ คำถาม ? การอ่านในระดับใดที่ต้องใช้ความสามารถในการจับใจความ การวิเคราะห์ การ ตีความ การวิจารณ์ และการประเมินค่า

การจับใจความ คือการจับประเด็นให้ได้ว่าผู้เขียนต้องการเสนอ สาระสำคัญใด ผู้อ่านต้องวินิจให้ได้ว่า ส่วนใดเป็น “พล ความ” ส่วนใดคือ “ใจความสำคัญ” การวิเคราะห์ คือการอ่านอย่างละเอียดเพื่อแยกแยะรายละเอียด องค์ประกอบ รูปแบบ หรือกลวิธีต่างๆของงานเขียน

กระบวนการอ่านอย่างวิเคราะห์ การวิเคราะห์รูปแบบของข้อเขียน การวิเคราะห์คำและประโยค การวิเคราะห์ทัศนะของผู้แต่ง การอ่านวิเคราะห์ความหมายของถ้อยคำและรส ของวรรณกรรม เช่นรสความ รสคำ รสภาพ รส ทางอารมณ์

การตีความ หลักสำคัญในการตีความ คือการค้นหาความหมายของสารที่ซ่อนอยู่ ต้องใช้มโนทัศน์และ ประสบการณ์ของผู้อ่านมาประกอบ หลักสำคัญในการตีความ 1.การอ่านตีความต้องตีตามรูปแบบและประเพณีในการเขียน 2.ทราบภูมิหลังของเหตุการณ์ 3.การอ่านอย่างละเอียด 4.อ่านแล้วสามารถบอกความคิดแทรกที่เกิดขึ้นได้ 5.อ่านแล้วเกิดความคิดเสริม 6.การถ่ายทอด

การวิจารณ์และการประเมินค่า การวิจารณ์วรรณกรรม หมายถึง การพิจารณา วรรณกรรมเพื่อหาข้อดีข้อด้อย เพื่อนำมาเสนอแนะ หรือประเมินค่าให้ผู้อื่นทราบว่าหนังสือนี้มีคุณค่าน่า อ่านหรือไม่เพียงใด โดยใช้หลักการอ่านอย่างวิเคราะห์ วินิจสารให้ถี่ถ้วนเสียก่อน

ความสำคัญของการวิจารณ์ ความสำคัญต่อตัวผู้วิจารณ์ ความสำคัญต่อตัวผู้เขียน ความสำคัญต่อวรรณกรรม

ความสำคัญต่อตัวผู้วิจารณ์ นักวิจารณ์ถือเป็น “บุคคลที่สาม” ที่จะเชื่อมโยง ระหว่างผู้สร้างและผู้อ่าน ผู้อ่านได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ เป็นการเปิด พรมแดนทางความคิด ช่วยให้ผู้อ่านตัดสินใจเลือกหนังอ่านได้สะดวก ยิ่งขึ้น

ความสำคัญต่อตัวผู้เขียน ช่วยให้นักเขียนได้เห็นจุดเด่นจุดด้อยและ สามารถพัฒนางานของตนได้ งานวิจารณ์ที่ดีจะช่วยเพิ่มพูนประสบการณ์ทาง วรรณกรรมให้นักเขียนได้อย่างกว้างขวาง

ความสำคัญต่อวรรณกรรม ช่วยกระตุ้นบรรยากาศการสร้างสรรค์ วรรณกรรมให้มีความตื่นตัวทั้งในส่วนของผู้อ่าน และผู้เขียน ช่วยสืบทอดและเผยแพร่ผลงานวรรณกรรม การ วิจารณ์ช่วยนำวรรณกรรมในอดีตมาสู่ผู้อ่าน

แนวนิยมในการวิจารณ์วรรณกรรม การวิจารณ์ตามแนวประวัติ การวิจารณ์ตามแนวสุนทรียภาพ การวิจารณ์ตามแนวโครงสร้างนิยม การวิจารณ์ตามแนวมาร์กซิสต์ การวิจารณ์ตามแนวสังคมวิทยา การวิจารณ์ตามแนวคิดและทฤษฎีใหม่ การวิจารณ์ตามแนวสุนทรียศาสตร์

การวิจารณ์ตามแนวประวัติ คือการมุ่งสืบค้นปัญหาเกี่ยวกับผู้แต่งและ สมัยที่แต่ง โดยผู้วิจารณ์จะหาหลักฐานต่างๆมา สนับสนุนข้อสันนิษฐาน เช่นลักษณะการแต่ง ท่วงทำนอง รวมทั้งความรู้ทางประวัติศาสตร์อื่นๆ

การวิจารณ์ตามแนวสุนทรียภาพ เป็นการพิจารณาศิลปะการประพันธ์และ คุณค่าเชิงวรรณศิลป์ เช่นความไพเราะของคำ เสียง ความหมาย สำนวนโวหาร และความถูก ต้องตามรูปแบบฉันทลักษณ์

การวิจารณ์ตามแนวโครงสร้างนิยม เป็นการวิจารณ์วรรณกรรมร่วมสมัยที่ มุ่งเน้นวิเคราะห์องค์ประกอบภายในของ วรรณกรรม ได้แก่ โครงเรื่อง ตัวละคร กลวิธี ในการดำเนินเรื่อง และคุณค่าสาระของเรื่อง

การวิจารณ์ตามแนวมาร์กซิสต์ นิยมวิเคราะห์เนื้อหาและรูปแบบของ วรรณกรรม เพ่งเล็งที่คุณค่าการรับใช้สังคมและ ความเป็นวรรณกรรมของประชาชน นอกจากนี้ การวิจารณ์แนวนี้มักโจมตีวรรณกรรมประเภท “น้ำเน่า”

การวิจารณ์ตามแนวสังคมวิทยา ศึกษาภาพสะท้อนสังคมที่ปรากฏใน วรรณกรรม โดยยึดหลักว่า วรรณกรรมคือกระจก เงาสะท้อนภาพสังคมในด้านต่างๆ โดยผู้วิจารณ์ จะพิจารณาเนื้อหา โครงเรื่อง การบรรยายฉาก สถานที่ การตีความ ตลอดจนโลกทัศน์ของ นักเขียนและอิทธิพลของสังคมที่มีต่อการกำหนด แนวทางของวรรณกรรม

การวิจารณ์ตามแนวคิดและทฤษฎีใหม่ เป็นการวิจารณ์โดยนำแนวคิดใหม่ๆมาศึกษา วรรณกรรม เช่นการวิจารณ์ตามแนวจิตวิเคราะห์ โดยการนำเอาทฤษฎีจิตวิทยาของฟรอยด์มาใช้ วิจารณ์วรรณคดีไทย โดยการนำบุคลิกภาพและ พฤติกรรมของตัวละครมาศึกษา

การวิจารณ์ตามแนวสุนทรียศาสตร์ ศึกษาคุณค่าทางด้านศิลปะและแสดงให้เห็น รายละเอียดขององค์ประกอบต่างๆที่ทำให้เกิดคุณค่า นั้น มุ่งสุนทรียภาพทางด้านภาษา วิเคราะห์ ความหมายของถ้อยคำ จินตนาการ โวหาร ความ เปรียบ รวมไปถึงสัญลักษณ์และแก่นเรื่อง

ขั้นตอนการวิจารณ์ การสรุปแนวคิดและสาระของเรื่อง การวิเคราะห์กลวิธีการแต่ง ศิลปะการใช้ภาษา ศิลปะการสร้างเรื่อง การประเมินค่า

การวางเค้าโครงเรื่องในการวิจารณ์ การเกริ่นนำ การวิเคราะห์และการตีความงานเขียน การวิเคราะห์ การตีความ การแสดงทัศนะเชิงวิพากษ์ ลักษณะแรก ลักษณะที่สอง การลงท้าย

สรุป การจับใจความ การวิเคราะห์ การตีความ การ วิจารณ์ และการประเมินค่า เป็นการอ่านที่มุ่งหมาย เพื่อให้ได้สาระ ประโยชน์จากการอ่านทุกซอกทุกมุม การวิเคราะห์เป็นการแยกแยะส่วนประกอบ โครงสร้าง สำนวนภาษา ฯลฯ เพื่อวิเคราะห์คำ ประโยค รูปแบบ ทัศนะของผู้แต่ง รสของงาน การวินิจสารเป็นการอ่านที่ต่อเนื่องจากการ วิเคราะห์ เพื่อจับประเด็นสำคัญที่สุดของข้อเขียนนั้น

สรุป (ต่อ) การวิจารณ์เป็นการประเมินค่างานที่อ่านหลังจาก หาข้อดีข้อด้อยจากการวิเคราะห์และการวินิจสารแล้ว แนวการวิจารณ์ได้แก่ แนวประวัติ แนวสุนทรียศาสตร์ แนวโครงสร้าง เป็นต้น ขั้นตอนการวิจารณ์เริ่มด้วยการสรุปสาระของ เรื่อง การวิเคราะห์กลวิธีการแต่ง และลงท้ายด้วยการ ประเมินค่าสารที่อ่าน