กฎกระทรวง ว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ. ศ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
PMQA PMQA : STATUS ต่ำ กลาง สูง
Advertisements

วิธีการจัดแฟ้มมาตรฐาน
ส6 สร้างสรรค์/นวัตกรรม
PDCA คืออะไร P D C A.
นพ.ศรายุธ อุตตมางคพงศ์ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 7 อุบลราชธานี
ตารางแสดงตัวชี้วัดที่เฝ้าระวัง หน่วยไตเทียม ก่อนทำCQI
การเพิ่มผลผลิต Productivity
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
การบริหารจัดการ PDCA cycle
เวชศาสตร์ชุมชนและเวชศาสตร์ครอบครัว
การจัดทำแผนการประกันคุณภาพ
งานผู้ป่วยใน โรงพยาบาลบ้านเขว้า

สรุปประเด็นสำคัญเรื่องเล่า
NOTE: To change the image on this slide, select the picture and delete it. Then click the Pictures icon in the placeholder to insert your own image. แนวทางการขับเคลื่อน.
หลักสูตร การเสริมสร้างทีมงานที่มีประสิทธิภาพ การประปาส่วนภูมิภาค วิทยากร : วุฒทัย การสมใจ และคณะ.
ฝ่ายนโยบาย แผน และประกันคุณภาพการศึกษา งานนโยบาย แผน งานข้อมูล สารสนเทศ งานมาตรฐาน การศึกษาและ งานประกัน คุณภาพ การศึกษา งานนิเทศ กำกับ ติดตามและ ประเมินผล.
Cop ที่ 3 การบริการวิชาการ : การ บริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง การบริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง คือ กิจกรรมหรือโครงการให้บริการ.
การจัดการการดูแล (Care Management) นางอุไลวรรณ์ ไขสังเกต พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ.
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)
แผนปฏิบัติการ สพฐ. ปี 2554.
ผู้อำนวยการสำนักทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ลดข้อผิดพลาด รวดเร็ว สมบูรณ์
เป็นกระบวนการเรียนรู้ ไม่ใช่การตรวจสอบ
คำขวัญกลุ่ม สร้างสรรค์ ส่งเสริม ใส่ใจ เรียนรู้ผ่านกิจกรรม กลุ่ม RE-ACC
ภารกิจ ศธภ./ศธจ..
การพัฒนา ระบบบริหารกองทัพเรือ ภายใต้กรอบการจัดการภาครัฐแนวใหม่
บทที่ 7 หลักการบริหารงานคุณภาพ
บทบาทหน้าที่ของหน่วยงานความปลอดภัยตามกฏหมาย
“วัฒนธรรมองค์กร” (Organization Culture)
ความตระหนักการจัดการคุณภาพ
การทำงานเชิงวิเคราะห์
สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
ภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
โครงการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมอาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา
บทที่ 11 กิจกรรมพัฒนาตนเองและทีมงานคุณภาพเพื่อประสิทธิภาพในการทำงาน
เทคนิคการทำงานให้มีประสิทธิภาพ
คู่มือการปฏิบัติงาน (Work Manual)
กลยุทธ์การออกแบบ การจัดบริการสนับสนุนการเรียนรู้เชิงรุกสำหรับห้องเรียนอัจฉริยะ (Strategic for Services Design to Supporting Active Learning in Smart Classroom)
เทศบาลนครขอนแก่น ยินดีต้อนรับ
คณะที่ 3 : พัฒนาระบบบริหารจัดการ การบริหารการเงินการคลัง
การดำเนินงานโรงพยาบาลคุณธรรม,หน่วยงานคุณธรรม
หลักการและแนวคิดในการเขียนโครงการ เพื่อการพัฒนานิสิต
การขับเคลื่อนการดำเนินงาน ของบ้านพักเด็กและครอบครัว ประจำปีงบประมาณ พ
เส้นทางห้องสมุดสีเขียวสู่สำนักงานสีเขียว
Techniques Administration
P S BB ART ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้น ผลงานตามยุทธศาสตร์ กับ PART ผลผลิต
การจัดกิจกรรมฝึกอบรมประชาชน
โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนในชนบท จังหวัดสตูล
ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน
ระบบการประกันคุณภาพอาชีวศึกษา
แบบฟอร์มการบริหารโดยการควบคุมคุณภาพ (QCC) ดีเด่น ปี 2561
4.1 งานนโยบายรัฐบาล ปีงบประมาณ 2560 เดือน สิงหาคม 2560
หน่วยที่1 หลักการวางแผนเป้าหมายชีวิต
ผู้อำนวยการวิทยาลัยเทคโนโลยีไทย-ไต้หวัน (BDI)
การบริหารโครงการ ด้วยระบบปฏิทินกิจกรรมแบบเบ็ดเสร็จ Project management with integrated calendar system โดย ... ธนาภรณ์ ฉิมแพ / ประจักษ์ สุขอร่าม / จารุวรรณ.
การจัดการความปลอดภัยระบบสารสนเทศ (Information Security Management System : ISMS) ด้วย เกณฑ์มาตรฐานการรักษาความมั่นคงปลอดภัย ISO/IEC และ ISO/IEC
กฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 25๖๑
Educational Standards and Quality Assurance
Continuous Quality Improvement
ตอนที่ 3.2 กลยุทธ์การบริหารเจ้าหน้าที่
นพ.ชลทิศ อุไรฤกษ์กุล 16 ธ.ค.58
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 2 : มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยข้อมูล สธ412 ความมั่นคงของระบบสารสนเทศ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ
บทที่ 1 บทนำเรื่องคุณภาพ.
แนวปฏิบัติที่ดี (Best Practice)
ระเบียบวาระการประชุม คณะทำงานบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายในของ สกพ
จุดที่ควรปรับปรุง SR 1 และ SR 2.
แนวปฏิบัติที่ดีในการเพิ่มประสิทธิภาพ การทำบัตรประจำตัวนักศึกษาใหม่
สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 29 สิงหาคม 2557
ดูง่าย จ่ายครบ จบในใบเดียว
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กฎกระทรวง ว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ. ศ กฎกระทรวง ว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 25๖๑

ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ตามกฎกระทรวงฯ พ.ศ. 25๖๑ 1.การประเมิน คุณภาพภายใน 2.การติดตาม ตรวจสอบคุณภาพ การศึกษา 3.การพัฒนา คุณภาพ การศึกษา การ ประกัน คุณภาพ ภายใน

ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ตามกฎกระทรวงฯ พ.ศ. 25๖๑ การประเมินคุณภาพการจัดการศึกษา การติดตาม และการตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา... กระทำโดยบุคลากรของสถานศึกษานั้นและติดตาม ตรวจสอบหน่วยงานต้นสังกัด การประเมิน คุณภาพภายใน

ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ตามกฎกระทรวงฯ พ.ศ. 25๖๑ กระบวนการติดตามตรวจสอบความก้าวหน้าของ การปฏิบัติตามแผน... และจัดทำรายงานการติดตามตรวจสอบ... พร้อมทั้งเสนอมาตรการเร่งรัด การพัฒนาคุณภาพการศึกษา การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา

ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ตามกฎกระทรวงฯ พ.ศ. 25๖๑ กระบวนการพัฒนาการศึกษา เข้าสู่คุณภาพที่สอดคล้องกับ มาตรฐานการศึกษาของชาติ โดยการกำหนดมาตรฐานการศึกษา การจัดระบบและโครงสร้าง การวางแผน และการดำเนินงานตามแผน รวมทั้งการสร้างจิตสำนึก...และความรับผิดชอบร่วมกันทุกคน การพัฒนาคุณภาพการศึกษา

ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ตามกฎกระทรวงฯ พ.ศ. 25๖๑ การประกันคุณภาพภายใน การประเมินผลและการติดตามตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาจากภายในโดยบุคลากรของสถานศึกษานั้นเอง โดยหน่วยงาน ต้นสังกัดมีหน้าที่ให้คำปรึกษา ช่วยเหลือและแนะนำสถานศึกษานั้น

หลักเกณฑ์การประกันคุณภาพการศึกษาภายในขั้นพื้นฐาน กำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา (ค่าเป้าหมาย) จัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา จัดระบบบริหารและสารสนเทศ ดำเนินงานตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จัดให้มีการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา จัดให้มีการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา จัดทำรายงานประจำปีที่เป็นรายงานประเมินคุณภาพภายใน จัดให้มีการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง

การประกันคุณภาพการศึกษา ชั้นเรียน มาตรฐานและตัวชี้วัดตามหลักสูตร แผนการจัดการเรียนรู้ บริหารจัดการชั้นเรียนและ สารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ จัดการเรียนรู้ ติดตามตรวจสอบการจัดการเรียนรู้ ประเมินผลการเรียนรู้ รายงานผลการจัดการเรียนรู้ พัฒนาการจัดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง โรงเรียน มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาและแผนปฏิบัติการประจำปี ระบบบริหารและสารสนเทศ ดำเนินงานตามแผนฯ ติดตามและตรวจสอบคุณภาพการศึกษา ประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา เขียนรายงานประจำปี พัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง PLAN DO CHECK ACT

ประกาศคณะกรรมการประกัน คุณภาพภายในระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐาน เรื่อง แนวปฏิบัติดารดำเนินงาน ประกันคุณภาพการศึกษาระดับ การศึกษา ขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๖๑ ประกาศ ณ วันที่ ๑๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๑

การดำเนินงานของสถานศึกษา 1. การกำหนดมาตรฐาน การศึกษาของสถานศึกษา 1.1 ศึกษา วิเคราะห์มาตรฐานและประเด็นว่าด้วยการประกัน คุณภาพภายในของสถานศึกษาตามที่กระทรวงศึกษาธิการ ประกาศใช้ 1.2 พิจารณาสาระสำคัญที่จะกำหนดในมาตรฐานและประเด็น ที่สะท้อนอัตลักษณ์และมาตรการส่งเสริมของสถานศึกษา

การดำเนินงานของสถานศึกษา 1.3 กำหนดค่าเป้าหมายความสำเร็จของแต่ละมาตรฐานและ ประเด็นพิจารณา 1.4 ประกาศค่าเป้าหมายแต่ละมาตรฐานและประเด็นพิจารณา ว่าด้วยการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาให้ กลุ่ม ผู้เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอกรับทราบ ทั้งนี้ สถานศึกษาอาจกำหนดมาตรฐานการศึกษาของ สถานศึกษาเพิ่มเติม นอกเหนือจากที่กระทรวงศึกษาธิการ ประกาศใช้ได้ (ตัวอย่าง)

การดำเนินงานของสถานศึกษา 2. การจัดทำแผนพัฒนาการจัด การศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่ง คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของ สถานศึกษา 2.1 ให้สถานศึกษาจัดทำ แผนพัฒนาการจัดการศึกษา ดังนี้ 2.1.1 ศึกษา วิเคราะห์สภาพปัญหาและความต้องการจำเป็น ของสถานศึกษาอย่างเป็นระบบโดยใช้ข้อมูลตามสภาพจริงและ ข้อเสนอแนะจาก สมศ.รอบสาม 2.1.2 กำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าหมายด้านต่างๆ โดย มีจุดเน้นที่คุณภาพผู้เรียน ที่สะท้อนคุณภาพความสำเร็จที่ ชัดเจนและเป็นรูปธรรม โดยทุกฝ่ายมีส่วนร่วม

การดำเนินงานของสถานศึกษา 2.1.3 กำหนดวิธีการดำเนินงาน กิจกรรม/โครงการที่สอดคล้องกับมาตรฐาน การศึกษาของสถานศึกษา โดยใช้ กระบวนPDCA กระบวนการวิจัยหรือผลการวิจัยหรือข้อมูลที่อ้างอิงได้ ให้ครอบคลุมการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ กระบวนการเรียนรู้ การส่งเสริมการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล การพัฒนาบุคลากร และการบริหารจัดการ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายตามมาตรฐานที่กำหนดไว้ 2.1.4 กำหนดแหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่นจากภายนอกที่ให้การสนับสนุน ทางวิชาการ

การดำเนินงานของสถานศึกษา 2.1.5 กำหนดบทบาทหน้าที่อย่างชัดเจนให้บุคลากรของ สถานศึกษาและผู้เรียน ร่วมรับผิดชอบและดำเนินงานตามที่กำหนด ไว้อย่างมีประสิทธิภาพ 2.1.6 กำหนดบทบาทหน้าที่และแนวทางการมีส่วนร่วม ของบิดา มารดา ผู้ปกครอง องค์กร หน่วยงาน ชุมชน และ ท้องถิ่น 2.1.7 กำหนดการใช้งบประมาณและทรัพยากรอย่างมี ประสิทธิภาพ ให้สอดคล้องกับกิจกรรม/โครงการ 2.1.8 เสนอแผนพัฒนาการจัดการศึกษาต่อคณะกรรมการ สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และหรือคณะกรรมการสถานศึกษา และ หรือ คณะกรรมการบริหารสถานศึกษาให้ความเห็นชอบ

การดำเนินงานของสถานศึกษา 2.2 ให้สถานศึกษาจัดทำ แผนปฏิบัติการประจำปี ดังนี้ 2.2.1 จัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีที่สอดคล้องกับ แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา 2.2.2 ให้กำหนดปฏิทินการนำแผนปฏิบัติการประจำปีไปสู่ การปฏิบัติที่ชัดเจน 2.2.3เสนอแผนปฏิบัติการประจำปีต่อคณะกรรมการ สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และหรือคณะกรรมการสถานศึกษา และหรือ คณะกรรมการบริหารสถานศึกษาให้ความเห็นชอบ

แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา เป้าหมาย/ ภาพความสำเร็จ * บุคลากร * บริหารจัดการ * บทบาทบุคลากร * การมีส่วนร่วม พ่อแม่ ผู้ปกครอง ผู้นำชุมชน * งบประมาณ * หลักสูตร * การเรียนรู้ * วัดประเมินผล * นวัตกรรม/สื่อ ฯลฯ * มหาวิทยาลัย * พิพิธภัณฑ์พื้นบ้าน แผนปฏิบัติการ ประจำปี แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา เป้าหมาย/ ภาพความสำเร็จ สภาพปัญหา ความจำเป็น วิสัยทัศน์ พันธกิจ ผลวิจัย ข้อมูลเชิงประจักษ์ แหล่งสนับสนุน วิชาการ

การดำเนินงานของสถานศึกษา 3. การจัดระบบบริหารและสารสนเทศ ดำเนินการดังนี้ 3.1 จัดโครงสร้างหรือระบบการบริหารงานของสถานศึกษาที่ เอื้อต่อการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา 3.2 กำหนดผู้รับผิดชอบและจัดระบบสารสนเทศให้เป็น หมวดหมู่ ครอบคลุม เป็นปัจจุบัน สะดวกต่อการเข้าถึงและการ ให้บริการ หรือการเชื่อมโยงเครือข่ายกับหน่วยงานต้นสังกัด 3.3 นำข้อมูลสารสนเทศไปใช้ประโยชน์ในการบริหารและการ พัฒนาการเรียนการสอน

การดำเนินงานของสถานศึกษา 4. การดำเนินงานตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ดำเนินการดังนี้ 4.1 นำแผนปฏิบัติการประจำปีแต่ละปีสู่การปฏิบัติ ตามกรอบ ระยะเวลา และกิจกรรม/โครงการที่กำหนดไว้ 4.2 ผู้รับผิดชอบและผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ และความรับผิดชอบตามที่ได้กำหนดอย่างมีประสิทธิภาพและเกิด ประสิทธิผลสูงสุด

การดำเนินงานของสถานศึกษา 5. การจัดให้มีการติดตาม ตรวจสอบคุณภาพการศึกษา ดำเนินการดังนี้ 5.1 กำหนดผู้รับผิดชอบในการติดตามตรวจสอบคุณภาพ การศึกษาระดับสถานศึกษา 5.2 ติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาทั้งระดับบุคคลและระดับ สถานศึกษา อย่างน้อยภาคเรียนละ 1 ครั้ง 5.3 รายงานและนำผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาไป ใช้ประโยชน์ในการปรับปรุงพัฒนา 5.4 เตรียมการและให้ความร่วมมือในการติดตามตรวจสอบ คุณภาพการศึกษาจากหน่วยงานต้นสังกัด

การดำเนินงานของสถานศึกษา 6.การจัดให้มีการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษา ของสถานศึกษา ดำเนินการดังนี้ 6.1 ให้มีคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายในอย่างน้อย 3 คน ที่ประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกที่หน่วยงานต้นสังกัดขึ้น ทะเบียนไว้อย่างน้อย 1 คน เข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการ ประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 6.2 ดำเนินการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษา ของสถานศึกษา โดยใช้วิธีการและเครื่องมือที่หลากหลายและ เหมาะสม

การดำเนินงานของสถานศึกษา 7. การจัดทำรายงานประจำปีที่เป็นรายงานประเมิน คุณภาพภายใน ดำเนินการดังนี้ 7.1 สรุปและจัดทำรายงานประจำปีที่เป็น รายงานประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาที่ สะท้อนคุณภาพผู้เรียนและผลสำเร็จของการบริหาร จัดการศึกษาตามรูปแบบที่หน่วยงานต้นสังกัด กำหนด (ตัวอย่าง) 7.2 นำเสนอรายงานต่อคณะกรรมการ สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และหรือคณะกรรมการ สถานศึกษา และหรือ คณะกรรมการบริหาร สถานศึกษาให้ความเห็นชอบ 7.3 เผยแพร่รายงานต่อสาธารณชน หน่วยงานต้นสังกัด และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

การดำเนินงานของสถานศึกษา 8. การจัดให้มีการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่าง ต่อเนื่อง ดำเนินการดังนี้ 8.1 ส่งเสริมแนวความคิดเรื่องการประกันคุณภาพ การศึกษาที่มุ่งการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง ให้เกิดขึ้นกับครูและบุคลากรทุกคนในสถานศึกษา และ พัฒนาสถานศึกษาให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ จนเป็น วัฒนธรรมคุณภาพในการทำงานปกติของสถานศึกษา 8.2 นำผลการประเมินคุณภาพภายในของ สถานศึกษา จากการประเมินตนเองหรือจากหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องมาวิเคราะห์ สังเคราะห์ และเลือกสรรข้อมูล สารสนเทศเพื่อนำไปใช้ให้เป็นประโยชน์ต่อการ พัฒนาการบริหารและการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่อง 8.3 เผยแพร่ผลการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและ แลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อให้เกิดการพัฒนา