แนวทางการเสนอร่างแผนพัฒนาท้องถิ่นต่อสภา อบต. หนังสือ มท. ที่ มท 0810

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักมาตรฐานด้านการบัญชีภาครัฐ
Advertisements

โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
รูปแบบการนำเสนอ หน่วยงาน
กระบี่ สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
อำนาจเจริญ - ว่าง- - ว่าง- - ว่าง - -ว่าง -
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการ กรม สำนักงานสหกรณ์จังหวัด สระบุรี ( กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการ จัดการสหกรณ์ ) ข้อมูล ณ วันที่ 25 ธันวาคม โครงการตามนโยบายรัฐบาล.
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
แม่ฮ่องสอน สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด นายไพรัช จันทรา
บุรีรัมย์ นายพรรณรบ เตชะมงคลาภิวัฒน์ นางสาวยุวพร มั่งมี
หนองบัวลำภู นายทรงเดช ทิพย์โยธา -ว่าง- นายเฉลิมชัย เรืองนนท์
พัทลุง นายเจษฎา ครรชิตานุรักษ์ -ว่าง- นายวีระยุทธ เมฆินทรางกูร
สระบุรี นายขจรศักดิ์ สถาวรจันทร์ น.ส.สถาพร ลิ่มพันธ์
ระยอง นายสมชัย ฉายศรีศิริ นายปรพล เจริญพงษ์ นายสมหมาย เอี่ยมมงคลสกุล
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
นางพจนีย์ ขจร ปรีดานนท์ โยธาธิการและผังเมือง จังหวัด นายทวีศักดิ์ สุริยะสิงห์ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ ( ว่าง ) หัวหน้าฝ่ายบริหารงาน ทั่วไป นายปรีชา.
พังงา นางสาวอัญชลี ตันวานิช สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ปัตตานี นายวิจิตร จำปาสกุล โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
อัตร า บรร จุ ข้าราชการ 20 พนักงาน ราชการ 55 ลูกจ้างประ จำ 10 รวม 35 อัต รา ข้าราชการ 3 ตำแหน่ง อัตราว่าง - มาช่วย ราชการ - ไปช่วย ราชการ 2 (1. นางศรินทร์
ภูเก็ต นายวงศกร นุ่นชูคันธ์ นายทวี หอมหวล ว่าง นายเฉลิม รักมาก
นายอธิปัตย์ พ่วง ลาภ โยธาธิการและผัง เมืองจังหวัด นายอนุชา เจริญพันธ์ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ นายจรัส สุด จันทร์ หัวหน้าฝ่ายปฏิบัติการ นายพศิน.
แม่ฮ่องสอน -ว่าง- สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด นายไตรเทพ มีบุญ
1 ผลการดำเนินงานและการใช้จ่าย งบประมาณปี 2555 ผลการดำเนินงานและการใช้จ่าย งบประมาณปี 2555 สำนักแผนงาน กรมทางหลวงชนบท ข้อมูล ณ 29 ก.พ. 55.
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 14 พนักงาน ราชการ 65 ลูกจ้าง 66 รวม 26 อัตราว่าง - มาช่วย ราชการ นักวิเคราะห์ผังเมืองชำนาญการ ช่วยราชการสำนักงาน โยธาธิการและผังเมืองจังหวัดพิษณุโลก.
และองค์การบริหารส่วนจังหวัดกาญจนบุรีสาขาระดับอำเภอ 6 สาขา
อัตร า บรร จุ ข้าราชการ 44 พนักงาน ราชการ 33 ลูกจ้าง -- รวม 77 อัตราว่าง พนักงานราชการ 3 มาช่วย ราชการ ถูกยืมตัว ลาเรียน ผอ. สำนักงานวิเทศ สัมพันธ์ (1/1)
การจัดซื้อจัดจ้างตามระเบียบ พัสดุ ประกาศคณะรักษาความรักษา ความสงบแห่งชาติ การซื้อและ การจัดจ้างด้วยระบบ อิเล็กทรอนิกส์ (e – GP) และการบริหาร งบประมาณ ขององค์กรปกครองส่วน.
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
ระบบการจัดการงบประมาณท้องถิ่น
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ขั้นตอนการจัดทำงบประมาณ
การจัดการเรียนการสอนภายในหน่วยงาน (Unit School)
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
สุรินทร์ สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด นายชูชีพ ยินดีฉัตร
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
การดำเนินงานเมื่อสิ้นสุดโครงการ
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
วาระการประชุมคณะกรรมการกำกับดูแลองค์การที่ดี สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข ครั้งที่ ๑/๒๕๖๐ วันพฤหัสบดีที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ เวลา ๐๙.๓๐ – ๑๒.๐๐ ณ.
พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ยะลา นายอาคม เหมบุปผกะ นางสาวสาวิตรี ลาภาวัณย์ นายอาแว ผูหาดา
ยะลา นายอาคม เหมบุปผกะ นางสาวสาวิตรี ลาภาวัณย์ นายอาแว ผูหาดา
แนวปฏิบัติ การจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ
(สนง. ส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นอำเภอ)
เรื่องเพื่อทราบ : ปฏิทินสรุปผลตรวจราชการปี รอบ 2/2561
ลำปาง นายยรรยง พลสันติกุล สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
การประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบ ภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ.
การปกครองท้องถิ่น ในปัจจุบัน
การขับเคลื่อน การจัดทำแผนการพัฒนากำลังคน รายจังหวัด
โครงการส่งเสริมการบริหารจัดการการเงินชุมชน
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
1. วิวัฒนาการแผนและการเปรียบเทียบแผนปี พ.ศ กับ พ.ศ. 2559
การจัดทำแผนการจัดซื้อจัดจ้าง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการเสนอร่างแผนพัฒนาท้องถิ่นต่อสภา อบต. หนังสือ มท. ที่ มท 0810 แนวทางการเสนอร่างแผนพัฒนาท้องถิ่นต่อสภา อบต. หนังสือ มท. ที่ มท 0810.2/ว 3288 ลว. 19 ก.ย. 2549 นายก อบต.ในฐานะผู้บริหารท้องถิ่น เสนอร่างแผนพัฒนาต่อ สภา อบต. เพื่อให้ความเห็นชอบ แล้วผู้บริหารท้องถิ่นจึงพิจารณาอนุมัติและประกาศใช้แผนพัฒนา อบต. สภาองค์การบริหารส่วนตำบล ให้ความเห็นชอบร่างแผนพัฒนา อบต. เพื่อให้อบต.ใช้เป็นแนวทางในการบริหารกิจการของ อบต. หากร่างแผนพัฒนา อบต. มีข้อบกพร่อง ก็ให้ส่งร่างแผนพัฒนา อบต.พร้อมเหตุผลคืนให้นายก อบต. ในฐานะผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อทบทวน แล้วเสนอให้สภา อบต.ให้ความเห็นชอบ เพื่ออบต.จะได้ใช้เป็นแนวทางในการบริหารกิจการของ อบต.

ข้อ 18 แผนพัฒนาสามปีให้จัดทำและทบทวนให้แล้วเสร็จภายในเดือน มิ. ย ข้อ 18 แผนพัฒนาสามปีให้จัดทำและทบทวนให้แล้วเสร็จภายในเดือน มิ.ย. ก่อนงบประมาณประจำปี ผวจ.มีอำนาจขยายการจัดทำแผนพัฒนาสามปีแล้วรายงาน มท. กรณีเทศบาล ผวจ.อาจมอบอำนาจให้ นอภ. เมื่อมีการขยายเวลาให้แจ้งจังหวัดเพื่อรายงาน มท.ทราบ กรณี อบต. เป็นอำนาจของ นอภ. แล้วแจ้งจังหวัดเพื่อรายงาน มท.ทราบ

ข้อ 20 ให้หน่วยงานหรือบุคคลภายนอกที่จัดทำหรือร่วมจัดทำ ข้อ 19 อปท.อาจมอบหมายให้หน่วยงานหรือบุคคลภายนอกจัดทำหรือร่วมจัดทำร่างแผนพัฒนาได้ ดังนี้ (1) คณะกรรมการสนับสนุนร่างข้อกำหนดขอบข่ายฯ (2) คณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่นพิจารณาร่างของกำหนดขอบข่ายฯ (3) ผู้บริหารท้องถิ่นพิจารณาอนุมัติ ข้อ 20 ให้หน่วยงานหรือบุคคลภายนอกที่จัดทำหรือร่วมจัดทำ ร่างแผนพัฒนาดำเนินการตามขั้นตอนและวิธีการจัดทำร่าง แผนพัฒนาตามระเบียบนี้

การแก้ไข การเพิ่มเติมหรือการเปลี่ยนแปลงแผนพัฒนา ข้อ 21 การแก้ไขแผนพัฒนา เป็นอำนาจของผู้บริหารท้องถิ่น ข้อ 22 การเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลงแผนพัฒนาสามปี (1) คกก.สนับสนุนฯ จัดทำร่างฯ พร้อมเหตุผลและความ จำเป็น (2) คกก.พัฒนาท้องถิ่นพิจารณาฯ (3) ผู้บริหารท้องถิ่นพิจารณาอนุมัติร่างฯ (กรณี อบต. เสนอร่างต่อสภาฯ ให้ความเห็นชอบก่อนเสนอผู้บริหารฯ จึงพิจารณาอนุมัติและประกาศใช้)

ข้อ 23 การเปลี่ยนแปลงแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา (1) คกก.สนับสนุนฯ จัดทำร่างฯ พร้อมเหตุผลและความจำเป็น (2) คกก.พัฒนาท้องถิ่นพิจารณาร่างฯ (3) ผู้บริหารท้องถิ่นพิจารณาอนุมัติร่างฯ (กรณี อบต. เสนอร่างต่อสภาฯ ให้ความเห็นชอบก่อน เสนอผู้บริหารฯ จึงพิจารณาอนุมัติและประกาศใช้)

การนำแผนพัฒนาไปปฏิบัติ ข้อ 24 ผู้บริหารท้องถิ่นประกาศใช้แผนพัฒนาที่อนุมัติ และนำไป ปฏิบัติ รวมทั้งแจ้งสภาท้องถิ่น กบจ. อบจ. อำเภอ หน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง และประกาศภายใน 15 วัน นับแต่วันที่ประกาศใช้ และปิด ประกาศไม่น้อยกว่า 30 วัน ข้อ 25 เป็นกรอบในการจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปี งบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม วางแนวทางเพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ ของโครงการ

ข้อ 26 การจัดทำแผนการดำเนินงาน หมายความว่า แผนการดำเนินงานซึ่งแสดงรายละเอียดแผนงาน โครงการและกิจกรรมการพัฒนาที่ดำเนินการจริงทั้งหมดในพื้นที่ของ อปท. ประจำปีงบประมาณนั้น

ลักษณะของแผนการดำเนินงาน จัดทำหลังจากที่ได้มีการจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปี เป็นแผนที่แยกออกมาจากแผนพัฒนาสามปี แสดงรายละเอียดของโครงการและกิจกรรมที่ดำเนินการจริง ทั้งหมดในพื้นที่ของ อปท.ประจำปีงบประมาณนั้น เป็นการรวบรวมข้อมูลจากทุกหน่วยงานที่จะเข้ามาดำเนินการ ในพื้นที่

ความสำคัญของแผนการดำเนินงาน เพื่อเป็นแนวทางในการดำเนินงานของ อปท.ในปีงบประมาณนั้น เพื่อความชัดเจนในการปฏิบัติงานตามแผน เพื่อลดความซ้ำซ้อนของโครงการและกิจกรรมการพัฒนา เพื่อเป็นการประสานและบูรณาการการทำงานระหว่างหน่วยงาน เพื่อเป็นเครื่องในการบริหารงานของผู้บริหารท้องถิ่นในการควบคุมการดำเนินงานให้เป็นไปอย่างเหมาะและมีประสิทธิภาพ

โครงการและกิจกรรมที่บรรจุไว้ในแผนการดำเนินงาน มาจากงบประมาณรายจ่ายประจำปี (รวมทั้งเงินอุดหนุนที่ อปท.อุดหนุนให้หน่วยงานอื่นดำเนินการ) อปท.ดำเนินการเองโดยไม่ใช้งบประมาณ หน่วยงานอื่นๆ ดำเนินการในพื้นที่ของ อปท. (ยกเว้น อบจ.) ที่ อปท.พิจารณาเห็นว่าจะเกิดประโยชน์ในการประสานการดำเนินงานในพื้น

ระยะเวลาการจัดทำแผนการดำเนินงาน ภายในเดือนธันวาคมของปะงบประมาณนั้น หากคาดว่าจะดำเนินการไม่แล้วเสร็จภายในกำหนด ให้เสนอขอขยายเวลาการจัดทำแผนฯ ต่อผู้บริหารท้องถิ่น ภายใน 30 วัน นับแต่มีการจัดตั้งงบประมาณเพิ่มเติมหรือได้รับแจ้งแผนงาน/โครงการเพิ่มเติมจากหน่วยราชการอื่นๆ (โดยจัดทำเป็นแผนการดำเนินงานเพิ่มเติม ฉบับที่ 1,2,3,4 ... )

บัญชีโครงการ/กิจกรรม/งบประมาณ 1. ยุทธศาสตร์ด้านโครงสร้างพื้นฐาน

รายละเอียดของโครงการ/กิจกรรม แนวทางที่ 1 ก่อสร้างบำรุงรักษาถนน สะพาน ฯลฯ 1. โครงการก่อสร้างถนน คสล.พร้อมท่อระบายน้ำ (งบประมาณ 100,000 บาท) ลำ ดับที่ งาน/ กิจกรรม รายละเอียดของโครงการ/กิจกรรม สถานที่ดำเนิน การ หน่วยดำเนินการ พ.ศ. 2550 พ.ศ. 2551 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. 1. กลุ่มงานถนน คสล. พร้อมท่อระบายน้ำ 1.1 สำรวจ ออกแบบ เขียนแบบ ประมาณการ 1.2 จัดจ้างตามระเบียบพัสดุ 1.3 ก่อสร้างท่อระบายน้ำ คสล. 1.4 ก่อสร้างถนน คสล. 1.5 ตรวจรับงานและเบิกจ่ายเงิน หมู่ 1 กองช่าง

รายละเอียดของโครงการ/กิจกรรม 2. จ้างที่ปรึกษาโครงการฯ (งบประมาณ 300,000 บาท) ลำ ดับที่ งาน/กิจกรรม รายละเอียดของโครงการ/กิจกรรม สถานที่ดำเนิน การ หน่วยดำเนินการ พ.ศ. 2550 พ.ศ. 2551 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. 1. กลุ่มงานจ้างที่ปรึกษา 1.1 กำหนดคุณสมบัติของผู้รับจ้าง 1.2 จัดจ้างตามระเบียบพัสดุ 1.3 ให้คำปรึกษา ข้อระเบียบ กฎหมาย ขั้นตอน เทคนิค 1.4 ตรวจรับงานและเบิกจ่ายเงิน อปท. ฝ่ายแผนฯ

ข้อ 27 แผนการดำเนินงานให้จัดทำเสร็จภายในเดือนธันวาคม ของปีงบประมาณนั้น หรือภายใน 30 วันนับแต่วันที่ตั้ง งบประมาณดำเนินการหรือได้รับแจ้งแผนงาน/โครงการจาก หน่วยราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ฯลฯ ที่ต้องดำเนินการใน พื้นที่ของ อปท.ในปีงบประมาณนั้น การขยายการจัดทำและการแก้ไขแผนการดำเนินงานเป็น อำนาจของผู้บริหารท้องถิ่น

สรุปขั้นตอนการจัดทำแผนการดำเนินงาน คกก.สนับสนุน จัดทำร่างฯ คกก. พัฒนาท้องถิ่น พิจารณาร่าง ผู้บริหารท้องถิ่น ประกาศใช้ ปิดประกาศภายใน 15 วัน/ประกาศไม่น้อยกว่า 30 วัน

เมื่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดำเนินการจัดทำแผนพัฒนาแล้วเสร็จ ให้ส่งแผนพัฒนาที่ประกาศใช้แล้วให้คณะกรรมการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ องค์การบริหารส่วนจังหวัด และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อประโยชน์ในการประสานการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด และให้ประกาศให้ประชาชนทราบโดยทั่วกัน

แนวคิดการเชื่อมโยงแผนชุมชนสู่แผนพัฒนาจังหวัดผ่านกลไกระดับอำเภอ กลไกระดับชาติ (ก.น.จ.) นโยบาย/ทิศทางการพัฒนาระดับชาติ เศรษฐกิจ สังคม ค.มั่นคง บริหารฯ ทรัพยากรฯ โครงการที่ อปท. สนับสนุนตาม ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด (งบท้องถิ่น) โครงการที่เสนอขอ งปม. จังหวัด โครงการที่เสนอขอ งปม. จากส่วนราชการ 1 2 3 แผนพัฒนาจังหวัด แผนปฏิบัติราชการ ประจำปีของจังหวัด กลไกระดับจังหวัด (ก.บ.จ.) กรอบยุทธศาสตร์ การพัฒนาจังหวัด จัดเวทีรับฟังความคิดเห็น ร่างแผนพัฒนาจังหวัด ต.ค. – ธ.ค. 1 ต.ค. – ธ.ค. 6 แผนพัฒนา (อบจ.) นโยบายและงบประมาณ กระบวนการกลั่นกรองแผน/ปัญหาความต้องการของประชาชนจากอำเภอ เศรษฐกิจ สังคม ค.มั่นคง บริหารฯ ทรัพยากรฯ 5 มิ.ย. – ก.ย. 1 โครงการที่เสนอขอ งปม. จากส่วนราชการ (Function) 2 โครงการที่เสนอขอ งปม. จังหวัด โครงการที่ อปท. สนับสนุนตาม ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด (งบท้องถิ่น) 3 บูรณาการโครงการ ของ อปท.ในระดับอำเภอ กลไกระดับอำเภอ (ก.บ.อ.) แนวทางการ พัฒนาอำเภอ แผนพัฒนาอำเภอ สอดคล้องแผนพัฒนาจังหวัด (ผลผลิต 5 ด้าน) เม.ย. – พ.ค. 4 เวทีประสานแผนการพัฒนาท้องถิ่นระดับอำเภอ -โครงการเรียงตามลำดับความสำคัญ -งบประมาณ/แหล่งที่มาดำเนินการ -จำแนกตามผลผลิต 5 ด้าน กม. กลไกระดับชุมชน (ก.ม.) ชุมชน แผนพัฒนา (เทศบาล/อบต.) กระบวน การชุมชน แผนชุมชน ปัญหาความต้องการ ทบทวนแผนชุมชน เม.ย. – มิ.ย. พ.ย. – ธ.ค. 2 3 ม.ค. – มี.ค. สอดคล้องกับแผนพัฒนา จว./ ระดับชาติ 1 ดำเนินการเอง 1 สอดคล้องกับปัญหา/ความต้องการของชุมชน 2 ร่วมกับหน่วยงานอื่น 2 สอดคล้องกับอำนาจหน้าที่/ภารกิจถ่ายโอน 3 ให้คนอื่นดำเนินการ 3 4 สอดคล้องกับนโยบายผู้บริหารท้องถิ่น

1.) รัฐธรรมนูญ 2550 มาตรา 287 วรรค 3 “ อปท. ต้องรายงานการดำเนินงานต่อ ประชาชนในเรื่องการจัดทำงบประมาณการใช้จ่าย และผลการดำเนินงานในรอบปี เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบ และกำกับบริหารจัดการของ อปท.”

(1) สมาชิกสภาท้องถิ่น 3 คน (สภาเลือก) 2) ระเบียบ มท. ว่าด้วยแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2548 หมวด 6 ข้อ 28 “ให้ผู้บริหารท้องถิ่นแต่งตั้งคณะกรรมการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาท้องถิ่น 11 คน ประกอบด้วย ผู้แทนจาก (1) สมาชิกสภาท้องถิ่น 3 คน (สภาเลือก) (2) ประชาคม 2 คน (ประชาคมเลือก) (3) หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2 คน (ผู้บริหารท้องถิ่นเลือก) (4) หัวหน้าส่วนการบริหาร 2 คน (เลือกกันเอง) (5) ผู้ทรงคุณวุฒิ 2 คน(ผู้บริหารท้องถิ่นเลือก)

2) ระเบียบ มท. ว่าด้วยแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ. ศ 2) ระเบียบ มท. ว่าด้วยแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2548 หมวด 6 ข้อ 30 (5) “ผู้บริหารท้องถิ่นเสนอผลการติดตามและประเมินผลต่อสภาคณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่นและประกาศให้ประชาชนทราบทุกปีภายในเดือนธันวาคมของทุกปี ทั้งนี้ให้เปิดประกาศโดยเปิดเผยไม่น้อยกว่าสามสิบวัน”

คณะกรรมการติดตามและประเมินผล แผนพัฒนาท้องถิ่น  องค์ประกอบของคณะกรรมการฯ  อำนาจหน้าที่

คณะกรรมการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาท้องถิ่น ประกอบด้วย 1.สมาชิกสภาท้องถิ่นที่สภาท้องถิ่นคัดเลือกจำนวน 3 คน 2.ผู้แทนประชาคมท้องถิ่นที่ประชาคมท้องถิ่นคัดเลือกจำนวน 2คน 3.ผู้แทนหน่วยงานที่เกี่ยวข้องที่ผู้บริหารท้องถิ่นคัดเลือกจำนวน 2คน 4.หัวหน้าส่วนการบริหารที่คัดเลือกกันเองจำนวน 2คน 5.ผู้ทรงคุณวุฒิที่ผู้บริหารท้องถิ่นคัดเลือกจำนวน 2คน โดยให้คณะกรรมการเลือกกรรมการหนึ่งคนทำหน้าที่ประธานคณะกรรมการ และกรรมการอีกหนึ่งคนทำหน้าที่เลขานุการของคณะกรรมการ * คณะกรรมการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาท้องถิ่นมีวาระอยู่ในตำแหน่งคราวละ 2 ปีและอาจได้รับการคัดเลือกอีกได้ *

ข้อ 29 คณะกรรมการติดตามและประเมินผล มีอำนาจหน้าที่ (1) กำหนดแนวทาง วิธีการติดตามและประเมินผล (2) ดำเนินการติดตามและประเมินผล (3) รายงานผลต่อผู้บริหาร /ผู้บริหารเสนอสภาท้องถิ่น คกก.พัฒนาท้องถิ่น และประกาศให้ประชาชนทราบ อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ภายในเดือน ธ.ค.ของทุกปี (4) แต่งตั้งคณะอนุกรรมการหรือคณะทำงานเพื่อช่วยเหลือ การปฏิบัติงานตามที่เห็นสมควร

ข้อ 30 อปท. อาจมอบอำนาจให้หน่วยงานหรือบุคคลภายนอก ดำเนินการหรือร่วมดำเนินการติดตามและประเมินผลได้ มีขั้นตอนดังนี้ (1) คกก.ติดตามและประเมินผลจัดทำร่างข้อกำหนด ขอบข่ายฯ (2) ผู้บริหารท้องถิ่นพิจารณาอนุมัติ (3) หน่วยงานหรือบุคคลภายนอกฯ ร่วมดำเนินการติดตามประเมินผล (4) หน่วยงานหรือบุคคลภายนอกฯ รายงานผลการติดตามฯ ต่อคณะกรรมการติดตามและประเมินผล เพื่อประเมินผลการรายงานผล เสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่น (5) ผู้บริหารท้องถิ่นเสนอผลการติดตามฯ ต่อสภาท้องถิ่น คณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่น และประกาศผลการติดตามฯ ให้ประชาชนทราบโดยทั่วกัน

ข้อ 31 มท. อาจจัดให้มีการติดตามและประเมินผลการ ดำเนินงานตามแผนพัฒนาของ อปท.ได้ตามความเหมาะสม