การปฏิรูปการศึกษาเพื่อพัฒนาคนอย่างยั่งยืน พ.ศ.2558-2569
ขอบเขตการนำเสนอ ความจำเป็นของการปฏิรูป การดำเนินงานจัดทำข้อเสนอและ Road map การปฏิรูปการศึกษาระยะต้น พ.ศ.2558 การปฏิรูปการศึกษา พ.ศ.2559-2569 กลไกการขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษา
ความจำเป็นของการปฏิรูป ลงทุนทางการศึกษาสูง ผลตอบแทนการลงทุนต่ำ : คุณภาพผู้เรียน มีความเหลื่อมล้ำในโอกาสการเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพ การบริหารไม่ยึดหลักธรรมาภิบาล : โปร่งใส รับผิดชอบ การกระจายอำนาจ/การมีส่วนร่วมยังไม่น่าพอใจ
ผลการประเมิน TIMSS ปี 2011 ของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2
ผลการประเมิน PISA ปี 2012 ของนักเรียนอายุ 15 ปี
การจัดอันดับความสามารถในการแข่งขันด้านการศึกษาของไทยในเวทีโลก (Global Competitiveness Report ๒๐๑๔-๒๐๑๕ จาก World Economic Forum: WEF)
1. ด้านความต้องการพื้นฐาน (Basic requirement) องค์ประกอบที่ 4 สุขภาพและการศึกษาระดับ ประถมศึกษา (Health and primary education) ดัชนีที่ 4.2 การศึกษาระดับประถมศึกษา (Primary education) ตัวแปรที่ 4.2.1 คุณภาพการศึกษาระดับประถมศึกษา (Quality of primary education) ตัวแปรที่ 4.2.2 อัตราการเข้าเรียนในระดับประถมศึกษา (Primary education enrollment rate)
2. ด้านการส่งเสริมประสิทธิภาพ (Efficiency enhancers) องค์ประกอบที่ 5 การศึกษาขั้นสูงและฝึกอบรม (Higher education and training) ดัชนีที่ 5.1 ปริมาณของการศึกษา (Quantity of education) ตัวแปรที่ 5.1.1 อัตราการเข้าเรียนในระดับ มัธยมศึกษา (Secondary education enrollment rate) ตัวแปรที่ 5.1.2 อัตราการเข้าเรียนใน ระดับอุดมศึกษา (Tertiary education enrollment rate)
2. ด้านการส่งเสริมประสิทธิภาพ (Efficiency enhancers) ดัชนีที่ 5.2 คุณภาพการศึกษา (Quality of education) ตัวแปรที่ 5.2.1 คุณภาพของระบบการศึกษา (Quality of the educational system) ตัวแปรที่ 5.2.2 คุณภาพของการศึกษาทางด้าน คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ (Quality of math and science education) ตัวแปรที่ 5.2.3 คุณภาพในการบริหารจัดการ สถานศึกษา (Quality of management schools) ตัวแปรที่ 5.2.4 การเข้าถึงอินเตอร์เน็ตใน สถานศึกษา (Internet access in school)
2. ด้านการส่งเสริมประสิทธิภาพ (Efficiency enhancers) ดัชนีที่ 5.3 การฝึกอบรมในงานที่ปฏิบัติ (On-the- job training) ตัวแปรที่ 5.3.1 การทำวิจัยและการให้การอบรม สำหรับท้องถิ่น (Local availability of specialized research and training service) ตัวแปรที่ 5.3.2 ขอบเขตเนื้อหาในการฝึกอบรม (Extent of staff training)
ผลการประเมินความสามารถในการแข่งขันที่เกี่ยวข้องกับ สพฐ. องค์ประกอบที่ 4 สุขภาพและการศึกษาระดับประถมศึกษา (Health and primary education) ดัชนีที่ 2 องค์ประกอบที่ 5 การศึกษาขั้นสูงและฝึกอบรม (Higher education and training) ดัชนีที่ 5.1 ตัวแปรที่ 1 และ ดัชนีที่ 5.2
กัมพูชา ลาว พม่า เวียดนาม ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย ไทย มาเลเซีย สิงคโปร์
ผลการจัดอันดับความสามารถในการแข่งขันในภาพรวมของประเทศต่าง ๆในอาเซียน ลำดับ ที่ ประเทศ ลำดับที่ของโลก ลำดับที่ ปี ๒๐๑๔-๒๐๑๕ ปี ๒๐๑๓-๒๐๑๔ ๑ สิงคโปร์ ๒ ๖ กัมพูชา ๖๖ ๖๙ มาเลเซีย ๒๐ ๒๔ ๗ เวียดนาม ๖๘ ๗๐ ๓ ไทย ๓๑ ๓๗ ๘ ลาว ๙๓ ๘๑ ๔ อินโดนีเซีย ๓๔ ๓๘ ๙ พม่า ๑๓๔ ๑๓๙ ๕ ฟิลิปปินส์ ๕๒ ๕๙ ๑๐ บรูไน* - ๒๖
ประเทศ ด้านความต้องการพื้นฐาน ด้านการส่งเสริมประสิทธิภาพ ด้านนวัตกรรมและความเชี่ยวชาญ คะแนน RA* RW** ไทย ๕.๐๑ ๓ ๔๐ ๔.๕๓ ๓๙ ๓.๘๔ ๕ ๕๔ สิงคโปร์ ๖.๓๔ ๑ ๕.๖๘ ๒ ๕.๑๓ ๑๑ มาเลเซีย ๕.๕๓ ๒๓ ๔.๙๕ ๒๔ ๑๗ อินโดนีเซีย ๔.๙๑ ๔ ๔๖ ๔.๓๘ ๔.๒๐ ๓๐ ฟิลิปปินส์ ๔.๖๓ ๖๖ ๔.๒๗ ๕๘ ๓.๙๐ ๔๘ ลาว ๔.๑๓ ๘ ๙๘ ๓.๕๘ ๑๐๗ ๓.๕๑ ๗ ๘๐ เวียดนาม ๔.๔๔ ๖ ๗๙ ๓.๙๙ ๗๔ ๓.๓๕ กัมพูชา ๔.๔๕ ๗๘ ๔.๑๗ ๖๓ ๓.๖๕ ๖๔ พม่า ๓.๓๖ ๙ ๑๓๒ ๓.๑๑ ๑๓๔ ๒.๖๒ ๑๓๙
1 7 8 9 ประเทศ องค์ประกอบที่ 4 องค์ประกอบที่ 5 ดัชนีที่ 4.2 ประเทศ องค์ประกอบที่ 4 องค์ประกอบที่ 5 ดัชนีที่ 4.2 ดัชนีที่ 5.1 ดัชนีที่ 5.2 ตัวแปร 4.2.1* ตัวแปร 4.2.2* ตัวแปร 5.1.1* ตัวแปร 5.2.1* ตัวแปร 5.2.2* ตัวแปร 5.2.3* ตัวแปร 5.2.4* คะแนน RA** RW** % ไทย 3.6 6 90 95.6 5 58 87.0 2 79 3.4 87 3.9 81 4.1 4.6 61 สิงคโปร์ 6.0 1 3 100 107.1 16 5.8 4 6.3 6.4 มาเลเซีย 5.3 17 95.5 60 67.2 108 10 5.2 5.1 25 5.4 34 อินโดนีเซีย 4.4 48 92.2 7 85 82.5 92 4.5 32 36 49 4.9 ฟิลิปปินส์ 4.2 88.2 8 105 84.6 89 29 70 4.7 40 4.3 66 ลาว 3.7 84 95.9 56 46.5 124 3.8 83 88 เวียดนาม 3.5 91 98.1 75.2 98 3.3 94 82 119 5.0 47 กัมพูชา 2.9 113 98.4 24 45.0 9 125 3.2 101 111 123 พม่า 2.2 137 86.4 50.2 122 2.7 129 2.6 139 2.1
4.2.1 คุณภาพการศึกษาระดับประถมศึกษา (Quality of primary education) 4.2.2 อัตราการเข้าเรียนในระดับประถมศึกษา (Primary education enrollment rate) 5.1.1 อัตราการเข้าเรียนในระดับมัธยมศึกษา (Secondary education enrollment rate) 5.2.1 คุณภาพของระบบการศึกษา (Quality of the educational system) 5.2.2 คุณภาพของการศึกษาทางด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ (Quality of math and science education) 5.2.3 คุณภาพในการบริหารจัดการสถานศึกษา (Quality of management schools) 5.2.4 การเข้าถึงอินเตอร์เน็ตในสถานศึกษา (Internet access in school) RA คือ ลำดับที่ของอาเซียน (มีทั้งหมด 9 ประเทศ) RW คือ ลำดับที่ของโลก (มีทั้งหมด 144 ประเทศ)
สภาพสังคม ไร้พรมแดน สากลมากขึ้น ครอบครัวเดี่ยว สังคมคนชรา งานบริการมาก ขึ้น ทำงานที่บ้าน
สภาพเศรษฐกิจ รวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ การค้าเสรีมากขึ้น อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ เติบโตเร็วมาก พลังงานธรรมชาติถูกคิดค้น แทนพลังงานน้ำมัน ส่งเสริมการผลิต
สภาพการเมือง ประชาชนมีส่วนร่วมมากขึ้น กระแสประชาธิปไตยรุนแรง การต่อสู่เพื่อสิทธิมนุษยชนมี มากขึ้น การเมืองจะเป็นตัวนำทุกเรื่อง การตรวจสอบถ่วงดุลอำนาจ การเมืองเข้มแข็งขึ้น
เป้าประสงค์การพัฒนาแห่งสหัสวรรษ (Millennium Development Goals) การขจัดความยากจนและความหิวโหย การพัฒนาการศึกษาระดับ ประถมศึกษา การส่งเสริมความเท่าเทียมกันทางเพศ การลดอัตราการตายของเด็ก การพัฒนาสุขภาพของแม่ การป้องกันโรคเอดส์ มาลาเรียและ โรคติดต่ออื่นๆ การรักษาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน การส่งเสริมความเป็นหุ้นส่วนการ พัฒนาในโลก
การศึกษาเพื่อปวงชน (Education for All) ขยายและดูแลการศึกษา ดูแล เด็กเล็กก่อนวัยเรียน จัดการศึกษาภาคบังคับแก่เด็ก ทุกคน จัดการเรียนรู้แก่เยาวชนและ ผู้ใหญ่ตลอดชีวิต พัฒนาอัตราการรู้หนังสือ ขจัดความเหลื่อมล้ำทางเพศ พัฒนาคุณภาพการศึกษาในทุก เรื่อง
ก้าวสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ASEAN Political and Security Community : APSC ASEAN Economic Community : AEC ASEAN Socio-Cultural Community : ASCC
ASEAN Economic Community : AEC เป็นตลาดและฐานการผลิต ร่วมกัน สร้างขีดความสามารถทาง เศรษฐกิจ สร้างความเท่าเทียมกันในการ พัฒนาเศรษฐกิจ บูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก “ Knowledge-Based Economy “
การเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ ๒๑ สอนน้อย เรียนมาก ก้าวข้ามสาระวิชา ผู้เรียนบอกว่าอยากเรียนอะไร ร่วมมือ > แข่งขัน เรียนเป็นทีม > เฉพาะคน เรียนโดยลงมือทำ : PBL (Project-Based Learning) ประเมินแนวใหม่ : ไม่เน้นถูก-ผิด, ประเมินทีม, ข้อสอบไม่เป็นความลับ
ครู สอนน้อย เรียนมาก ...เรียน/ฝึก ทักษะ สอนน้อย เรียนมาก ...เรียน/ฝึก ทักษะ จากสอน สู่ ...ฝึก/โค้ช ใน Active Learning จากสอนวิชา...สู่ฝึกทักษะ พัฒนาครบด้าน เรียนทั้งด้านนอก และด้านใน ...รู้จักตัวเอง การสอบ ...เน้นประเมินเพื่อพัฒนา ประเมินตนเอง เอื้อให้ศิษย์สู่ …Mastery Learning / Transformative Learning การทำงานและเรียนรู้ เป็นทีม …PLC
3Rs + 7Cs 21st Century Themes Reading, ‘wRiting, ‘aRithmetics Critical thinking & problem solving Creativity & innovation Collaboration, teamwork & leadership Cross-cultural understanding Communication, information & media literacy Computing & media literacy Career & learning self-reliance change
การดำเนินงาน ตั้งกรรมการ ศึกษาข้อมูล ยกร่าง Roadmap นำเสนอRoadmap
การดำเนินงาน ตั้งคณะกรรมการ คณะกรรมการอำนวยการปฏิรูปการศึกษาเพื่อพัฒนาคนอย่างยั่งยืน กระทรวงศึกษาธิการ คณะทำงานฝ่ายเลขานุการจัดทำ Road map การปฏิรูปการศึกษาเพื่อพัฒนาคนอย่างยั่งยืน
การดำเนินงาน (ต่อ) คณะทำงานศึกษาข้อมูล เอกสาร งานวิจัย Focus Group ผู้ทรงคุณวุฒิจากทุกภาคส่วน Website : www.edreform.moe.go.th Facebook : www.facebook.com/thailand edreform.com Email : edreform.moe.go.th
การดำเนินงาน(ต่อ) ยกร่าง Road map นำเสนอร่าง Road map ที่ประชุมองค์กรหลัก กระทรวงศึกษาธิการ ฝ่ายสังคมจิตวิทยา คสช. เวทีสาธารณะ 19 ก.ค. 2557 สภาการศึกษา 1 ส.ค. 2557 คณะกรรมการอำนวยการปฏิรูป ศธ. 14 ส.ค.2557
วัตถุประสงค์ จัดโครงสร้างที่เอื้อต่อการปฏิรูปการศึกษา ปรับเปลี่ยนระบบบริหารจัดการโดยยึดหลักธรรมาภิบาล ปรับระบบการเรียนการสอน มุ่งเน้นให้ครูให้ความสำคัญต่อการเรียนการสอน พัฒนางานต่อเนื่อง ผูกพันกับสถานศึกษาและชุมชน ปรับปรุง แก้ไขกฎหมาย ระเบียบ กลไกให้เอื้อต่อการปฏิรูป
เป้าหมาย ภายใน พ.ศ.2569 ผู้เรียนทุกคนจบการศึกษาภาคบังคับ ผู้จบประถมศึกษามีอัตราการอ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ เป็น 0 คะแนน O-NET ของผู้จบ ม.3 มากกว่าร้อยละ 50 สัดส่วนผู้เรียนสายอาชีพ : สามัญ เป็น 60 : 40 สัดส่วนการจัดการศึกษาเอกชน : รัฐ เป็น 35 : 65
เป้าหมาย ภายใน พ.ศ.2569 ผู้เรียนมีความรู้ ใฝ่รู้ มีทักษะเท่าทันชีวิตและโลกของงาน เป็นคนดีมีคุณธรรม ผู้จบการศึกษามีคุณภาพระดับสากล ให้หลักประกันการศึกษาที่มีคุณภาพ อย่างน้อย 12 ปีแก่ทุกคน มุ่งให้อิสระควบคู่ความรับผิดชอบและเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
ช่วงเวลาการดำเนินงาน เตรียมการ 2558 2559-2569
การปฏิรูปการศึกษา ปี 2558 ปรับหลักสูตร การเรียนการสอน การวัดและประเมินผล ปรับภาพลักษณ์อาชีวศึกษา : สุภาพชนคนอาชีวะ ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาในระดับอุดมศึกษา ปรับโครงสร้างกระทรวงศึกษาธิการ เน้นการกระจายอำนาจ คัดสรรคนดีและคนเก่งมาเป็นครู/อาจารย์
การปฏิรูปการศึกษา ปี 2558(ต่อ) เสริมสร้างความเข้มแข็งขององค์คณะบุคคลระดับต่างๆ ส่งเสริมการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ปรับระบบเงินอุดหนุนรายหัว พัฒนาแผนแม่บท ICT เพื่อการศึกษา
การปฏิรูปการศึกษา 2559-2569 ครู การเรียนรู้ ผลิต/พัฒนากำลังคน โอกาส การบริหารจัดการ ผลิต/พัฒนากำลังคน ICT
ปฏิรูปครู ปรับระบบบริหารบุคคล : การสรรหา บรรจุ แต่งตั้ง ปรับระบบการผลิตและพัฒนา ปรับเกณฑ์การโยกย้าย จัดทำแผนบริหารจัดการและพัฒนาครู คณาจารย์ บุคลากร ปรับระบบการจูงใจ
ปฏิรูปการเรียนรู้ ส่งเสริมเด็กที่มีความสามารถพิเศษ ส่งเสริมการศึกษาทางเลือก พัฒนาแหล่งเรียนรู้ที่มีชีวิต เพิ่มช่องทางในการเข้าถึงการศึกษาและการเรียนรู้ที่มี มาตรฐาน แก่เด็ก เยาวชน และประชาชน เช่น โทรทัศน์ เพื่อการศึกษา
การเพิ่ม-กระจายโอกาส พัฒนาเครือข่ายสถานศึกษาให้เข้มแข็ง การพัฒนาการศึกษาใน จชต-ชายขอบ-โรงเรียนขนาดเล็ก ปรับระบบกองทุนเพื่อส่งเสริมผู้ด้อยโอกาส เพิ่มช่องทางการมีส่วนร่วม Public Private Partnership : PPP ให้ กสทช. กำหนดช่วงเวลาให้ทุกสื่อจัดรายการเพื่อ การศึกษา ในช่วงที่เหมาะสม
ปฏิรูประบบการบริหารจัดการ เพิ่มอิสระในการบริหาร และสามารถตรวจสอบได้ แก่สถานศึกษา ปรับระบบการบริหารการอาชีวศึกษาให้มีเอกภาพ แก้ปัญหาทุจริต คอรัปชัน สร้างวัฒนธรรมธรรมาภิบาล
ผลิตและพัฒนากำลังคนเพื่อเพิ่มศักยภาพการแข่งขัน ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ขยายผลการจัดหลักสูตรทวิภาคี สหกิจศึกษา WIL จัดหลักสูตรทักษะอาชีพ คู่สามัญในระดับมัธยมศึกษา พัฒนาระบบค่าตอบแทนตามสมรรถนะ ความรู้ ความสามารถ ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนา เพื่อการพัฒนาประเทศ ผลิตและพัฒนาอาจารย์ระดับปริญญาเอก
ปรับระบบการใช้ ICT เพื่อการศึกษา BOI การศึกษา : ยกเว้นภาษี-อากรการ นำเข้าอุปกรณ์ สื่อเพื่อการศึกษา มีระบบฟรี Wi-Fi ครอบคลุมพื้นที่มากขึ้น พัฒนากองทุนเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาให้มีประสิทธิภาพ
กลไกการขับเคลื่อน/สนับสนุน เร่งด่วน ปานกลาง ยาว
มาตรการเร่งด่วน ลดเงื่อนไข กฎหมาย ระบบ งบประมาณ หน่วยงานวิชาการ ระบบ งบประมาณ หน่วยงานวิชาการ ระบบสารสนเทศ ระบบพื้นที่ ลดเงื่อนไข มาตรการเร่งด่วน
มาตรการเร่งด่วน ปรับแก้กฎหมาย ผลักดันกฎหมาย ปรับเปลี่ยนหน่วยงานระดับกรม ปรับเปลี่ยนหน่วยงานภายในกรม/เขตพื้นที่ ปรับเปลี่ยนองค์การมหาชน ผลักดันกฎหมาย พ.ร.บ.วิทยาลัยชุมชน พ.ร.บ.กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมคุณภาพการเรียนรู้ พ.ร.บ.สถาบันเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
มาตรการ(ต่อ) ปรับระบบงบประมาณ การวางแผน การแสวงหา การจัดสรร การใช้ การติดตาม ประเมินผล
มาตรการ(ต่อ) สนับสนุนหน่วยวิชาการเชิงยุทธศาสตร์ ตั้งกองทุนสนับสนุนการเสริมสร้างคุณภาพการเรียนรู้ (สสค.) ปฏิรูปทั้งระบบ เกิดเครือข่ายการทำงานกับภาคประชาชน สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
มาตรการ(ต่อ) พัฒนาระบบสารสนเทศ สารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ สารสนเทศเพื่อการเรียนการสอน ความเชื่อมโยงทั้งแนวดิ่งและแนวราบ สารสนเทศทั้งด้านบริบท ปัจจัย กระบวนการ ผลผลิต
มาตรการ(ต่อ) ปฏิรูประบบพื้นที่ กระจายอำนาจ ความเข้มแข็งในการรองรับการกระจายอำนาจ
มาตรการ(ต่อ) ลดเงื่อนไขที่เป็นอุปสรรค ขจัดทุจริต คอรัปชัน ลดหนี้สินครู
กลไกการขับเคลื่อนระยะปานกลาง-ยาว blueprint การศึกษาของชาติระยะยาว แผนการศึกษาแห่งชาติ/แผนพัฒนาคนทุก ช่วงวัย มีองค์กร/กองทุนตาม พ.ร.บ. การศึกษา แห่งชาติ นำร่องรูปแบบ/แนวทางด้านต่างๆ ของการ ปฏิรูปการศึกษา พัฒนาฐานข้อมูลและสารสนเทศ ตัวชี้วัด ประเมินผล เพื่อการบริหารจัดการและเพื่อ การพัฒนา