บทที่ 6 การประยุกต์ใช้งานฐานข้อมูล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โปรแกรมขึ้นทะเบียนเกษตรกร ผู้ปลูกข้าวนาปี ปี 2557/58
Advertisements

แบบประเมินความเข้มแข็ง ศอช.
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
บทที่ 5 การให้บริการอิเล็กทรอนิกส์ (E-Service)
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
ณ 31 พฤษภาคม
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
ประโยชน์และตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
… FACEBOOK … ..By Peerapon Wongpanit
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
บทที่2 การวางแผนการผลิตและกำลังการผลิต
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ความต้องการ ทางด้านการเงิน และ การส่งเสริมความรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต ความต้องการ ทางด้านการเงิน และ การส่งเสริมความรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต บริหารการจัดการ.
วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์, ฟิสิกส์, เคมี, ชีววิทยา, วิทยาศาสตร์ทั่วไป, จิตวิทยา ศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา การ ประถมศึกษา, ศิลปศึกษา,
7 เทรนด์ การตลาดออนไลน์ปี 2014 แรงแน่ ! ในปีที่ผ่านมา การเปิดตัวเครือข่าย 3G ในประเทศ ทำให้คำว่า “การตลาดออนไลน์ (Online Marketing)” กันมากขึ้น แล้วในปี
LOGO แนวคิดเกี่ยวกับระบบ สารสนเทศ นางสาวกนกรัตน์ นพ โสภณ SMET
โปรแกรมสต๊อกสินค้า และ โปรแกรมขายหน้าร้าน Nanosoft Smart INV.NET วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปและการ ประยุกต์ใช้งาน อ. วิสุตร์ เพชรรัตน์
CSIT-URU อ. กฤษณ์ ชัยวัณณคุปต์ Mathematics and Computer Program, URU บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ เทคโนโลยีสารสนเทศ Introduction to Information.
แนวทางการบริหารจัดการเขต พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษโดย สหกรณ์ นายเชิดชัย พรหมแก้ว ผู้อำนวยการกองพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตร และกลุ่มเกษตรกร กรมส่งเสริมสหกรณ์ วันที่
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
การกำหนด คุณลักษณะครุภัณฑ์ นาตอนงค์ จันทร์แจ่มแจ้ง นักวิชาการพัสดุชำนาญการพิเศษ.
สำนักงานพัฒนาธุรกิจการค้าจังหวัดสุโขทัย
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
ปัจจัยแห่งความสำเร็จ
การจัดหาพัสดุในส่วนของรายจ่ายลงทุนในภาพรวม ประจำเดือนมิถุนายน 2561
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ยินดีต้อนรับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน (พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์) และคณะ ในโอกาสตรวจเยี่ยมจังหวัดตาก วันที่ กรกฎาคม 2558.
บทที่ 5 ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารทรัพยากรมนุษย์
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบบริหารจัดการงานวิจัยของหน่วยงาน Department Research Management System DRMS โดยทีมพัฒนาระบบ DRMS สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
การบริหารจัดการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวทางปฏิบัติ กรมป่าไม้
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ประยุกต์
กลุ่มเกษตรกร.
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
คำรับรองการปฏิบัติราชการ
โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูล วัตถุเสพติดของกลาง (ระยะที่1)
ประกันภัยกับการพัฒนาเศรษฐกิจ
รูปแบบ และ ประโยชน์การขายสินค้าออนไลน์
Integrated Information Technology
SMS News Distribute Service
แนวทางการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปี 2562
แนวปฏิบัติ การจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
ยุทธศาสตร์ส่งเสริมการเกษตร
EB7 หน่วยงานของท่านมีช่องทางให้. ประชาชน. เข้าถึงข้อมูลของหน่วยงาน
โครงการ เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
Supply Chain Management
การจัดทำแผนการสอบบัญชีโดยรวม
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 6 การประยุกต์ใช้งานฐานข้อมูล แนวคิด 1. การประยุกต์ใช้งานฐานข้อมูลกับระบบงานด้านการศึกษา เป็นเครื่องมือสำคัญในการปรับปรุงประสิทธิภาพในการดำเนินงานเนการศึกษา เป็นการให้บริการนักศึกษา การอำนวยความสะดวกบุคลากรภายในสถานศึกษา การบริหารจัดการอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น ระบบงานทะเบียนนักศึกษา ระบบงานห้องสมุด ซึ่งมีการนำระบบฐานข้อมูลมาใช้ในการจัดเก็บและบริหารจัดการข้อมูลเพื่อให้การดำเนินการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องเป็นไปอย่างถูกต้องและ มีประสิทธิภาพ

บทที่ 6 การประยุกต์ใช้งานฐานข้อมูล แนวคิด 2. การประยุกต์ใช้งานฐานข้อมูลกับงานทางด้านธุรกิจ มีกี่พัฒนาการใช้กันอย่างมากมายสำหรับองค์กรธุรกิจที่มีการแข่งขันทา งธุรกิจกันสูงในปัจจุบัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งระบบขายสินค้าหน้าร้านสำหรับร้านสะดวกซื้อและระบบการขายสินค้าออนไลน์ในธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ จัดเป็นตัวอย่างการประยุกย์ใช้งานฐานข้อมูลกับงานทางด้านธุรกิจที่มีความสำคัญต่องค์กรธุรกิจเป็นจำนวนมาก ซี่งทั้งสองระบบนี้มีการนำระบบฐานข้อมูลเข้ามาดำเนินงานในกระบวนการซื้อขายหน้าร้านและการบริหารจัดการภายในร้าน ตั้งแต่ธุรกิจการค้าธุรกิจการค้าแบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ด้วย

บทที่ 6 การประยุกต์ใช้งานฐานข้อมูล แนวคิด 3. การประยุกต์ใช้งานฐานข้อมูลกับงานทางด้านวิทยาศาสตร์ เป็นการนำระบบฐานข้อมูลไปประยุกต์ใช้งานร่วมกับงานทางด้านวิทยาศาสตร์ด้านต่างๆ ได้แก่ การประยุกต์ใช้งานด้านการแพทย์ โดยมีการพัฒนาระบบการให้บริการผู้ป่วยทางด้านสาธารณสุขขึ้นมาใช้งานเพื่อให้หน่วยงานทางสาธารณสุขสามารถให้บริการผู้ป่วยได้รวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากขึ้น และการประยุกต์ใช้งานด้านภูมิศาสตร์ซึ่งมีการพัฒนาเป็นระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ขึ้นมาใช้งานเพื่อสามารถนำข้อมูลทางภูมิศาสตร์ใช้งานร่วมกับด้านอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างมีประสิทธิภาพมใกขึ้น

บทที่ 6 การประยุกต์ใช้งานฐานข้อมูล การประยุกต์ใช้งานฐานข้อมูลในด้านการศึกษา การประยุกต์ใช้งานฐานข้อมูลในด้านธุรกิจ การประยุกต์ใช้งานฐานข้อมูลในด้านวิทยาศาสตร์

การประยุกต์ใช้งานฐานข้อมูลในด้านการศึกษา การประยุกต์ใช้งานฐานข้อมูลกับระบบงานทะเบียนนยักศึกษา ระบบงานทะเบียนนักศึกษา เป็นระบบการประยุกต์ใช้งานฐานข้อมูลเพื่อพัฒนาขึ้นมาเป็นระบบสารสนเทศ (information system) เพื่อใช้ในการจัดเก็บข้อมูลนักศึกษาและให้บริการการจัดการข้อมูลทางการศึกษาให้กับนักศึกษา ส่วนใหญ่นิยมพัฒนาบนพื้นฐานของเว็บ หรือเรียกว่า ระบบสารสนเทศบนเว็บ (web-based information system ) หรือเว็บเบสแอปพลิเคชั่น (web-based application)

ตัวอย่างการให้บริการในระบบงานทะเบียนนักศึกษาของสถาบันการศึกษา การประยุกต์ใช้งานฐานข้อมูลในด้านการศึกษา 1. การประยุกต์ใช้งานฐานข้อมูลกับระบบงานทะเบียนนักศึกษา ตัวอย่างการให้บริการในระบบงานทะเบียนนักศึกษาของสถาบันการศึกษา ที่มา: http://reg.rmutr.ac.th ค้นคืนเมื่อ 30 พฤษภาคม 2561

ตัวอย่างระบบการรับสมัครนักศึกษาทางเว็บไซต์ การประยุกต์ใช้งานฐานข้อมูลในด้านการศึกษา 1. การประยุกต์ใช้งานฐานข้อมูลกับระบบงานทะเบียนนักศึกษา (ต่อ) ตัวอย่างระบบการรับสมัครนักศึกษาทางเว็บไซต์ ที่มา: http://reg.rmutr.ac.th ค้นคืนเมื่อ 30 พฤษภาคม 2561

การประยุกต์ใช้งานฐานข้อมูลในด้านการศึกษา 2. การประยุกต์ใช้งานฐานข้อมูลกับระบบงานห้องสมุด ระบบงานห้องสมุด เป็นระบบที่ใช้งานกันในสถานศึกษา หรือเป็นบริการหนึ่งในหน่วยงาน ระบบงานห้องสมุดเป็นระบบที่มีความสัมพันธ์กับการใช้งานฐานข้อมูล ซึ่งประกอบด้วยข้อมูลและฐานข้อมูลต่าง ๆ มากหรือน้อยขึ้นอยู่กับขอบเขตหน้าที่ในการให้บริการระบบงานหรือซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย

คำอธิบายหน้าที่การทำงาน การประยุกต์ใช้งานฐานข้อมูลในด้านธุรกิจ ชื่อส่วนงาน คำอธิบายหน้าที่การทำงาน ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง การค้นคืนหนังสือ ทำรายการสืนค้นหนังสือ สื่อและทรัพยากรต่าง ๆ ภายในห้องสมุด รายละเอียดหนังสือที่จะทำการค้นหาเช่น ชื่อหนังสือ ชื่อผู้แต่ง หมวดหมู่ประเภทหนังสือ หมายเลขหนังสือ บริการยืม-คืนหนังสือ บันทึกรายการ การยืม-คืนหนังสือของสมาชิก รายละเอียดของสมาชิกผู้ยืม รวมถึงข้อมูลการทำรายการธุรกรรมในการยืมคืนหนังสือ เช่น ใครยืมหนังสือเล่มไหน กำหนดเวลายืมเป็นอย่างไร สมาชิกห้องสมุด บันทึกข้อมูล และการบริหารจัดการสมาชิก ข้อมูลส่วนบุคคล ข้อมูลสมาชิก ทำการบันทึกรายละเอียดข้อมูลส่วนบุคคล กำหนดประเภทสมาชิกและสิทธิในการเข้าใช้บริการ รายการทรัพยากรสารสนเทศห้องสมุด สำหรับบริหารจัดการข้อมูลหนังสือ สื่อและหรัพยากรต่าง ๆ ภายในห้องสมุด ข้อมูลสารสนเทศต่าง ๆ ในห้องสมุด เช่น ข้อมูลหนังสือ ข้อมูลวารสาร ข้อมูลสื่อสิ่งพิมพ์ ข้อมูลสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ตาราง : การวิเคราะห์ส่วนงานของระบบงานห้องสมุดกับความสัมพันธ์ในการใช้ฐานข้อมูล

http://autolib.rmutr.ac.th/catalog/Search.aspx

http://autolib.rmutr.ac.th/catalog/AlphabeticSearch.aspx

การประยุกต์ใช้งานฐานข้อมูลในด้านธุรกิจ 1. การประยุกต์ใช้งานฐานข้อมูลกับร้านสะดวกซื้อ ระบบขายหน้าร้าน(point of sale) หรือ พี่โอเอส (POS) คือ ระบบการเก็บข้อมูลการขายและข้อมูลการจ่ายเงิน ที่เกิดขึ้นเมื่อมีการขายสินค้าหรือบริการ ระบบนี้จะอยู่ในรูปแบบของซอฟต์แวร์สำหรับการขายหน้าร้านสำหรับร้านค้าขนาดเล็ก และสามารถขยายขอบเขตไปเป็นธุรกิจขนาดกลางและขนาดใหญ่ โดยส่วนใหญ่แล้วจะนำไปใช้งานหลัก ๆ คือ การขายปลีก และบริการ

การประยุกต์ใช้งานฐานข้อมูลในด้านธุรกิจ 1. การประยุกต์ใช้งานฐานข้อมูลกับร้านสะดวกซื้อ POS สำหรับร้านค้าปลีก หรือระบบค้าปลีก โดยปกติแล้วระบบค้าปลีกจะมีความต้องการ POS ที่มีความซับซ้อนน้อยและมีการทำรายการธุรกรรม (transection) ครั้งเดียว เช่น ธุรกิจร้านอาหาร ธุรกิจห้องพัก โดยการสั่งสินค้าหรืออาหารไปยังครัวนั้น พนักงานรับรายการสั่งอาหารจากลูกค้าแล้ว หลักงจากนั้นรายการอาหารที่ถูกสั่งจะไปปรากฎบนจอมอนิเตอร์ในส่วนงานปรุงอาหาร

การประยุกต์ใช้งานฐานข้อมูลในด้านธุรกิจ 1. การประยุกต์ใช้งานฐานข้อมูลกับร้านสะดวกซื้อ POS (point of sale) ประกอบด้วยหลายฟังก์ชันใช้งาน ได้แก่ การบันทึกรายการสินค้า การขายสินค้า การควบคุมรายการสินค้า และจัดทำสต๊อกสินค้า ฟังก์ชัน คำอธิบาย ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง การบันทึกรายการสินค้า จัดเก็บรายละเอียดสินค้าเพื่อจัดจำหน่าย ซื้อสินค้า ประเภทสินค้า คำอธิบาย คุณลักษณะ จำนวน เป็นต้น การขายสินค้า จัดทำรายการขายสินค้าหน้าร้าน รายการขายสินค้าต่อใบสั่งซื้อ หรือต่อใบเสร็จที่ทำการสั่งซื้อ หมายเลขใบเสร็จ วันที่ เวลา รายการสินค้า ราคาต่อหน่วย ราคารวม เป็นต้น ควบคุมรายการสินค้าที่ซื้อ/ขาย/จัดทำสต๊อกสินค้า จัดเก็บทะเบียนรายการสินค้าและสต๊อกสินค้า ซื้อสินค้า ประเภทสินค้า คำอธิบาย คุณลักษณะ จำนวนคงเหลือ จำนวนการขาย ราคา ยอดสั่งซื้อ หมายเลขกำกับ เป็นต้น

การประยุกต์ใช้งานฐานข้อมูลในด้านธุรกิจ 2. การประยุกต์ใช้งานฐานข้อมูลกับธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ การทำธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (e-commerce) เป็นแนวทางหนึ่งในการประกอบธุรกิจการค้าในโลกปัจจุบัน โลกของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์มีขอบเขตที่กว้างขวาง ครอบคลุมไปถึงการทำธุรกรรมทุกประเภทผ่านสื่ออิเล็กทรนิกส์ การประยุกต์ใช้งานฐานข้อมูลกับธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ คือการมุ่งเน้นการทำธุรกิจในรูปแบบของธุรกิจขายสินค้าออนไลน์

ผู้ซื้อ/ลูกค้า ผู้ขาย/ร้านค้า การประยุกต์ใช้งานฐานข้อมูลในด้านธุรกิจ 2. การประยุกต์ใช้งานฐานข้อมูลกับธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ผู้ซื้อ/ลูกค้า - บัญชีลูกค้า/บัญชีผู้ซื้อ - การค้นหาข้อมูลแสดงรายการสินค้า - การซื้อสินค้า - การเสนอราคาสินค้าสำหรับการประมูล - การจ่ายเงิน - การตรวจสอบสถานะสินค้า ผู้ขาย/ร้านค้า -บัญชีผู้ขาย/บัญชีร้านค้า - การสร้างร้านค้าและรายการสินค้า - การสร้างรายการประมูล - การจัดส่งสินค้า ภาพแสดงส่วนงานสำคัญทางฝั่งผู้ซื้อและผู้ขาย

การประยุกต์ใช้งานฐานข้อมูลในด้านธุรกิจ 2. การประยุกต์ใช้งานฐานข้อมูลกับธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ โมเดล หน้าที่การทำงาน ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง บัญชีลูกค้า/บัญชีผู้ซื้อ ทำหน้าที่บริหารจัดการข้อมูลลูกค้า ข้อมูลส่วนบุคคลต่างๆ เช่น รหัสผู้ใช้งาน ชื่อลูกค้า นามสกุลลูกค้า ที่ อยู่ หมายเลขโทรศัพท์ อิเมล์ ไลน์ หมายเลขอ้างอิงอื่นๆ การค้นหาสินค้า ทำหน้าที่ในการค้นหาสินค้า ข้อมูลรายละเอียดสินค้า ได้แก่ ข้อมูลประเภทชนิดสินค้า คุณลักษณะ คุณสมบัติต่าง ๆ ซึ่งแยกออกไปตามประเภท และข้อมูลเจ้าของสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ ภาพแสดงโมเดลการทำงานหลักของธุรกิจร้านค้าออนไลน์

การประยุกต์ใช้งานฐานข้อมูลในด้านธุรกิจ 2. การประยุกต์ใช้งานฐานข้อมูลกับธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ โมเดล หน้าที่การทำงาน ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง การจัดส่งสินค้า/การตรวจสอบสถานะสินค้า ทำหน้าที่แสดงสถานะจัดส่งสินค้าซึ่งสัมพันธ์กันกับระหว่างผู้ส่งและผู้รับ รหัสอ้างอิงการซื้อขาย รหัสการชำระเงิน รหัสการจัดส่ง รหัสสินค้า สถานะของการดำเนินการ เป็นต้น การสร้างร้านค้าออนไลน์ ทำหน้าที่จัดทำหน้าร้านค้าสำหรับฝั่งผู้ขาย ข้อมูลทะเบียนบัญชีผู้ขาย และข้อมูลรายละเอียดสินค้า ชนิดหรือประเภทสินค้า คุณลักษณะ รายละเอียดสินค้า ราคา เป็นต้น ภาพแสดงโมเดลการทำงานหลักของธุรกิจร้านค้าออนไลน์

การประยุกต์ใช้งานฐานข้อมูลในด้านธุรกิจ 2. การประยุกต์ใช้งานฐานข้อมูลกับธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 2.1 อีเบย์ (ebay) เป็นบริษัทชั้นนำในการทำการค้าบนระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ โดยมีการเชื่อมโยงกับผู้ใช้งานผ่านทางสื่อและเคลรื่อมือออนไลน์ โดยผู้ที่ใช้งานบนอินเตอร์เน็ตของอีเบย์สามารถเป็นทั้งผู้ซื้อและผู้ขาย

แสดงหน้าจอการค้นหาบนอีเบย์ การประยุกต์ใช้งานฐานข้อมูลในด้านธุรกิจ bag แสดงหน้าจอการค้นหาบนอีเบย์ ที่มี : https://www.ebay.com/sch/ebayadvsearch/ ค้นคืนเมื่อ 6 มิถุนายน 2561

แสดงหน้าจอการค้นหาบนอีเบย์ โดยการค้นหา bag การประยุกต์ใช้งานฐานข้อมูลในด้านธุรกิจ แสดงหน้าจอการค้นหาบนอีเบย์ โดยการค้นหา bag ที่มี : https://www.ebay.com/sch/ebayadvsearch/ ค้นคืนเมื่อ 6 มิถุนายน 2561

การประยุกต์ใช้งานฐานข้อมูลในด้านธุรกิจ 2. การประยุกต์ใช้งานฐานข้อมูลกับธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 2.2 เว็บไซต์ตลาดดอทคอม (tarad.com) เป็นเว็บไซต์ของบริษัท ตลาด ดอท คอม จำกัด ซึ่งเป็นผู้นำด้านอีคอมเมิร์ซ (e-Commerce) ของประเทศไทย ที่มีการบริการหลักได้แก่ บริการซ้อปปิ้งมอลล์ บริการตลาดศูนย์กลางร้ายนค้าและสินค้าราคาถูก บริการเปิดร้านค้าออนไลน์ และบริการตลาดซื้อ-ขายของมือสอง

การประยุกต์ใช้งานฐานข้อมูลในด้านธุรกิจ 2. การประยุกต์ใช้งานฐานข้อมูลกับธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ แสดงหน้าจอเว็บไซต์ตลาดดอทคอม ที่มี : https://www.tarad.com/ ค้นคืนเมื่อ 7 มิถุนายน 2561

แสดงหน้าจอการค้นหาของเว็บไซต์ตลาดดอทคอมรายการรองเท้า การประยุกต์ใช้งานฐานข้อมูลในด้านธุรกิจ 2. การประยุกต์ใช้งานฐานข้อมูลกับธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ แสดงหน้าจอการค้นหาของเว็บไซต์ตลาดดอทคอมรายการรองเท้า ที่มี : https://www.tarad.com/product/5219223 ค้นคืนเมื่อ 7 มิถุนายน 2561

แสดงหน้าจอการสั่งซื้อสินค้าของเว็บไซต์ตลาดดอทคอมรายการ การประยุกต์ใช้งานฐานข้อมูลในด้านธุรกิจ 2. การประยุกต์ใช้งานฐานข้อมูลกับธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ แสดงหน้าจอการสั่งซื้อสินค้าของเว็บไซต์ตลาดดอทคอมรายการ ที่มี : https://www.tarad.com/product/5219223#cart ค้นคืนเมื่อ 7 มิถุนายน 2561

การประยุกต์ใช้งานฐานข้อมูลในด้านวิทยาศาสตร์ 1. การประยุกต์ใช้งานฐานข้อมูลกับระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ 1.1 สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาสและภูมิศาสตร์ (องค์กรมหาชน) “สทอภ.” Geo-Informatics and Space Technology Development Agency (Public Organization) ( GISTDA) เป็นหน่วยงานของรัฐในรูปแบบองค์กรมหาชน เพื่อบริหารข้อมูลภูมิสารสนเทศ บริการวิชาการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศให้เป็นประโยชน์ต่อประชาชน โดยใช้เทคโนโลยีด้านสำรวจระยะไกลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ในการพัฒนาประเทศ

การประยุกต์ใช้งานฐานข้อมูลในด้านวิทยาศาสตร์ 1. การประยุกต์ใช้งานฐานข้อมูลกับระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ “สทอภ.” Geo-Informatics and Space Technology Development Agency (Public Organization) ( GISTDA) แบ่งออกเป็น 3 หน่วยงานหลัก ได้แก่ 1.1 หน่วยงานดำเนินงาน 1.1.1 สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิประเทศ (องค์กรมหาชน) หน้าที่ ถ่ายภาพและจัดหาข้อมูลดาวเทียม วอเคราะห์ ประเมิน ติดตามและประเมินพื้นที่เพาะปละ จัดทำฐานข้อมูลและระบบบริการ 1.1.2 กรมส่งเสริมการเกษตร สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร กรมชลประทาน กรมพัฒนาที่ดินและกรมการข้าว หน้าที่ ดำเนินการในภารกิจรับผิดชอบภายใต้โครงการประกันรายได้เกษตรกร สนับสนุนการตรวจสอบข้อมูลภาคพื้นดิน และสนับสนุนข้อมูลอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 1.2 หน่วยงานสนับสนุน 1.3 หน่วยงานผู้ใช้

การประยุกต์ใช้งานฐานข้อมูลในด้านวิทยาศาสตร์ 1. การประยุกต์ใช้งานฐานข้อมูลกับระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ “สทอภ.” Geo-Informatics and Space Technology Development Agency (Public Organization) ( GISTDA) แบ่งออกเป็น 3 หน่วยงานหลัก ได้แก่ 1.2 หน่วยงานสนับสนุน ประกอบด้วย กรมที่ดิน กรมธนารักษ์ กรมป่าไม้ และสำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อการเกษตร เป็นหน่วยงานที่สนับสนุนข้อมูลแปลงที่ดินที่แต่ละหน่วยงานรับผิดชอบ 1.3 หน่วยงานผู้ใช้ ได้แก่ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ ซึ่งเป็นผู้ใช้ประโยชน์ข้อมูลในการพิจารณาจ่ายเงินประกันให้กับเกษตรกรที่ขึ้นทะเบียน

การประยุกต์ใช้งานฐานข้อมูลในด้านวิทยาศาสตร์ 1. การประยุกต์ใช้งานฐานข้อมูลกับระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ “สทอภ.” Geo-Informatics and Space Technology Development Agency (Public Organization) ( GISTDA) แบ่งออกเป็น 3 หน่วยงานหลัก ได้แก่ 1.2 หน่วยงานสนับสนุน ประกอบด้วย กรมที่ดิน กรมธนารักษ์ กรมป่าไม้ และสำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อการเกษตร เป็นหน่วยงานที่สนับสนุนข้อมูลแปลงที่ดินที่แต่ละหน่วยงานรับผิดชอบ 1.3 หน่วยงานผู้ใช้ ได้แก่ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ ซึ่งเป็นผู้ใช้ประโยชน์ข้อมูลในการพิจารณาจ่ายเงินประกันให้กับเกษตรกรที่ขึ้นทะเบียน

ตาราง แสดงการนำข้อมูลในฐานข้อมูลไปใช้งานสำหรับหน่วยงาน การประยุกต์ใช้งานฐานข้อมูลในด้านวิทยาศาสตร์ หน่วยงาน การใช้งาน การส่งเสริมการเกษตร -ตรวจสอบการขึ้นทะเบียนข้าว -ตรวจสอบสภาวะการปลูกพื้นเศรษฐกิจที่รายงานเป็นรายเดือน กรมการข้าว -ใช้ปรับปรุงผลผลิตข้าวเพื่อลดต้นทุนการผลิต การจำแนกเขตการใช้ที่ดิน เพื่อดูผลผลิตในแต่ละพื้นที่ กรมพัฒนาที่ดิน -ใช้เป็นฐานข้อมูลอ้างอิงในการตรวจสอบงานของกรมพัฒนาที่ดินในแต่ละจังหวัด -ใช้จำแนกที่ดินเป็นรายพืช เพื่อประยุกต์ใช้กับดิน ตาราง แสดงการนำข้อมูลในฐานข้อมูลไปใช้งานสำหรับหน่วยงาน

ตาราง แสดงการนำข้อมูลในฐานข้อมูลไปใช้งานสำหรับหน่วยงาน การประยุกต์ใช้งานฐานข้อมูลในด้านวิทยาศาสตร์ หน่วยงาน การใช้งาน สำนักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม -นำข้อมูลไปตรวจสอบในพื้นที่ของสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อการเกษตร (สปก.) -ใช้ประกอบแนวเขตในการประกาศพื้นที่ สปก. กรมส่งเสริมสหกรณ์ -ใช้ติดตามการปลูกข้าว ในเขตนิคมสหกรณ์ สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร -ใช้เป็นกรอบตัวอย่างในการสุ่มพื้นที่สำหรับการสำรวจข้าวนาปรังแบบกรอบพื้นที่สำรวจ และแบบกรอบรายการสำรวจ -เปรียบเทียบผลการแปลภาพดาวเทียมกับการขึ้นทะเบียนของเกษตรกรเป็นรายตำบล ตาราง แสดงการนำข้อมูลในฐานข้อมูลไปใช้งานสำหรับหน่วยงาน

ตาราง แสดงการนำข้อมูลในฐานข้อมูลไปใช้งานสำหรับหน่วยงาน การประยุกต์ใช้งานฐานข้อมูลในด้านวิทยาศาสตร์ หน่วยงาน การใช้งาน สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร -ใช้เป็นกรอบตัวอย่างในการสุ่มพื้นที่สำหรับการสำรวจข้าวนาปรังแบบกรอบพื้นที่สำรวจ(area frame survey) และแบบกรอบรายการสำรวจ(list frame survey) -เปรียบเทียบผลการแปลภาพดาวเทียมกับการขึ้นทะเบียนของเกษตรกรเป็นรายตำบล -ใช้เป็นตัวแปรพยากรณ์เนื้อที่เพาะปลูกและผลผลิตข้าวนาปรัง -ใช้ประกอบในการกำหนดเขตเกษตรเศรษฐกิจ (Zoning) ตาราง แสดงการนำข้อมูลในฐานข้อมูลไปใช้งานสำหรับหน่วยงาน

คำอธิบายหน้าที่การงาน การประยุกต์ใช้งานฐานข้อมูลในด้านวิทยาศาสตร์ ส่วนระบบงาน คำอธิบายหน้าที่การงาน ข้อมูลพื้นฐาน ส่วนการบันทึกค่าข้อมูลพื้นฐานสำหรับการทำงาน และการให้บริการ เช่น ข้อมูลสถานที่ตั้ง ชุมชน ประชากร การให้บริการ ส่วนของการบริการประชาชน งานรักษาพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคและฟื้นฟูสภาพผู้ปาวย ระบบคลังยาและเวชภัณฑ์ ส่วนบริหารจัดการคลังยาและเวชภัณฑ์ ซึ่งครอบคลุมคลังยาภายในและภายนอก รายงานและสอบถามข้อมูล ส่วนงานในการจัดทำข้อมูลรายงานของระบบ ตรวจสอบประมวลผลและสำรองข้อมูล ส่วนประมวลผลและการสำรองข้อมูลของระบบงาน *ตาราง ส่วนระบบงานหลักของระบบพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลและศูนย์สุขภาพชุมชน

กิจกรรมที่ 6 1. จงยกตัวอย่างการประยุกต์ใช้งานฐานข้อมูลกับระบบทางด้านการแพทย์ พร้อมทั้งยกตัวอย่างเบื้องต้นที่จะต้องเก็บลงฐานข้อมูล 2. จงยกตัวอย่างการประยุกต์ใช้งานฐานข้อมูลกับงานด้านวิทยาศาสตร์อื่นๆ พร้อมทั้งยกตัวอย่างข้อมูลเบื้องต้นที่จะต้องจัดเก็บลงฐานข้อมูล