หลักการวัดและการประเมินผล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ศึกษาพฤติกรรมการเรียนรายวิชาพิมพ์ดีดอังกฤษ 1 ของนักเรียน
Advertisements

การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
การเขียนโครงร่างวิจัย
ชื่อผู้สอน : นางฐิติมา พิริยะ
วัตถุประสงค์การจัด นิทรรศการ พุทธพิสัย ความรู้ ความจำ ความเข้าใจ วิเคราะห์ สังเคราะห์และประเมินคุณค่า เจตพิสัย ความรู้สึก ความสนใจ อารมณ์ ทัศนคติ ค่านิยม.
ผู้วิจัย : นางสาวสุรีรัตน์ ขันคำ
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
แนวทางการสอน เพื่อพัฒนาทักษะเด็กตามรูปแบบการสอน
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ผู้วิจัย : นางธนิตา ขาวทอง วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยา สงขลา
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
การวัด Measurement.
วิธีการและเทคนิค การตรวจสอบ และการรายงาน ผลการตรวจสอบ ( Auditing )
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
“ การพัฒนาระบบการวัดและ ประเมินผล เพื่อ พัฒนาคุณภาพการศึกษา ” การอบรมเชิงปฏิบัติการ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
แนวทาง การวัดและประเมินผล “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
สรุปผลการอบรม หลักสูตรการพัฒนาการ จัดการเรียนการสอน ด้านการวัดและ ประเมินผล จารุนันท์ สมบูรณ์สิทธิ์
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
1 ตัวชี้วัดที่ 10 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา สมรรถนะของบุคลากร ตัวชี้วัดที่ 12 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา ปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ หน่วยงานกำกับ : กองการเจ้าหน้าที่
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
การแพร่กระจายนวัตกรรม Diffusion of Innovation
การปกครองคณะสงฆ์ไทย Thai Sangha Administration
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
ทำการวิจัยโดย นางรุ่งนภา ทินช่วย
ชื่อผู้วิจัย นางสาวศุวรีย์ จำปามูล
หลักการวิทยุกระจายเสียงและ วิทยุโทรทัศน์
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
การวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
ฝึกวิเคราะห์ย่อหน้า 1 การศึกษาทำให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ทั้งยังช่วยพัฒนาทางด้านความคิด สติปัญญา และสังคม ทั้งนี้การศึกษายังมีความสำคัญต่อการเป็นอยู่ เพราะรากฐานของความมั่นคงมาจากการได้รับการศึกษา.
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
วิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท ๓๓๑๐๒ สาระการเรียนรู้ พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ จำนวน ๑ หน่วยกิต Dr. Bualak Petchngam.
การหาคุณภาพของแบบทดสอบ
นางสาวปัณยตา หมื่นศรี
นางนพรัตน์ สุวรรณโณ วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยาสงขลา
นางสาวสุภาวดี นุกุลเสาวลักษณ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ 2559
การนำเสนอผลงานการวิจัย
สัมมนาเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน
เรียนอย่างไรให้ประสบความสำเร็จ
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
ความหมาย ความสำคัญ และจุดมุ่งหมายของการศึกษา
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
วัสดุและเทคนิค ทางการออกแบบ อ.สุวิธธ์ สาดสังข์ ( Material and
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
แนวคิดทฤษฎี ที่เกี่ยวกับการประเมินภาคปฏิบัติ
การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย
BASIC STATISTICS MEAN / MODE / MEDIAN / SD / CV.
การวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
ISC1102 พื้นฐานทางระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
เอกสาร/หลักฐาน/ ร่องรอย เพื่อ จัดเก็บใน 13 แฟ้ม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หลักการวัดและการประเมินผล โครงการการจัดการความรู้เพื่อการพัฒนานิสิตและบุคลากร เรื่อง "การพิจารณาการตัดเกรดและวิธีการตัดเกรด" หลักการวัดและการประเมินผล สุณี รักษาเกียรติศักดิ์ sunee@g.swu.ac.th 28 มีนาคม 2560 โครงการการจัดการความรู้เพื่อการพัฒนานิสิตและบุคลากร เรื่อง "การพิจารณาการตัดเกรดและวิธีการตัดเกรด"

มคอ 3 หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ จุดมุ่งหมายของรายวิชา วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา (วัตถุประสงค์ของรายวิชา?) หมวดที่ 4 การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนิสิต (1) สิ่งที่ต้องพัฒนา 2) วิธีการสอน 3) วิธีการประเมินผล) 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล 1. แผนการสอน 2. แผนการประเมินผลการเรียนรู้ โครงการการจัดการความรู้เพื่อการพัฒนานิสิตและบุคลากร" เรื่อง "การพิจารณาการตัดเกรดและวิธีการตัดเกรด"

รูปแบบการประเมินผลการเรียนรู้ การสอบ สอบกลางภาค (midterm) สอบปลายภาค (final) สอบย่อย (quizzes) โครงงาน / รายงาน การเข้าชั้นเรียน/การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน การบ้าน/แบบฝึกหัด/งานที่มอบหมาย อื่น ๆ โครงการการจัดการความรู้เพื่อการพัฒนานิสิตและบุคลากร" เรื่อง "การพิจารณาการตัดเกรดและวิธีการตัดเกรด"

การวัดและการประเมินผล Measurement การวัด (ผลเป็นตัวเลข หรือ คะแนน) Assessment กระบวนการรวบรวมข้อมูลเพื่อใช้ในการประเมินผล Evaluation การตัดสินคุณค่า (Assessment + Judgement) เช่น การตัดเกรด Formative Evaluation การประเมินผู้เรียนระหว่างการเรียนการสอน เพื่อวัดความก้าวหน้าและช่วยพัฒนาการเรียนรู้ (ให้ feedback) Summative Evaluation การประเมินผู้เรียนเมื่อสิ้นสุดการเรียนการ สอนเพื่อตัดสินคุณภาพว่าอยู่ระดับใด ? รูปแบบการประเมินผลการเรียนรู้ในแต่ละแบบ เป็น Formative/Summative? โครงการการจัดการความรู้เพื่อการพัฒนานิสิตและบุคลากร" เรื่อง "การพิจารณาการตัดเกรดและวิธีการตัดเกรด"

การประเมินผลตามพฤติกรรมการเรียนรู้ ด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain) วัดพฤติกรรมเกี่ยวกับสติปัญญา การรู้คิด 6 ระดับ: 1) ความรู้ความจำ 2) ความเข้าใจ 3) การนำไปใช้ 4) การวิเคราะห์ 5) การสังเคราะห์ 6) การประเมินค่า เช่น การสอบโดยใช้ข้อสอบ (กลางภาค ปลายภาค) ด้านจิตพิสัย (Affective Domain) วัดพฤติกรรมทางด้านจิตใจ เกี่ยวกับค่านิยม ทัศนคติ ความเชื่อที่ดี ความสนใจ และ คุณธรรมจริยธรรม เช่น การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน ทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) วัดพฤติกรรมการเรียนรู้ที่บอกถึงความสามารถในการปฏิบัติงานได้อย่างคล่องแคล่ว ชำนาญ พฤติกรรมด้านนี้จะเห็นได้จากของการปฏิบัติที่แสดงออกมาให้เห็น เช่น ปฏิบัติการในห้อง LAB? โครงการการจัดการความรู้เพื่อการพัฒนานิสิตและบุคลากร" เรื่อง "การพิจารณาการตัดเกรดและวิธีการตัดเกรด"

การวัดด้านพุทธิพิสัย วัดให้ครอบคลุมตามวัตถุประสงค์/แผนการสอน ผังการสร้างข้อสอบ (Test specification) ตาราง 2 มิติ หัวข้อเนื้อหา (Content) และ ระดับการวัด (6 ระดับของ Bloom’s Taxonomy) ความตรงตามเนื้อหา (Content Validity) มีความเที่ยง/ความเชื่อมั่น (Reliability) ความแปรปรวนของคะแนนสูง -> ความเที่ยงสูง ข้อคำถามมาก -> ความเที่ยงสูง ข้อคำถามยากปานกลาง -> ความเที่ยงสูง การวิเคราะห์ข้อสอบเพื่อตรวจสอบความเที่ยง ข้อคำถามรายข้อ: ค่าความยาก (P) ค่าอำนาจจำแนก (R) ข้อสอบทั้งฉบับ: ค่า Cronbach’s Alpha (KR 20 เป็น special case) โครงการการจัดการความรู้เพื่อการพัฒนานิสิตและบุคลากร" เรื่อง "การพิจารณาการตัดเกรดและวิธีการตัดเกรด"

การประเมิน - การตัดเกรด การรวบรวมผลจากการวัดในหลาย ๆ ครั้งมารวมกันเป็นคะแนนรวม มักทำ เป็นคะแนนรวม 100 โดยการวัดแต่ละครั้งจะมีการกำหนดน้ำหนัก เช่น สอบกลางภาค 30%, สอบปลายภาค 30%, สอบย่อย 10%, การบ้าน 10%, โครงงาน/รายงาน 10%, การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน 10% นำคะแนนรวมมาแปลความหมายเป็นเกรด (ตัดเกรด) เช่น เกรด 8 ระดับ ของ มศว A, B+, B, C+, C, D+, D, E เกณฑ์การพิจารณาตัดเกรด (http://syllabus.swu.ac.th) อิงเกณฑ์ อิงกลุ่ม อิงเกณฑ์และอิงกลุ่ม? อิงกลุ่มและอิงเกณฑ์? โครงการการจัดการความรู้เพื่อการพัฒนานิสิตและบุคลากร" เรื่อง "การพิจารณาการตัดเกรดและวิธีการตัดเกรด"

ความหมายระดับขั้นของเกรด มศว (http://edservice. oop. swu. ac ความหมายระดับขั้นของเกรด มศว (http://edservice.oop.swu.ac.th/Portals/26/Documents/A%2058/3.pdf) ระดับขั้น ความหมาย ค่าระดับขั้น A ดีเยี่ยม (Excellent) 4.0 B+ ดีมาก(Very Good) 3.5 B ดี(Good) 3.0 C+ ดีพอใช้(Fairly Good) 2.5 C พอใช้(Fair) 2.0 D+ อ่อน (Poor) 1.5 D อ่อนมาก (Very Poor) 1.0 E ตก(Fail) 0.0 โครงการการจัดการความรู้เพื่อการพัฒนานิสิตและบุคลากร" เรื่อง "การพิจารณาการตัดเกรดและวิธีการตัดเกรด"

การตัดเกรดแบบอิงเกณฑ์ (Criterion-referenced) แปลความหมายของคะแนนรวมเทียบกับเกณฑ์ที่กำหนด ไว้ล่วงหน้า จะบอกถึงความสามารถของบุคคลเมื่อเทียบกับ เกณฑ์ที่กำหนด มักจะใช้คะแนนดิบมาเปลี่ยนเป็นร้อยละของคะแนนเต็ม แล้วให้เป็นสัญญลักษณ์ วิธีนี้เหมาะกับแบบทดสอบแบบอิงเกณฑ์ที่ครอบคลุมทุก เนื้อหาที่สำคัญตามวัตถุประสงค์การศึกษา เกณฑ์ที่ใช้กันเป็นส่วนมาก (http://syllabus.swu.ac.th) คือ A: >= 80, B+: >= 75, B: >=70, C+: >= 65, C: >= 60, D+: >= 55, D: >= 50, E: < 50 โครงการการจัดการความรู้เพื่อการพัฒนานิสิตและบุคลากร" เรื่อง "การพิจารณาการตัดเกรดและวิธีการตัดเกรด"

การตัดเกรดแบบอิงกลุ่ม (Norm Referenced) แปลความหมายของคะแนนรวมโดยเปรียบเทียบ ความสามารถกันในกลุ่มที่ใช้แบบทดสอบเดียวกัน ซึ่ง อาจจะบอกได้ยากว่าผู้เรียนมีความสามารถในวิชานั้น ใน ระดับใด คงบอกได้แต่ความสามารถที่เทียบกับกลุ่ม เหมาะกับกลุ่มผู้เรียนขนาดใหญ่ ซึ่งมีการกระจายของ คะแนนมาก ซึ่งโดยปกติแล้วคะแนนจะมีการแจกแจงแบบ ปกติ (Normal distribution) ซึ่งพื้นที่ใต้โค้งจะเป็นดังนี้ โครงการการจัดการความรู้เพื่อการพัฒนานิสิตและบุคลากร" เรื่อง "การพิจารณาการตัดเกรดและวิธีการตัดเกรด"

Normal Distribution โครงการการจัดการความรู้เพื่อการพัฒนานิสิตและบุคลากร" เรื่อง "การพิจารณาการตัดเกรดและวิธีการตัดเกรด"

Normal distribution 8 เกรด ระดับขั้น คะแนน Z คะแนน T % A >= 1.5 65 6.7 B+ >= 1.0 60 9.2 B >= 0.5 55 15.0 C+ >= 0.0 50 19.1 C >= -0.5 45 19.1 D+ >= -1.0 40 15.0 D >= -1.5 35 9.2 E < - 1.5 30 6.7 Z = (X – Xbar)/SD, T = 50 + 10 Z โครงการการจัดการความรู้เพื่อการพัฒนานิสิตและบุคลากร" เรื่อง "การพิจารณาการตัดเกรดและวิธีการตัดเกรด"

Any distributions 8 เกรด ช่วงคะแนนเท่า (Max – Min)/8 เช่น Max=90 Min=34 ช่วงเกรด = (90 – 34)/8 = 7 A: >= 83, B+: >= 76, B: >= 69, C+: >= 62, C: >= 55, D+: >= 48, D: >= 41, E: < 41 ไม่ได้เอาการกระจายของข้อมูลมาคิด โครงการการจัดการความรู้เพื่อการพัฒนานิสิตและบุคลากร" เรื่อง "การพิจารณาการตัดเกรดและวิธีการตัดเกรด"

วิธีของ Dewey B Stuit นิยมใช้ทางการแพทย์ เพราะเป็นการอิงเกณฑ์ร่วมกับอิงกลุ่ม ใช้กับ นักศึกษากลุ่มเล็กได้ และการกระจายของคะแนนไม่ต้องแปลงให้ เป็นการแจกแจงแบบโค้งปกติก่อน ใช้คะแนนดิบได้โดยตรง เหมาะ สาหรับการให้คะแนนตามความสามารถของกลุ่ม จึงเป็นประโยชน์ มากถ้าอาจารย์สอนนักศึกษาหลายกลุ่มและแต่ละกลุ่มมี ความสามารถต่างกัน (วัลลี สัตยาศัย) ใช้ Median เป็นค่ากลางแทน Mean เพราะแทนค่ากลางได้ดีกว่า โครงการการจัดการความรู้เพื่อการพัฒนานิสิตและบุคลากร" เรื่อง "การพิจารณาการตัดเกรดและวิธีการตัดเกรด"

Dewey B Stuit 8 เกรด A: >= Median + 1.5*SD = 60 + 1.5*15 = 82.5 ดังนั้น A: >= 82.5, B+: >= 75, B: >= 67, C+: >= 60, C: >= 52.5, D+: >= 45, D: >= 37.5, E: < 37.5 โครงการการจัดการความรู้เพื่อการพัฒนานิสิตและบุคลากร" เรื่อง "การพิจารณาการตัดเกรดและวิธีการตัดเกรด"

คะแนนทีใช้ประโยชน์อย่างไร คะแนนที (T) เป็นคะแนนมาตรฐาน (Z) ที่มี Mean เป็น 50, SD เป็น 10 Z = (X – Xbar)/SD, T = 50 + 10*Z ถ้าคะแนนรวมที่ใช้ตัดเกรดมาจากการวัดหรือข้อสอบต่างกัน เช่น การสอบตรง เข้า มศว นักเรียนต้องสอบหลายวิชา และมีการกำหนดน้ำหนักของแต่ละวิชา ไว้ แต่เนื่องด้วยแต่ละวิชามีความยากง่ายไม่เท่ากัน จึงควรแปลงคะแนนดิบให้ เป็นคะแนนทีก่อน แล้วจึงมาถ่วงน้ำหนักเป็นคะแนนรวม กรณีของการวัดเรื่องเดียวกัน แต่ผู้ให้คะแนนเป็นคนละคน เช่น การสอนหลาย ตอนเรียน จะมีส่วนของการตรวจโครงงานที่ผู้สอนแต่ละคนมีความเข้มงวด ต่างกัน เพื่อให้เกิดความเท่าเทียมกัน อาจจะปรับเป็นคะแนนที แล้วค่อยเทียบ เป็นคะแนนดิบเพื่อไปรวมกับคะแนนส่วนอื่นต่อไป โครงการการจัดการความรู้เพื่อการพัฒนานิสิตและบุคลากร" เรื่อง "การพิจารณาการตัดเกรดและวิธีการตัดเกรด"

คะแนนสอบมีปัญหา อาจจะมาจากหลายสาเหตุ ผู้เรียน ผู้สอน วิธีการสอน ข้อสอบ ควรพิจารณาด้วยความยืดหยุ่น คิดถึงประโยชน์สูงสุดของ ผู้เรียนด้วยเมตตาธรรม และหาแนวทางการพัฒนาเพื่อลด ปัญหาดังกล่าว โครงการการจัดการความรู้เพื่อการพัฒนานิสิตและบุคลากร" เรื่อง "การพิจารณาการตัดเกรดและวิธีการตัดเกรด"

แหล่งเรียนรู้เพิ่มเติม 1. OnlineTesting (ATutor) โดย สุณี รักษาเกียรติศักดิ์ at https://opencourse.swu.ac.th/bounce.php?course=92 ตัวอย่างการวิเคราะห์ข้อสอบ https://elearning.swu.ac.th/bounce.php?course=2990 2. การประเมินผลและการวัดผล โดย รศ.พญ.วัลลี สัตยาศัย 3. การตัดเกรด โดย รศ.พญ.วัลลี สัตยาศัย 4. การประเมินผลตามพฤติกรรมการเรียนรู้ โดย ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต 5. การสร้างตารางวิเคราะห์หลักสูตรรายวิชา โดย ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต 6. การตัดเกรด โดย ผศ.ดร.กรองได อุณหสูต 7. การประเมินเพื่อการเรียนรู้ โดย ดร.พิกุล เอกวรางกูร http://eduserv.ku.ac.th/album/im ages/56exam/Ex1.pdf โครงการการจัดการความรู้เพื่อการพัฒนานิสิตและบุคลากร" เรื่อง "การพิจารณาการตัดเกรดและวิธีการตัดเกรด"