Introduction to information System

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
1 question 1. 2 sendermessage media channelreceivers feedback จาก แบบจำลองการสื่อสาร ข้างต้น - จงหา ความเหมือน และ ความแตกต่าง ของ sender กับ receivers.
Advertisements

Chapter 1 Introduction to Information Technology
Information System.
Introduction to computers
Knowledge Management (KM)
MIS: Pichai Takkabutr EAU การเติบโตของ ICT ส่งผลกระทบต่อ Organizational SECTORS 3 Sectors World Economy :- Real Sectors :- Hard Goods VS. Upstream.
สิ่งที่จะต้องมีในการดำเนินงาน
Introduction to Information Techonology Fundamental วรวิทย์ พูลสวัสดิ์ : Information Technology Fundamental.
Management To get the thing done thru other people To have someone to do something for us.
ศาสตราจารย์ ดร. ชุติมา สัจจานันท์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
การบริหารโครงการ (Project Management) โครงการ คือ งาน (task) ซึ่งมีการ กำหนดเวลาเริ่มต้นและสิ้นสุด ที่ แน่นอนและมีความต้องการใช้ทรัพยากร ต่างๆใน แต่ละกิจกรรมโดย.
Evidence-based การประชุมชี้แจงการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสการดำเนินงาน ของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and transparency assessment – ita) ประจำปีงบประมาณ.
การฝึกอบรมคืออะไร.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษา
บทที่ 4 กลยุทธ์ระบบสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ อาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์
การเรียนรู้โดยใช้โครงการเป็นฐาน (Project based Learning : PBL)
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบและการวิเคราะห์ระบบ
Information Systems Development
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต
เอกสารประกอบการบรรยาย หลักสูตร Fundamental หัวข้อวิชา องค์กรและระบบงานตรวจสอบภายใน สำนักกำกับและพัฒนาการตรวจสอบภาครัฐ กรมบัญชีกลาง.
หน่วยที่ 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
การประชาสัมพันธ์เบื้องต้นสำหรับงานสิ่งแวดล้อม Introduction to Public Relation for Environment อาจารย์น้ำทิพย์ คำแร่
Data Management (การจัดการข้อมูล)
ความเป็นมาและความสำคัญ ของการเพิ่มผลผลิต
MGT 228 การจัดการสมัยใหม่
การเขียนผังงาน (Flowchart)
บทที่ 7 ระบบสารสนเทศ.
บทที่ 1 ความหมายขอบเขต และผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ.
ความรู้พื้นฐานการเขียนโปรแกรม
ผู้สอน : อ.บุศรินทร์ เอี่ยมธนากุล [อ.อ้อย]
ความสำคัญของการบันทึกข้อมูลที่ถูกต้อง และการนำไปใช้ประโยชน์
คู่มือคุณภาพ Quality Manual
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
ประสบการณ์การทำงาน ชื่อ – ชื่อสกุล นายมานะ ครุธาโรจน์
รร.มุกดารา เขาหลัก พังงา
แนะนำรายวิชา การออกแบบระบบการจัดการเรียนรู้บนเครือข่าย
แนวทางการตอบแบบสำรวจ Evidence-based
สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ
Introduction to information System
โดย โอฬาริก สุรินต๊ะ คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
โรงเรียนคุณภาพประจำตำบล
ปรัชญาชีวิตเพื่อวิถีพอเพียงในชีวิตประจำวัน บทเรียนเรื่อง “ความรู้และการสร้างองค์ความรู้” ภาคต้น ปีการศึกษา 2558 ผู้ช่วยศาสตราจารย์อำนวย พิรุณสาร.
KNOWLEDGE MANAGEMENT (KM)
Yeunyong Kantanet School of Information and Communication Technology
แบบฟอร์มที่ 2 1. ชื่อวิชา  IFM4302 การจัดการความรู้ (Knowledge Management) 2. หัวข้อที่ประจำ สัปดาห์นี้  การเลือกใช้เครื่องมือ (Tools) ในการจัดการความรู้
การประเมินการเรียนการสอน
นายสมชัย ชวลิตธาดา EKACHAI SCHOOl โรงเรียนเอกชัย
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)
แนวคิดเรื่องการรู้สารสนเทศ
บรรยายโดย คุณครูกิริยา ทิพมาตย์ สพม. เขต 23
บทที่ 6 การบริหารและการวางแผนการผลิต
นพ.ชลทิศ อุไรฤกษ์กุล 29 พ.ย.61
ข้อมูลและสารสนเทศ.
ตอนที่ 3.2 กลยุทธ์การบริหารเจ้าหน้าที่
ข้อมูลและสารสนเทศ.
ประชุมผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ณ โรงแรมเอวาน่า บางนา กทม
Why’s KM ?.
สารสนเทศ และการรู้สารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ อาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์
สำนักวิชาพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การควบคุมการผลิตสินค้าและบริการ
นายชลี ลีมัคเดช ทีมพัฒนาระบบฯ
ประเด็นการขับเคลื่อนองค์การไปสู่ระบบราชการ 4.0
GSC151 ชีวิตและสภาพแวดล้อมในโลกแห่งการเปลี่ยนแปลง
Introduction to Structured System Analysis and Design
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
การฝึกอบรมและการพัฒนาบุคคล
อัลกอริทึม (Algorithm) ???
บทที่ 3 ความรู้เกี่ยวกับการจัดการ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Introduction to information System Worapoj promjuk

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสารสนเทศ พีระมิดความรู้ (Knowledge pyramid) พีระมิดความรู้เป็นเครื่องมือที่จะทำให้เข้าใจในความแตกต่างระหว่าง Data, Information, Knowledge และ Wisdom รวมทั้งความสัมพันธ์ระหว่างกัน

ข้อมูล ข้อมูล (Data) คือ ข้อเท็จจริงที่ปรากฏให้เห็นเป็นประจักษ์สามารถรับรู้ทั้งที่สามารถนับได้และนับไม่ได้ มีคุณลักษณะเป็นวัตถุสิ่งของ เหตุการณ์หรือสถานการณ์ ทั้งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและเป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น และต้องเป็นสิ่งมีความหมายในตัวมันเองซึ่งอาจจะอยู่ในรูปของรูปภาพ  แสง สี  เสียง  รส นอกจากนี้ข้อเท็จจริงอาจจะอยู่ในรูปของคุณสมบัติเป็นน้ำหนัก แรง อุณหภูมิ จำนวน ซึ่งสามารถแทนค่าด้วยตัวเลข ตัวอักษรข้อความก็ได้

สารสนเทศ สารสนเทศ (Information) คือ ข้อมูลข่าวสาร ความรู้ต่างๆ ที่ได้รับการสรุป คำนวณ จัดเรียง หรือประมวลแล้วจากข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างเป็นระบบตามหลักวิชาการ จนได้เป็นข้อความรู้ เพื่อนำมาเผยแพร่และใช้ประโยชน์ในงานด้านต่าง ๆ

ความรู้ ความรู้ (Knowledge) คือ สิ่งที่สั่งสมมาจากการศึกษาเล่าเรียน การค้นคว้า หรือประสบการณ์ เป็นความรู้ที่ถูกพัฒนาขึ้นอีกระดับหนึ่งเป็นความรู้ที่ได้ศึกษาจากสารสนเทศ จนเป็นความรู้ของตัวเอง รวมทั้งความสามารถเชิงปฏิบัติหรือทักษะความเข้าใจ

ความรู้ ความรู้ แบ่งเป็น 2 ประเภท 1. ความรู้ฝังลึก (tacit knowledge) คือ ความรู้ที่เกิดจากการเรียนรู้ผ่านประสบการณ์ การลงมือปฏิบัติ หรือเป็นพรสวรรค์ของตนเองที่มีอยู่ สิ่งเหล่านี้จัดเป็นความรู้ชนิดที่ยากต่อการถ่ายทอด หรือสื่อสารให้ผู้อื่นเข้าใจ หรือเรียกว่าความรู้แบบนามธรรม 2. ความรู้ชัดแจ้ง (explicit knowledge) คือความรู้ที่สามารถถ่ายทอด หรือสื่อสารให้ผู้อื่นเข้าใจได้ ความรู้ประเภทนี้ คือ ความรู้ที่ถูกเขียนออกมาเป็นตำรา เป็นคู่มือ เป็นเอกสารต่างๆ หรือเรียกว่าความรู้แบบรูปธรรม

ความฉลาด หรือ สติปัญญา (Wisdom) คือ การรวบรวมความรู้ วิเคราะห์สังเคราะห์ เข้ากับประสบการณ์ และเหตุผลกลายเป็น ภูมิปัญญา

สารสนเทศ (Information) ความหมาย 1 วิมานพร รูปใหญ่ และคณะ (2551, 5) กล่าวว่า สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูล ข่าวสาร ข้อเท็จจริง ความรู้ ความคิด เรื่องราว ที่รวบรวม บันทึกไว้ในสื่อใดใด เป็นลายลักษณ์อักษร เครื่องหมาย สัญลักษณ์ รูปภาพ แผนที่ แผนภูมิ ฯลฯ ซึ่งได้ผ่านกระบวนการรวบรวม คัดเลือก ประเมินค่า และจัดเก็บไว้สำหรับการ นำไปใช้ประโยชน์อย่างสะดวก

สารสนเทศ (Information) ความหมาย 2 อรอุมา สืบกระพัน (2552) ได้ให้ ความหมายว่า สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูล ข่าวสารที่ผ่านการเลือกสรร ประมวลผลอย่างเป็นระบบและจัดเก็บ ในรูปแบบต่างๆ สามารถนำไปเผยแพร่ ให้เหมาะสมกับการใช้งาน ทันเวลา เพื่อเกิดประโยชน์ด้านต่างๆ กับ บุคคล และสังคม

สารสนเทศ (Information) สรุปความหมาย สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูล ข่าวสาร เรื่องราวต่างๆ ที่นำมา ผ่านกระบวนการ การประมวลผล ให้อยู่ในรูปแบบที่สามารถนำไปใช้ ประโยชน์ได้

สารสนเทศ (Information) ความสำคัญ ยุคสังคมสารสนเทศ (Information Age) ข้อมูล ข่าวสารและสารสนเทศ แพร่กระจายได้อย่างรวดเร็ว เทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัย เป็นส่วนหนึ่งของชีวิต ทุกเพศวัย ไปไหนก็เจอ จะนอน จะตื่น จะลุก จะนั่ง อยู่ทุกหนแห่ง

การรู้สารสนเทศ ความหมายของการรู้สารสนเทศ การรู้สารสนเทศ (Information Literacy) หมายถึง ความรู้ความสามารถและทักษะของบุคคลในการเข้าถึงสารสนเทศ ประเมินสารสนเทศที่ค้นมาได้ และใช้สารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพทุกรูปแบบ ผู้รู้สารสนเทศจะต้องมีทักษะในด้านต่างๆ เช่น ทักษะการคิดวิเคราะห์และ / หรือ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ ทักษะการใช้ภาษา ทักษะการใช้ห้องสมุด ทักษะการใช้คอมพิวเตอร์ เป็นต้น

“เรียนรู้ได้ด้วยตนเอง (Learn How to Learn)” การรู้สารสนเทศ ความสำคัญ จาก ความสำคัญของสารสนเทศ สู่ ความสำคัญของการรู้สารสนเทศ การรู้สารสนเทศ เป็นเครื่องมือช่วยให้ สามารถ “เรียนรู้ได้ด้วยตนเอง (Learn How to Learn)”

การรู้สารสนเทศ ความสำคัญของการรู้สารสนเทศ (สรุป) บุคคลสามารถแสวงหาสารสนเทศตามความต้องการได้อย่างมีประสิทธิภาพ ได้รับรู้โอกาสในการเลือกใช้แหล่งสารสนเทศและแยกแยะแหล่งสารสนเทศได้ ได้วิเคราะห์และเลือกใช้สารสนเทศจากเครื่องมือสืบค้นสารสนเทศ เช่น จากคอมพิวเตอร์ และจากเทคโนโลยีสารสนเทศประเภทอื่นๆ มีความสะดวกต่อการใช้สื่อ หรือทรัพยากรสารสนเทศที่หลากหลาย ที่เหมาะสมที่สุด มีความระมัดระวังต่อการใช้สารสนเทศทั้งที่เชื่อถือได้และเชื่อถือไม่ได้ สามารถถ่ายทอดสารสนเทศที่รู้ให้ผู้อื่นทราบได้

องค์ประกอบของการรู้สารสนเทศ - ความรู้ความสามารถ ทักษะด้านการรู้หรือ การตระหนักถึงความต้องการสารสนเทศ คือ การ เข้าใจถึงคุณค่า ความสำคัญ ความจำเป็นของ สารสนเทศในการช่วยพัฒนาตนเอง - ความรู้ความสามารถ ทักษะด้านการค้นหา สารสนเทศ รู้แหล่งสารสนเทศ รู้วิธีการในการ สืบค้น - ความรู้ความสามารถ ทักษะด้านการประเมิน สารสนเทศ คือ การพิจารณาเลือกสารสนเทศที่ สอดคล้องหรือตรงกับความต้องการ

องค์ประกอบของการรู้สารสนเทศ - ความรู้ความสามารถ ทักษะด้านการประมวล สารสนเทศ โดยการฝึกทักษะด้านการอ่าน การคิด วิเคราะห์ การรวบรวม การเรียบเรียงสารสนเทศ - ความรู้ความสามารถ ทักษะด้านการใช้และ ถ่ายทอดสารสนเทศ นำสารสนเทศไปใช้ประโยชน์ ต่อตนเอง รวมทั้งเผยแพร่สารสนเทศ ถ่ายทอด สารสนเทศแก่ผู้อื่น

ระบบ (System) ระบบ(System) มีความหมาย ตามพจนานุกรม ฉบับ ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2525 ว่า ระบบ คือ ระเบียบเกี่ยวกับการรวมสิ่ง ต่างๆ ซึ่งมีลักษณะซับซ้อนให้เข้า ลำดับประสานเป็นอันเดียวกันตาม หลักเหตุผลทาง วิชาการ หรือ หมายถึงปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ ซึ่งมีความสัมพันธ์ ประสานเข้ากัน โดยกำหนดรวมเป็นอันหนึ่งอัน เดียวกัน

ระบบ (System) ระบบ(System) คือ กระบวนการต่างๆ ที่อยู่ในเครือข่าย เดียวกันและมีความสัมพันธ์กัน ระหว่างกระบวนการเหล่านั้น และ เชื่อมต่อกันเพื่อทำงานใดงานหนึ่งให้ บรรลุถึงเป้าหมายที่วางไว้ ระบบ(System) คือ กลุ่มของ องค์ประกอบต่างๆ ที่ทำงานร่วมกัน เพื่อจุดประสงค์อันเดียวกัน

ระบบ (System) ระบบ หมายถึง สิ่งที่ประกอบด้วย องค์ประกอบหน่วยย่อยหลายๆ หน่วยที่มีความสัมพันธ์กัน ทำหน้าที่ ประสานกัน โดยมีเป้าหมายเดียวกัน ในการแปรสภาพ หรือประมวลผล (Process) ทรัพยากรที่นำเข้า (Input) ให้ได้ ผลลัพธ์ (Output) หรือผลผลิต ระบบ หมายถึง การทำงานร่วมกัน ของส่วนประกอบแต่ละส่วนอย่างมี ความสัมพันธ์กันอย่างต่อเนื่องเพื่อ นำไปสู่ความสำเร็จตามเป้าหมายที่ ได้วางไว้

องค์ประกอบของระบบ ระบบจะประกอบไปด้วยองค์ประกอบสำคัญ ดังนี้ 1. ตัวป้อน (input) ได้แก่ ทรัพยากร หรือข้อมูลนำเข้า 2. กระบวนการเนินงาน (process) ได้แก่ การ ปฏิสัมพันธ์ขององค์ประกอบ เพื่อทำให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงของผลผลิต  3. ผลผลิต (output) ได้แก่ จุดหมายปลายทางของการ ดำเนินการ 4. ข้อมูลป้อนกลับ (feedback) ได้แก่ข้อมูล ข้อเสนอแนะเพื่อใช้ปรับปรุงแก้ไขให้การทำงานเป็นไป อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

ระบบ (System)

การบริการทางวิชาการอื่นๆ ระบบ (System) ตัวอย่างระบบและส่วนประกอบของระบบ ระบบ ส่วนประกอบ เป้าหมาย ส่วนนำเข้า ประมวลผล ผลลัพธ์ สถาบัน การศึกษา ผู้เรียน ผู้สอน ผู้บริหาร ตำรา และ อุปกรณ์อื่นๆ การสอน การวิจัย การบริการทางวิชาการอื่นๆ บัณฑิต งานวิจัย การได้มา ซึ่งความรู้

ลักษณะของระบบ องค์ประกอบของระบบทุกระบบ จะมีความสัมพันธ์และพึ่งพาอาศัยกัน ระบบทุกระบบต้องมีเป้าหมายที่แน่นอน องค์ประกอบภายในระบบแม้จะมีหน้าที่ต่างกัน แต่ต้องมีเป้าหมายเดียวกัน ระบบทุกระบบต้องมีปัจจัยนำเข้าและผลลัพธ์ ระบบทุกระบบต้องมีขั้นตอน เพื่อจัดกระทำกับปัจจัยนำเข้าให้ได้ผลลัพธ์ตามเป้าหมายของระบบ ระบบทุกระบบต้องมีขอบเขตที่แน่นอน สิ่งที่อยู่นอกระบบจะถูกเรียกว่า สิ่งแวดล้อม (Environment)

ลักษณะของระบบ 6. ระบบทุกระบบต้องมีแผน (Planning) มีการควบคุม (Control) และการให้ข้อมูลย้อนกลับ (Feedback) 7. ระบบทุกระบบย่อมมีโครงสร้าง สามารถแบ่งย่อยๆออกเป็นระบบย่อยได้หลายระดับ 8. ระบบย่อยใดๆ แม้มีความสัมพันธ์กัน ย่อมมีข้อแตกต่างกันในภารกิจ และสามารถเขียนหรืออธิบายความสัมพันธ์ของภารกิจได้อย่างชัดเจน 9. การดำเนินการภายในของระบบใดๆ สามารถทำได้หลายทาง โดยบรรลุวัตถุประสงค์สุดท้ายของระบบเหมือนกัน

ระบบสารสนเทศ (Information system)

ระบบสารสนเทศ (Information system) ระบบสารสนเทศ หมายถึง ชุดขององค์ประกอบที่ทำ หน้าที่รวบรวม  ประมวลผล จัดเก็บ และแจกจ่าย สารสนเทศ เพื่อช่วยการตัดสินใจ และการควบคุมใน องค์กร  ในการทำงานของระบบสารสนเทศประกอบไป ด้วยกิจกรรม 3 อย่าง คือ การนำข้อมูลเข้าสู่ ระบบ (Input)  การประมวลผล (Processing)  และ การ นำเสนอผลลัพธ์ (Output)  ระบบสารสนเทศอาจจะมีการ สะท้อนกลับ (Feedback) เพื่อการประเมินและปรับปรุง ข้อมูลนำเข้า  ระบบสารสนเทศอาจจะเป็นระบบที่ ประมวลด้วยมือ(Manual) หรือระบบที่ใช้คอมพิวเตอร์ก็ ได้ (Computer-based information system –CBIS) (Laudon & Laudon, 2001)

ระบบสารสนเทศ (Information system) สรุปได้ว่า ระบบสารสนเทศ ก็คือ ระบบของ การจัดเก็บ ประมวลผลข้อมูล โดยอาศัยบุคคลและ เทคโนโลยีสารสนเทศในการดำเนินการ เพื่อให้ได้ สารสนเทศที่เหมาะสมกับงานหรือภารกิจแต่ละ อย่าง

การสืบค้นข้อมูลหนังสือในห้องสมุด แบบฝึกหัด ให้นักศึกษาศึกษาค้นคว้า ระบบ (system) ระบบอะไรก็ ได้ ไม่จำกัดเนื้อหาหรือแนวทาง แล้วนำมาเขียนลงในตาราง คนละ 1 ระบบ (ส่งเป็นไฟล์ PDF ไปที่อีเมล์ของ อ.) ตัวอย่าง ระบบ ส่วนประกอบ เป้าหมาย ส่วนนำเข้า ประมวลผล ผลลัพธ์ การสืบค้นข้อมูลหนังสือในห้องสมุด คำค้น ชื่อเรื่องรหัส โปรแกรม ฐานข้อมูล ชื่อหนังสือ สถานที่ สถานะ หนังสือ