การประกันคุณภาพการศึกษา ในสถานศึกษา EA 5103

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
มาตรฐานคุณภาพการสอน ของ คณะกรรมการแห่งชาติ ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพครู (The National Board for Professional Teaching Standards) วิกฤติอาชีพครู พัฒนาวิชาชีพครู
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
ความเป็นมาของการจัดการ ความรู้ในกรมชลประทาน ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์ และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ. ศ หมวดที่ 3 มาตราที่ 11 ระบุว่า.
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
ร่องรอยหลักฐานการกำหนดมาตรฐานและการจัดระบบบริหาร
โครงการ “ พัฒนาคุณภาพ การจัดการศึกษา เรียนร่วมและเรียนรวม”
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
การประกัน คุณภาพการศึกษา.. พิชญ์มณฑน์ ลีกำเนิด ไทย.
โครงการพัฒนา ศักยภาพบุคลากร เพื่อยกระดับการ บริหารจัดการเชิงกล ยุทธ์และพัฒนาอัต ลักษณ์ผู้เรียนภาค บังคับ สู่ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน ๒๐ - ๒๑ สิงหาคม ๒๕๕๘.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 39 สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน 16 พฤษภาคม 2558 ณ โรงแรมน่านเจ้า จังหวัดพิษณุโลก การประชุมชี้แจง เรื่อง.
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สพฐ. ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
ศูนย์พัฒนา เด็กเล็ก เทศบาล ตำบลปัว ยินดี ต้อนรับ ยินดี ต้อนรับ.
หลักสูตรการอบรมวิทยากรตัวคูณ ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 ภาคกลางตอนบน ( วันที่สอง ) ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันที่ 9 – 11 มีนาคม 2558.
วิสัยทัศน์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ สิ่งสำคัญที่ต้องทำ ให้บรรลุ เพื่อตอบสนอง วิสัยทัศน์ เป้าประสง ค์ หลัก ประสิทธิภ าพ ผลสำเร็จ สูงสุดของ องค์กรซึ่ง ประชาชน.
KM WEBSITE กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข เสนอ อาจารย์ สุกัลยา ชาญสมร.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ โรงเรียนอนุบาลนาแกผดุงราชกิจเจริญ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครพนม เขต ๑ ตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ.
Cop ที่ 3 การบริการวิชาการ : การ บริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง การบริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง คือ กิจกรรมหรือโครงการให้บริการ.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
การแพร่กระจายนวัตกรรม Diffusion of Innovation
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
การประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
วิทยาลัยเทคโนโลยี ดอนบอสโกสุราษฎร์
การประเมินวิทยฐานะ (ว 21/2560)
แผนปฏิบัติการ กลุ่มเครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่ 8
การพัฒนาระบบการประเมิน และการประกันคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพภายใน
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
การกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา และการประกาศค่าเป้าหมาย
แนวทางการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย สำหรับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัด อปท. เข็มชาติ พิมพิลา รองผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ โรงเรียน เวียงเชียงรุ้งวิทยา.
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
การประกันคุณภาพการศึกษา ในสถานศึกษา EA 5103
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
การทำวิทยฐานะ แนวทางใหม่
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
การท่องเที่ยวโดยชุมชน (Community - Based Tourism)
โครงการโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล (1 ตำบล 1 โรงเรียนคุณภาพ)
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่นโดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง (TOR) คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม . . ฝ่ายวิชาการ . .
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประกันคุณภาพการศึกษา ในสถานศึกษา EA 5103

หน่วยที่ 2 การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา หน่วยที่ 2 การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 2.2 การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษา 2

การดำเนินการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายใน 1. กำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 2. จัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ที่มุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 3. จัดระบบบริหารและสารสนเทศ 3

4. ดำเนินงานตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ของสถานศึกษา 4. ดำเนินงานตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ของสถานศึกษา 5. จัดให้มีการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษา 6. จัดให้มีการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 4

7. จัดทำรายงานประจำปีที่เป็นรายงานประเมิน คุณภาพภายใน 7. จัดทำรายงานประจำปีที่เป็นรายงานประเมิน คุณภาพภายใน 8. จัดให้มีการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง การดำเนินการประกันคุณภาพภายใน ให้สถานศึกษายึด หลักการมีส่วนร่วมของชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชน โดยการส่งเสริมสนับสนุนและกำกับดูแลของหน่วยงานต้นสังกัด 5

1. กำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 1. กำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 1.1.ใช้หลักการกระจายอำนาจไปยังศึกษา คือ * สถานศึกษาจัดทำหลักสูตรของสถานศึกษา * บริหารการใช้หลักสูตรให้เหมาะสมสอดคล้องกับความต้องการ ท้องถิ่น 1.2. รัฐกำหนดมาตรฐานการศึกษาชาติ * ข้อกำหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ คุณภาพที่พึงประสงค์ * มาตรฐานที่ต้องการให้เกิดขึ้นในสถานศึกษาทุกแห่ง 6

1. กำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 1. กำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 1.3.ใช้หลักการเทียบเคียง สำหรับ * ส่งเสริมและกำกับดูแล ตรวจสอบทบทวนคุณภาพ * การประเมินคุณภาพ 7

สิ่งที่สถานศึกษาจะต้องดำเนินการเกี่ยวกับมาตรฐานการศึกษา 1.สพฐ. นำมาตรฐานชาติมาจัดทำมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน และปฐมวัย 2. สพท. จัดทำมาตรฐานเพิ่มเติมจาก สพฐ. สอดคล้องกับ ท้องถิ่น 3. สถานศึกษา จัดทำมาตรฐานเพิ่มเติมที่แสดงอัตลักษณ์ สอดคล้องกับความต้องการของชุมชน ครอบคลุมสาระ การเรียนรู้และศักยภาพผู้เรียน

มาตรฐานการศึกษาชาติ หน่วยงานต้นสังกัดแต่ละสังกัดพัฒนามาตรฐาน เขตพื้นที่การศึกษาและจังหวัด พัฒนาและเพิ่มมาตรฐานที่แสดงอัตลักษณ์ สถานศึกษาในสังกัดพัฒนาและเพิ่มมาตรฐานที่แสดงอัตลักษณ์ การพัฒนา/เพิ่ม อาจเป็น ตัวบ่งชี้ / มาตรฐาน

ตัวอย่างมาตรฐานของร.ร.สตรีเฉลิมขวัญ เพิ่มตัวบ่งชี้ มาตรฐานที่ 1 ผู้เรียนมีคุณธรรมฯ 1.11.ร้อยละของผู้เรียนใช้วาจาที่สุภาพและเหมาะสมกับ กาลเทศะ มาตรฐานอัตลักษณ์ จังหวัดพิษณุโลก เพิ่มมาตรฐานที่ 19 ผู้เรียนมีความภาคภูมิใจในจังหวัดพิษณุโลก มี 3 ตัวบ่งชี้

2. จัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ที่มุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา 1) มีการวิเคราะห์สภาพปัญหาและความจำเป็นอย่างเป็นระบบและมีแผนปฏิบัติการประจำปีรองรับทั้งแผนระยะสั้นและระยะยาว 11

2) มีการกำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย การพัฒนาและสภาพความสำเร็จของการพัฒนาตามมาตรฐานการศึกษาที่กำหนดไว้อย่างต่อเนื่อง ชัดเจนและเป็นรูปธรรม 12

3) กำหนดวิธีการโดยอาศัยหลักวิชา/ผลการวิจัย/ข้อมูลเชิง ประจักษ์มาอ้างอิง ครอบคลุมหลักสูตรด้าน * การจัดการเรียนการสอน * กระบวนการเรียนรู้ * การวัดและประเมินผล * การพัฒนาบุคลกร * การบริหารจัดการ และการส่งเสริมการเรียนรู้ 13

4) เสาะหาและประสานสัมพันธ์กับแหล่งวิทยากรภายนอกที่ให้การสนับสนุนทางวิชาการได้ และระบุไว้ในแผนให้ชัดเจน 5) กำหนดบทบาทหน้าที่ให้บุคลากรของสถานศึกษาทุกคน รวมทั้งผู้เรียนรับผิดชอบและดำเนินงานตามที่กำหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพ 14

7) กำหนดการใช้งบประมาณและทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ 6) กำหนดบทบาทหน้าที่และแนวทางการมีส่วนร่วมของบิดา มารดา ผู้ปกครองและบุคลากรภายในชุมชน เพื่อการพัฒนาผู้เรียนร่วมกัน 7) กำหนดการใช้งบประมาณและทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ 8) มีการประเมินผลการดำเนินงานตามแผนและ การนำผลไปใช้ในการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 15

3. จัดระบบบริหารและสารสนเทศ 3. จัดระบบบริหารและสารสนเทศ 3.1. มีความสำคัญจำเป็นอย่างไรในการจัดระบบสารสนเทศ * การพัฒนาคุณภาพจะต้องอาศัยข้อมูลสารสนเทศมา ประกอบการตัดสินใจ * ข้อมูลสารสนเทศสถานศึกษามีจำนวนมากมาย เช่น - ด้านผู้เรียน - ครูและบุคลากร - อาคารสถานที่ - งบประมาณ ทรัพยากร 16

3. จัดระบบบริหารและสารสนเทศ 3. จัดระบบบริหารและสารสนเทศ 3.2. มีหลักการจัดระบบสารสนเทศอย่างไร * หมวดหมู่ ครอบคลุม สมบูรณ์ * ค้นหาง่าย สะดวกต่อการนำมาใช้ * นำมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดอยู่เสมอ 17

3. จัดระบบบริหารและสารสนเทศ 3. จัดระบบบริหารและสารสนเทศ 3.3. จัดระบบสารสนเทศอย่างไร * คุณภาพผู้เรียน * คุณภาพการเรียนการสอน * คุณภาพการบริหารจัดการ * คุณภาพการพัฒนาชุมชน 18

4. ดำเนินงานตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ของสถานศึกษา 4. ดำเนินงานตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ของสถานศึกษา การดำเนินงานตามแผนนั้น สถานศึกษาต้องสร้างระบบการทำงานที่เข้มแข็ง เน้นการมีส่วนร่วม ใช้เทคนิคการบริหารและการจัดการที่จะทำให้การดำเนินงานตามแผนพัฒนาสถานศึกษาบรรลุเป้าหมาย 19

4.1 วงจรการพัฒนาคุณภาพ PDCA ของเดมิ่ง (Deming Cycle) เพราะเป็นกระบวนการที่มีการตรวจสอบ ตนเองอยู่ตลอดเวลาตั้งแต่ขั้น * การวางแผน (Plan) * การปฏิบัติตามแผนหรือขั้นตอนที่วางไว้ (Do) * การตรวจสอบหรือการประเมิน (Check) * การนำผลการประเมินย้อนกลับไปทบทวน ปรับปรุงแก้ไขวางมาตรฐานหรือมาตรการกำหนดขั้นตอนใหม่ (Act) เพื่อการดำเนินงานต่อ ๆ ไป 20

4.2 แนวคิด Balanced Scorecard แนวคิดใช้กำหนดผลสำเร็จอย่างสมดุลรอบด้าน (Balanced Scorecard) เป็นเทคนิคการบริหาร เช่น โรงเรียนในฝัน โดยใช้ การกำหนดมุมมองที่เกี่ยวข้องกับผลสำเร็จของการดำเนินงาน 4 ด้าน คือ 21

2) มุมมองด้านกระบวนการจัดการศึกษา 1) มุมมองด้านนักเรียน โดยพิจารณาความต้องการที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับคุณลักษณะของผู้เรียนที่คาดหวัง 2) มุมมองด้านกระบวนการจัดการศึกษา 3) มุมมองด้านกระบวนการเรียนรู้และการพัฒนา 4) มุมมองด้านงบประมาณและทรัพยากร 22

5. จัดให้มีการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษา 5. จัดให้มีการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษา 5.1.ตั้งคณะทำงานวางแผนติดตามและรวบรวมข้อมูลสารสนเทศ การดำเนินงาน/โครงการตลอดปีการศึกษาโดยใช้มาตรฐาน การศึกษาเป็นนกรอบการติดตามตรวจสอบ 5.2. จัดทำรายงานประจำปีของสถานศึกษา โดยควรมีการตรวจสอบ ทุกปี และดำเนินการอย่างจริงจัง ต่อเนื่องและเป็นระบบ 5.3. สนับสนุนให้ครู ผู้ปกครองและผู้แทนชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม 23

ประเด็นการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพ วิสัยทัศน์และภารกิจของสถานศึกษา เช่น - วิเคราะห์ดูว่าวิสัยทัศน์และภารกิจสอดคล้องกับมาตรฐาน การศึกษาขั้นพื้นฐาน/มาตรฐานการศึกษาปฐมวัยและ สอดคล้องกับสภาวะปัจจุบันหรือไม่ - ควรปรับปรุงเปลี่ยนแปลงอะไรบ้าง จัดกิจกรรมอย่างไรจึง จะเหมาะสม 24

ประเด็นการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพ แผนพัฒนาสถานศึกษา เช่น - แผนพัฒนาสะท้อนความต้องการของชุมชนจริงหรือไม่ - มีการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลตลอดจนนำผลมาใช้ในการวางแผนครอบคลุมครบถ้วนหรือไม่ - กิจกรรมตามแผนสัมพันธ์กันและสอดรับกับวิสัยทัศน์และเป้าหมายหรือไม่ - แผนพัฒนาโดยรวมมีความชัดเจน เข้าใจง่ายและมี ทิศทางการพัฒนาที่ชัดเจนหรือไม่ 25

ประเด็นการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพ การพัฒนาหลักสูตรและกระบวนการเรียนรู้ เช่น - บรรยากาศและสภาพแวดล้อม สนับสนุนการเรียนรู้มากน้อยเพียงใด - สะท้อนความสำเร็จของผู้เรียนอย่างไร - ครูเลือกใช้ยุทธศาสตร์การสอนหลากหลายและสอดคล้องกับ ความต้องการของผู้เรียนหรือไม่ - ครูและผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์ที่ส่งผลต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนอย่างไร - การจัดการเรียนรู้เน้นให้ผู้เรียนได้มีโอกาสฝึกแก้ปัญหา ฝึกการคิดสร้างสรรค์ที่สัมพันธ์กับชีวิตจริง ตลอดจนพัฒนานิสัยรักการเรียนรู้หรือไม่ เป็นต้น 26

ประเด็นการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพ 4) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนเป็นอย่างไร ผลงานของผู้เรียนมีความหมาย บ่งบอกถึงสิ่งที่ผู้เรียนรู้ เข้าใจ และทำได้หรือไม่ ผู้เรียนได้มีโอกาสนำความรู้ไปใช้มากน้อยเพียงใด เป็นต้น 27

ประเด็นการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพ การพัฒนาองค์กร เนื่องจากสถานศึกษาเป็นแหล่งหรือศูนย์ การเรียนรู้ที่สำคัญของชุมชน * ผู้บริหารอุทิศตนเพื่อองค์กร เพื่อนร่วมงานและเพื่อการพัฒนา การศึกษาอย่างไร *เป็นผู้นำในการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้และสามารถแนะนำ นวัตกรรมหรือแหล่งนวัตกรรมสำหรับผู้สอนได้หรือไม่ * มีการประชุมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นหรือเปิดโอกาสให้ผู้สอน/ คณะทำงานมีส่วนร่วมในการตัดสินใจในเชิงบริหารหรือไม่มาก น้อยเพียงใด 28

ประเด็นการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพ การพัฒนาวิชาชีพครู *มีการใช้แหล่งวิทยาการภายนอกช่วยให้ครูเกิดการเรียนรู้ อย่างไรบ้าง *มีการเปิดโอกาสให้ครูได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์และ ความคิดในการพัฒนาวิชาชีพด้วยวิธีการใดบ้าง *สนับสนุนให้ครูมีการวิจัยค้นคว้าความรู้ใหม่เกี่ยวกับ การเรียน การสอนและการประเมินผลบ้างหรือไม่ อย่างไร 29

- มีข้อมูลถูกต้องและเพียงพอในการวางแผนพัฒนา การติดตามตรวจสอบคุณภาพภายในสถานศึกษาที่ดำเนินการอย่างจริงจังจะช่วยให้สถานศึกษา - มีข้อมูลถูกต้องและเพียงพอในการวางแผนพัฒนา สถานศึกษาที่เน้นคุณภาพการศึกษาในรอบปีถัดไป - ผลจากการติดตามตรวจสอบคุณภาพภายในสถานศึกษายังมีส่วนช่วยกระตุ้นผู้ที่เกี่ยวข้องให้ตระหนักถึงการกำหนดนโยบายและทิศทางในการพัฒนาการศึกษาในระดับท้องถิ่นและระดับชาติอีกทางหนึ่งด้วย 30

6. จัดให้มีการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐาน การศึกษาของสถานศึกษา 6. จัดให้มีการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐาน การศึกษาของสถานศึกษา 6.1. ตั้งคณะทำงานขึ้นทำหน้าที่ประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาก็ได้ ซึ่งจะเป็นการสร้างกระบวนการประเมินตนเองอีกทางหนึ่ง 6.2 นำผลจากการประเมินไประบุไว้ในรายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจำปีต่อไป 31

6. จัดให้มีการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐาน การศึกษาของสถานศึกษา 6. จัดให้มีการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐาน การศึกษาของสถานศึกษา 6.3. การประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาต้องครอบคลุมมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน/ปฐมวัย ที่กำหนดไว้ 6.4. ประเมินคุณภาพผู้เรียนโดยรวม ตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ เปรียบเทียบกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ยของนักเรียนเป็นรายคน เป็นการตรวจสอบและยืนยันคุณภาพผู้เรียนทางด้านวิชาการ โดย ขอใช้แบบทดสอบจากองค์กรที่มีแบบทดสอบที่ได้มาตรฐาน 32

7. จัดทำรายงานประจำปีที่เป็นรายงานประเมิน คุณภาพภายใน 7. จัดทำรายงานประจำปีที่เป็นรายงานประเมิน คุณภาพภายใน เป็นไปตามมาตรา 48 ตาม พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 33

ประโยชน์สำคัญของการจัดทำรายงานประจำปีของสถานศึกษา คือ การนำผลไปใช้วางแผนปรับปรุงงานต่อ ๆ ไป ดังนั้นสถานศึกษาต้องตระหนักถึงความจำเป็นในการจัดทำรายงานและนำข้อมูลไปใช้ให้เกิดประโยชน์อย่างจริงจัง 34

8. จัดให้มีการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง 8. จัดให้มีการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง การที่จะทำให้คุณภาพของสถานศึกษาดำรงอยู่อย่างยั่งยืน สถานศึกษาควรตรวจสอบและทบทวนการดำเนินงานตามโครงการ/กิจกรรมอยู่เสมอ โครงการ/กิจกรรมที่ทำต้องคุ้มค่าและเกิดประโยชน์ ส่งผลถึงผู้เรียน การพิจารณาโครงการ/กิจกรรมที่จะทำต่อไปหรือไม่นั้นควรพิจารณา ดังนี้ 35

1) ถ้าเป็นโครงการที่ดีสมควรดำเนินการต่อไป ก็ดำรงโครงการนั้นไว้ 1) ถ้าเป็นโครงการที่ดีสมควรดำเนินการต่อไป ก็ดำรงโครงการนั้นไว้ 2) ถ้าเป็นโครงการที่ดีแต่ยังดำเนินการไม่สำเร็จหรือไม่บรรลุเป้าหมายเพราะมีจุดบกพร่อง ถ้าปรับปรุงแก้ไขสามารถบรรลุผลสำเร็จได้ก็ดำเนินการต่อไปและทำให้ดียิ่งขึ้น 36

3) ถ้าเป็นโครงการที่มีความก้าวหน้าในการดำเนินงานอยู่ตลอดเวลา ก็พัฒนาดำเนินโครงการนั้นต่อไปอย่างไม่หยุดยั้ง 4) หากมีเหตุการณ์หรือสิ่งที่ส่อเค้าว่าจะเกิดปัญหา ต้องหาทางป้องกันไว้ก่อน ก็จำเป็นต้องทำโครงการใหม่ ๆ ขึ้น เพื่อป้องกันปัญหา 37

1) สร้างจิตสำนึกการพัฒนาให้เกิดขึ้นในหมู่ครูและบุคลากรทุกคนในสถานศึกษา คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาพัฒนาอย่างต่อเนื่อง สถานศึกษาต้องคำนึงถึงสิ่งต่อไปนี้ 1) สร้างจิตสำนึกการพัฒนาให้เกิดขึ้นในหมู่ครูและบุคลากรทุกคนในสถานศึกษา 38

3) พัฒนาสถานศึกษาให้เป็นองค์แห่งการเรียนรู้ โดยต้องทำให้บุคลากรทุกคนในสถานศึกษาเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ 39

สถานศึกษาที่เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้มีลักษณะอย่างไร * พัฒนาตนเอง * ใฝ่รู้ หมั่นแสวงหาความรู้อยู่เสมอ * มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้แบ่งปันความรู้กันตลอดเวลา เกิดทีมผู้เชี่ยวชาญในเรื่องต่าง ๆ หลากหลายจนได้รับการยอมรับ จากผู้เกี่ยวข้อง *มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์และแลกเปลี่ยนความรู้กับองค์กรอื่น เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ที่มีความเคลื่อนไหวในการพัฒนา คุณภาพการศึกษาอยู่ตลอดเวลา 40

ผลผลิตขององค์กรแห่งการเรียนรู้เป็นอย่างไร 1) ผลสัมฤทธิ์ของงานสูงขึ้น 2) เกิดการพัฒนาคน 3) มีการพัฒนาความรู้ 4) องค์กรมีศักยภาพสูง 41

2) เน้นย้ำหรือกำหนดเป็นนโยบายการทำงานอย่างมีระบบ รวมทั้งต้องทำงานอย่างมีเป้าหมายทำงานเป็นหมู่คณะและต้องทำอย่างต่อเนื่อง 42

มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานในการประกันคุณภาพ ภายในของสถานศึกษา มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานในการประกันคุณภาพ ภายในของสถานศึกษา กระทรวงศึกษาธิการได้กำหนดมาตรฐานการศึกษาสำหรับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อให้สถานศึกษาได้นำไปเป็นเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา ตามระบบการประกันคุณภาพภายใน มี 4 ด้าน รวม 18 มาตรฐาน ดังนี้ 43

1. มาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียน มี 8 มาตรฐาน คือ 1. มาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียน มี 8 มาตรฐาน คือ มาตรฐานที่ 1 ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ มาตรฐานที่ 2 ผู้เรียนมีจิตสำนึกในการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม 44

มาตรฐานที่ 3 ผู้เรียนมีทักษะในการทำงาน รักการทำงาน สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต มาตรฐานที่ 4 ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ มีวิจารณญาณ มีความคิดสร้างสรรค์ คิดไตร่ตรอง และมีวิสัยทัศน์ 45

มาตรฐานที่ 5 ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่จำเป็นตามหลักสูตร มาตรฐานที่ 5 ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่จำเป็นตามหลักสูตร มาตรฐานที่ 6 ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง 46

มาตรฐานที่ 7 ผู้เรียนมีสุขนิสัย สุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มาตรฐานที่ 7 ผู้เรียนมีสุขนิสัย สุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มาตรฐานที่ 8 ผู้เรียนมีสุนทรียภาพและลักษณะนิสัยด้านศิลปะ ดนตรีและกีฬา 47

2. มาตรฐานด้านการเรียนการสอน มี 2 มาตรฐาน 2. มาตรฐานด้านการเรียนการสอน มี 2 มาตรฐาน มาตรฐานที่ 9 ครูมีคุณธรรม จริยธรรม มีวุฒิ/ความรู้ความสามารถตรงกับงานที่รับผิดชอบ หมั่นพัฒนาตนเอง เข้ากับชุมชนได้ดีและมีครูเพียงพอ มาตรฐานที่ 10 ครูมีความสามารถในการจัดการเรียน การสอนอย่างมีประสิทธิภาพและเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 48

3. มาตรฐานด้านการบริหารและการจัดการศึกษา มี 6 มาตรฐาน คือ 3. มาตรฐานด้านการบริหารและการจัดการศึกษา มี 6 มาตรฐาน คือ มาตรฐานที่ 11 ผู้บริหารมีคุณธรรม จริยธรรม มีภาวะผู้นำและมีความสามารถในการบริหารจัดการศึกษา มาตรฐานที่ 12 สถานศึกษามีการจัดองค์กร โครงสร้าง ระบบการบริหารงานและพัฒนาองค์กรอย่างเป็นระบบ ครบวงจร 49

มาตรฐานที่ 13 สถานศึกษามีการบริหารและ จัดการศึกษาโดยใช้สถานศึกษาเป็นฐาน มาตรฐานที่ 14 สถานศึกษามีการจัดหลักสูตรและกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 50

มาตรฐานที่ 15 สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณภาพผู้เรียนอย่างหลากหลาย มาตรฐานที่ 16 สถานศึกษามีการสภาพแวดล้อมและการบริการที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาตามธรรมชาติเต็มศักยภาพ 51

4. มาตรฐานด้านการพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรู้ มี 2 มาตรฐาน คือ 4. มาตรฐานด้านการพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรู้ มี 2 มาตรฐาน คือ มาตรฐานที่ 17 สถานศึกษามีการสนับสนุนและใช้ แหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาในท้องถิ่น มาตรฐานที่ 18 สถานศึกษามีการร่วมมือกันระหว่างบ้าน องค์กรทางศาสนา สถาบันทางวิชาการและองค์กรภาครัฐและเอกชน เพื่อพัฒนาวิธีการเรียนรู้ในชุมชน 52

1.สัปดาห์หน้าให้นักศึกษาแต่ละกลุ่ม นำ รายงานประจำปี/ รายงานการประเมินตนเอง / รายงานการประเมินคุณภาพจาก ภายนอก( รอบสอง)ของโรงเรียนที่ทำการสอนมาใช้ในการ ปฏิบัติกิจกรรม 2. เอกสารประกอบการบรรยาย หัวข้อ 2.3. การนำมาตรฐานสู่ การปฏิบัติ วันที่ 25 ธันวาคม 2553 สอบ midterm หัวข้อที่สอบ หน่วยที่ 1 หน่วยที่ 2 หัวข้อ 2.1 -2.4.

สวัสดี สวัสดี