การอบรม ระบบหนังสือบันทึกอิเล็กทรอนิกส์ eMemo ปี 2560 สำหรับ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

โปรแกรมขึ้นทะเบียนเกษตรกร ผู้ปลูกข้าวนาปี ปี 2557/58
๒. ผู้ขอประเมินทำหนังสือแสดงเจตนาขอเข้ารับ การประเมิน ตามหนังสือแสดงเจตนา ๒. ผู้ขอประเมินทำหนังสือแสดงเจตนาขอเข้ารับ การประเมิน ตามหนังสือแสดงเจตนา ๓.
แนวทางการบริหารงบประมาณ
การจัดการองค์ความรู้ ( KM )
นักทรัพยากรบุคคล ชำนาญการพิเศษ
การดำเนินงานด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศ และ คอมพิวเตอร์ ปีงบประมาณ 2551 กองบำรุงพันธุ์สัตว์
ตัวอย่างแบบฟอร์มการออกแบบกระบวนการ
1. 2 วาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ วาระที่ 2 รับรองรายงานการประชุมครั้งที่ 2/2552 เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2552 วาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ.
ผอ. สำนัก... (1/1) กลุ่มงาน เลขานุการ ข้าราชการ 44 ลูกจ้างประ จำ -- พนักงาน ราชการ 22 กลุ่มงานบริหาร ทั่วไป ข้าราชการ -- ลูกจ้างประ จำ 11 พนักงาน ราชการ.
พัทลุง นายเจษฎา ครรชิตานุรักษ์ -ว่าง- นายวีระยุทธ เมฆินทรางกูร
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2625 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4241 อัตราว่าง จำนวน 1 อัตรา ตำแหน่งนักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
รายงานเดือน พฤษภาคม หัวหน้าสำนักงานตรวจสอบ ภายใน (1/1) สายตรวจที่ 2 ข้าราชการ 2 พนักงานราชการ 11 ลูกจ้างประจำ -- 2 ฝ่ายบริหารงานทั่วไป ข้าราชการ.
การรับหนังสือ ในระบบสารบรรณ
1 นางสรัลพัชร ประ โมทะกะ โยธาธิการและผังเมือง จังหวัด นายสุชาติ กิมาคม หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ ผังเมือง นายกุลเกียรติ เทพมงคล หัวหน้าฝ่ายปฏิบัติการ นายพสธร.
การติดตามประเมินผล และรายงาน.
ระบบบริหารงานบุคคล.
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2623 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4239 อัตราว่าง จำนวน 3 อัตรา ( ชำนาญการพิเศษ = 2 ชำนาญการ = 1) มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
เอกสารการบรรยายเรื่อง
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 39 สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน 16 พฤษภาคม 2558 ณ โรงแรมน่านเจ้า จังหวัดพิษณุโลก การประชุมชี้แจง เรื่อง.
นางหทัยรัตน์ หงษ์ทอง ตำแหน่ง หัวหน้าฝ่ายบริหาร และพิธีการบิน.
1. เพื่อสื่อสารนโยบายสู่ผู้บริหารใน ส่วนกลาง ผู้บริหารส่วนผู้ภูมิภาค ผู้บริหารเขตพื้นที่การศึกษา ผู้บริหาร สถานศึกษา ครูและบุคลากรทางการ ศึกษาในสังกัดสพฐ.
การใช้งาน “ ระบบงานสารบรรณ อิเล็กทรอนิกส์ ” 1. m/iwebflow m/2013/ การเข้าสู่โปรแกรมการใช้งาน 2.
การปรับโครงสร้าง โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาแม่ แตง.
ขั้นตอนการใช้บริการต้องทำอย่างไร  สถานประกอบกิจการ ต้องดำเนินการตาม ขั้นตอนต่อไปนี้ ตรวจสอบข้อมูลสถานประกอบกิจการในระบบ ที่
หนังสือ เข้า 1. หน่วยสาร บรรณ หรือ งานธุรการ ระบบสารบรรณกระดาษ - บันทึกรายละเอียดผ่านระบบ - สแกนเอกสารลงระบบ ( กรณีเร่งด่วน ) 2. หน่วยงาน ภายใน - ลงทะเบียนรับผ่านระบบ.
กลุ่มนโยบายและแผนงาน ฝ่ายแผนและพัฒนา
(ตะกร้าสารบรรณกลาง มวล.) (ตะกร้าส่วนสารบรรณฯ) 3.เลขาฯรองอธิการบดีฝ่าย
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลงจากปี 2560
“วิธีการใช้งาน PG Program New Version สำหรับ PGD”
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
รายงานการประชุม งานวิจัยและพัฒนา ประจำเดือนพฤศจิกายน 2554.
ระบบบริการประชาชน กรมทางหลวงชนบท
ระบบบริหารจัดการงานวิจัยของหน่วยงาน Department Research Management System DRMS โดยทีมพัฒนาระบบ DRMS สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
คู่มือ การจัดทำและนำส่งการรายงานการเปลี่ยนแปลงการถือหลักทรัพย์และสัญญาซื้อขายล่วงหน้าของกรรมการ ผู้บริหาร ผู้สอบบัญชี ผู้ทำแผน และผู้บริหารแผน ขั้นตอนที่
ณ ห้องประชุม พธ.ทร.(๒) วันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ เวลา ๐๙๓๐
งานสารบรรณและ สารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ กรมอนามัย
โปรแกรมระบบจัดเก็บข้อมูลสถิติคดีของศาลยุติธรรม
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานบริหารและธุรการ คณะบริหารธุรกิจ
ผลการประชุมเครือข่ายแผน
วันที่ 15 – 16 มิถุนายน 2558 ณ สำนักคอมพิวเตอร์และเครือข่าย
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
โดย กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค
EB9 หน่วยงานของท่านมีการดำเนินการเพื่อป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนในหน่วยงานอย่างไร (1) มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับการปฏิบัติงานที่อาจเกิดผลประโยชน์ทับซ้อน.
KMA หมวด 6 การจัดการกระบวนการ.
วาระการประชุมคณะกรรมการกำกับดูแลองค์การที่ดี สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข ครั้งที่ ๑/๒๕๖๐ วันพฤหัสบดีที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ เวลา ๐๙.๓๐ – ๑๒.๐๐ ณ.
โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูล วัตถุเสพติดของกลาง (ระยะที่1)
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
การอบรมระบบงานฯสำหรับผู้ใช้งาน (ส่วนภูมิภาค)
จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ( )
กระบวนการจัดการข้อร้องเรียนของกรมอนามัย
การประชุมเพื่อหารือเกี่ยวกับโครงการยกเลิกสำเนา
รายวิชา การบริหารการศึกษา
ระดับความสำเร็จในการแก้ไข เรื่องร้องเรียนจากประชาชน/ผู้รับบริการ
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
EB7 หน่วยงานของท่านมีช่องทางให้. ประชาชน. เข้าถึงข้อมูลของหน่วยงาน
ลำดับการทำงานระบบสารบรรณกลางโรงเรียน
ระบบงานรับสมัครนักเรียนใหม่ 61
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2560
คู่มือการใช้งานระบบเสนอหัวข้อของนักศึกษา
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
ระบบสำนักงานอัตโนมัติ (Office Automation : OA)
การวิเคราะห์กลั่นกรองหนังสือราชการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
การจัดทำแผนการจัดซื้อจัดจ้าง
สำนักงานปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
การประกวดสิ่งประดิษฐ์ ของคนรุ่นใหม่
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การอบรม ระบบหนังสือบันทึกอิเล็กทรอนิกส์ eMemo ปี 2560 สำหรับ สำหรับผู้ร่าง, ผู้ตรวจร่าง, และ เจ้าหน้าที่สารบรรณ วันที่ 27 - 28 เมษายน 2560

วัตถุประสงค์เพื่อ 1 แจ้งการปรับปรุงระบบ eMemo (update program) 1.1 ตะกร้างาน (ตะกร้าร่าง, ตะกร้าสารบรรณฯ) 1.2 สถานะ eMemo 1.3 แบบฟอร์มบันทึก 1.4 รายชื่อ ผู้ร่าง, ผู้ตรวจร่าง, จนท.สารบรรณ, ผู้บริหาร (ผู้ลงนาม) 2 ชี้แจงแนวปฏิบัติการใช้งาน ememo 2.1 แบบฟอร์มอิเล็กทรอนิกส์ ประกอบด้วย บันทึกภายใน, บันทึกภายในส่งภายนอก, ตอบรับ 2.2 การประยุกต์ใช้หนังสือ eMemo กับหนังสือทั้ง 5 ประเภท ประกอบด้วย เชิญประชุม, เชิญอบรม , เชิญเป็นกรรมการ , หนังสือเวียน (ว.) , บันทึกตอบรับ 2.2 กระบวนการร่าง, ตรวจร่าง และ การเสนอเพื่อขอลงนามอิเล็กทรอนิกส์ 3 การติดตามงานการใช้งานของ ศูนย์ฯ, สำนักงาน ในวันที่ 1-19 พค. 60

1 แจ้งการปรับปรุงระบบ eMemo (update program) 1.1 ตะกร้างาน (ตะกร้าร่าง, ตะกร้าสารบรรณฯ) ตะกร้าร่าง ตะกร้าสารบรรณฯ (ผู้สร้าง eMemo) ตะกร้าสารบรรณฯ (ผู้รับ) ผู้ร่าง, ผู้ตรวจร่าง 1 จนท.สารบรรณ 2 5 เจ้าหน้าที่งานสารบรรณ (งานรับ) แจ้งหัวหน้างาน พิจารณา รับร่าง เสนอหัวหน้างานพิจารณา 3 หัวหน้างานสารบรรณ 6 หัวหน้างานสารบรรณ ตรวจสอบแก้ไข เสนอ ผช. พิจารณา เสนอ ผอ. ลงนาม เสนอผู้บริหาร 4 ผู้บริหาร (ผู้ลงนาม) ลงนามอิเล็กทรอนิกส์ 7 ผู้บริหาร (ผู้ลงนาม) 1.2 สถานะ eMemo = รับทราบ/สั่งการ = ตอบกลับ ตอบกลับหน่วยงานต้นเรื่อง

1.3 แบบฟอร์มบันทึก ตำแหน่งผู้บริหารหน่วยงาน (หน่วยงานผู้รับ) ย่อหน้า กลางหน้ากระดาษ สุดกั้นหลัง

1.4 รายชื่อ ผู้ร่าง, ผู้ตรวจร่าง, จนท.สารบรรณ, ผู้บริหาร (ผู้ลงนาม) 1.4.1 ตรวจสอบข้อมูลได้จากเอกสารแนบ Ad.15/2560  1.4.2 ต้องการเพิ่มเติมรายชื่อ จัดทำบันทึกส่ง ศูนย์เทคโนฯ ชื่อ ไทย, อังกฤษ, email, สถานะในระบบ (ร่าง-ตรวจสอบร่าง, จนท.ธุรการ, ผู้ลงนาม)

2 ชี้แจงแนวปฏิบัติการใช้งาน ememo 2.1 แบบฟอร์มอิเล็กทรอนิกส์ ประกอบด้วย บันทึกภายใน, บันทึกภายในส่งภายนอก, ตอบรับ 2.2 การประยุกต์ใช้หนังสือ eMemo กับหนังสือทั้ง 5 ประเภท ประกอบด้วย เชิญประชุม, เชิญอบรม , เชิญเป็นกรรมการ , หนังสือเวียน (ว.) , บันทึกตอบรับ 2.2 กระบวนการร่าง, ตรวจร่าง และ การเสนอเพื่อขอลงนามอิเล็กทรอนิกส์

บันทึกภายในส่งภายนอก เส้นขั้นหน้า 2

บันทึก ตอบรับ

ขั้นตอนการทำงานระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ eMemo และ e-Signature (ระดับศูนย์/สำนักงาน) การประยุกต์ใช้ eMemo  เชิญประชุม  เชิญอบรม, สัมมนา  เชิญเป็นกรรมการ  หนังสือเวียน (เติม ว.) หน่วยงาน / ผู้ใช้งาน 1 ตะกร้าร่าง eMemo 1.1 ผู้ร่าง 1.2 ผู้ตรวจสอบร่าง 2 สารบรรณ ผู้สร้าง eMemo 2.1 จนท.งานสารบรรณ 2.2 หัวหน้าฝ่ายบริหารฯ / เลขาฯ ผู้บริหาร 2.3 ผู้ลงนาม (ผอ./ ผู้ที่ได้รับมอบหมายให้ลงนาม) 3 สารบรรณ ผู้รับ eMemo / ตอบกลับ 3.1 จนท.งานสารบรรณ 3.2 หัวหน้าฝ่ายบริหารฯ / เลขาฯ ผู้บริหาร ฟอร์มอิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ 1 หนังสือภายใน (บันทึกข้อความ) 2 หนังสือภายนอก (จดหมายหัวกาชาด) 3 หนังสือตอบรับ 4 หนังสือภายนอก กช. (ลงนามโดยเลขาธิการฯ) ตะกร้าร่าง eMemo 1.1 ผู้ร่าง > เสนอหัวหน้า ตรวจสอบ 1.2 ผู้ตรวจสอบร่าง > พิจารณาหนังสือร่าง สารบรรณ ผู้สร้าง eMemo สารบรรณ ผู้รับ eMemo / ตอบกลับ 3.1 จนท.งานสารบรรณ > รับเรื่อง eMemo 2.1 จนท.งานสารบรรณ > รับเรื่องร่าง eMemo 3.2 หัวหน้าฝ่ายบริหารฯ / เลขาฯ ผู้บริหาร > พิจารณาและดำเนินการ 3.3 จนท.งานสารบรรณ > รับคำสั่งการ เพื่อดำเนินการ 3.3.1 เสนอ, บันทึก, ส่ง หรือ ปิดงาน 3.3.2 กรณี ตอบกลับ เลือก “หนังสือตอบรับ eMemo” 2.2 หัวหน้าฝ่ายบริหารฯ / เลขาฯ ผู้บริหาร 2.2.1 พิจารณาและดำเนินการ , ตรวจสอบความถูกต้อง 2.2.2 เสนอ ผู้บริหารลงนาม (ผอ. / ผู้ได้รับมอบหมายลงนาม) ** กรณีเสนอ รอง, ผช. ตรวจสอบก่อนลงนาม เลือกสถานะ จากนั้นให้ดำเนินการในหัวข้อ 2.2.2 เสนอ ผู้บริหารลงนาม 2.3 ผู้ลงนาม (ผอ. / ผู้ได้รับมอบหมายลงนาม) - พิจารณาลงนามเอกสาร - ระบบออกเลขที่หนังสือภายในให้อัตโนมัติ ** หน่วยงานต้นเรื่อง** สามารถติดตามสถานะของ “เอกสารตอบกลับ” ได้จาก “หนังสือร่าง, เลขที่หนังสือส่งออก” ** 2.4 จนท.งานสารบรรณ ส่ง หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

(ระดับศูนย์/สำนักงาน) ตะกร้าร่าง eMemo ขั้นตอนการสร้าง แบบฟอร์มหนังสือภายใน (บันทึกข้อความ) และการตอบกลับ ด้วย หนังสือตอบรับ (ระดับศูนย์/สำนักงาน) การประยุกต์ใช้ eMemo  เชิญประชุม  เชิญอบรม, สัมมนา  เชิญเป็นกรรมการ  หนังสือเวียน (เติม ว.) หน่วยงาน / ผู้ใช้งาน 1 ตะกร้าร่าง eMemo 1.1 ผู้ร่าง 1.2 ผู้ตรวจสอบร่าง 2 สารบรรณ ผู้สร้าง eMemo 2.1 จนท.งานสารบรรณ 2.2 หัวหน้าฝ่ายบริหารฯ / เลขาฯ ผู้บริหาร 2.3 ผู้ลงนาม (ผอ./ ผู้ที่ได้รับมอบหมายให้ลงนาม) 3 สารบรรณ ผู้รับ eMemo / ตอบกลับ 3.1 จนท.งานสารบรรณ 3.2 หัวหน้าฝ่ายบริหารฯ / เลขาฯ ผู้บริหาร ฟอร์มอิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ 1 หนังสือภายใน (บันทึกข้อความ) 2 หนังสือภายนอก (จดหมายหัวกาชาด) 3 หนังสือตอบรับ 4 หนังสือภายนอก กช. (ลงนามโดยเลขาธิการฯ) ตะกร้าร่าง eMemo 1.1 ผู้ร่าง > เสนอหัวหน้า ตรวจสอบ 1.2 ผู้ตรวจสอบร่าง > พิจารณาหนังสือร่าง สารบรรณ ผู้รับ eMemo / ตอบกลับ 3.1 จนท.งานสารบรรณ > รับเรื่อง eMemo สารบรรณ ผู้สร้าง eMemo 3.2 หัวหน้าฝ่ายบริหารฯ / เลขาฯ ผู้บริหาร > พิจารณาและดำเนินการ 3.3 จนท.งานสารบรรณ > รับคำสั่งการ เพื่อดำเนินการ 3.3.1 บันทึก, ส่ง หรือ ปิดงาน 3.3.2 กรณี ตอบกลับ (มี 2 วิธี) 3.3.2.1 เลือก “หนังสือตอบรับ eMemo” > ใส่ข้อมูล “กดปุ่มตกลง” > “ระบบออกเลขที่หนังสือภายใน” > ปิดงาน หรือ 3.2.2.2 เพิ่มภาพสแกน แนบบันทึกต้นทาง 2.1 จนท.งานสารบรรณ > รับเรื่องร่าง eMemo 2.2 หัวหน้าฝ่ายบริหารฯ / เลขาฯ ผู้บริหาร 2.2.1 พิจารณาและดำเนินการ , ตรวจสอบความถูกต้อง 2.2.2 เสนอ ผู้บริหารลงนาม (ผอ. / ผู้ได้รับมอบหมายลงนาม) ** กรณีเสนอ รอง, ผช. ตรวจสอบก่อนลงนาม เลือกสถานะ จากนั้นให้ดำเนินการในหัวข้อ 2.2.2 เสนอ ผู้บริหารลงนาม 2.3 ผู้ลงนาม (ผอ. / ผู้ได้รับมอบหมายลงนาม) - พิจารณาลงนามเอกสาร - ระบบออกเลขที่หนังสือภายในให้อัตโนมัติ (EX. ศท.123/2560 ) ** หน่วยงานต้นเรื่อง** สามารถติดตามสถานะของ “เอกสารตอบกลับ” ได้จาก “หนังสือร่าง, เลขที่หนังสือส่งออก” ** 2.4 จนท.งานสารบรรณ ส่ง หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

ขั้นตอนการสร้าง แบบฟอร์มหนังสือส่งภายนอก (จดหมายหัวกาชาด) (ระดับศูนย์/สำนักงาน) การประยุกต์ใช้ eMemo  เชิญประชุม  เชิญอบรม, สัมมนา  เชิญเป็นกรรมการ  หนังสือเวียน (เติม ว.) หน่วยงาน / ผู้ใช้งาน 1 ตะกร้าร่าง eMemo 1.1 ผู้ร่าง 1.2 ผู้ตรวจสอบร่าง 2 สารบรรณ ผู้สร้าง eMemo 2.1 จนท.งานสารบรรณ 2.2 หัวหน้าฝ่ายบริหารฯ / เลขาฯ ผู้บริหาร 2.3 ผู้ลงนาม (ผอ./ ผู้ที่ได้รับมอบหมายให้ลงนาม) 3 หน่วยงานภายนอก ฟอร์มอิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ 1 หนังสือภายใน (บันทึกข้อความ) 2 หนังสือภายนอก (จดหมายหัวกาชาด) 3 หนังสือตอบรับ 4 หนังสือภายนอก กช. (ลงนามโดยเลขาธิการฯ) ตะกร้าร่าง eMemo 1.1 ผู้ร่าง > เสนอหัวหน้า ตรวจสอบ 1.2 ผู้ตรวจสอบร่าง > พิจารณาหนังสือร่าง ประโยชน์การใช้งาน 1 ลดการใช้กระดาษ และหมึกพิมพ์ สำหรับการตรวจสอบการร่างหนังสือ 2 ข้อมูลการร่างถือเป็น ข้อมูลสำคัญในการ เรียนรู้ของหน่วยงาน 3 เรื่องที่ลงนามแล้ว จะถูกสำเนาไวในระบบ หน่วยงาน ลดพื้นที่ในการจัดเก็บ 4 โครงร่างที่ถูกต้อง ทำให้ผู้ร่างเกิดการเรียนรู้ที่รวดเร็วยิ่งขึ้น 5 โครงร่างที่ถูกต้อง สามารถนำมาปรับข้อมูลเพื่อเสนอในการลงนามครั้งต่อไป ได้รวดเร็วยิ่งขึ้น 6 ส่งเมล์ไปยังผู้เกี่ยวข้อได้ 7 โอนเก็บเข้าตู้จัดเก็บเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ได้ สารบรรณ ผู้สร้าง eMemo 2.1 จนท.งานสารบรรณ > รับเรื่องร่าง eMemo 2.2 หัวหน้าฝ่ายบริหารฯ / เลขาฯ ผู้บริหาร 2.2.1 พิจารณาและดำเนินการ , ตรวจสอบความถูกต้อง 2.2.2 เสนอ ผู้บริหารลงนาม (ผอ. / ผู้ได้รับมอบหมายลงนาม) ** กรณีเสนอ รอง, ผช. ตรวจสอบก่อนลงนาม เลือกสถานะ จากนั้นให้ดำเนินการในหัวข้อ 2.2.2 เสนอ ผู้บริหารลงนาม 2.3 ผู้ลงนาม (ผอ. / ผู้ได้รับมอบหมายลงนาม) - พิจารณาลงนามเอกสาร - ระบบออกเลขที่หนังสือภายในให้อัตโนมัติ หน่วยงานภายนอก ** 2.4 จนท.งานสารบรรณ พิมพ์เอกสาร ปิดงาน จัดส่งไปยังหน่วยงานภายนอก (ไปรษณีย์, โทรสาร หรือ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ E-Mail)

ขั้นตอนการสร้าง แบบฟอร์มหนังสือภายนอก กช. (ท่านเลขาธิการฯ ลงนาม) การประยุกต์ใช้ eMemo  เชิญประชุม  เชิญอบรม, สัมมนา  เชิญเป็นกรรมการ  หนังสือเวียน (เติม ว.) หน่วยงาน / ผู้ใช้งาน 1 ตะกร้าร่าง eMemo 1.1 ผู้ร่าง 1.2 ผู้ตรวจสอบร่าง 2 สารบรรณ ผู้สร้าง eMemo 2.1 จนท.งานสารบรรณ 2.2 หัวหน้าฝ่ายบริหารฯ / เลขาฯ ผู้บริหาร 2.3 ผู้บริหาร 3 สารบรรณกลาง สภากาชาดไทย (สบ.) 3.1 จนท.งานสารบรรณ 3.2 หัวหน้าฝ่ายบริหารฯ / เลขาฯ ผู้บริหาร 3.3 ท่านเลขาธิการฯ ฟอร์มอิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ 1 หนังสือภายใน (บันทึกข้อความ) 2 หนังสือภายนอก (จดหมายหัวกาชาด) 3 หนังสือตอบรับ 4 หนังสือภายนอก กช. (ลงนามโดยเลขาธิการฯ) ตะกร้าร่าง eMemo 1.1 ผู้ร่าง > เสนอหัวหน้า ตรวจสอบ 1.2 ผู้ตรวจสอบร่าง > พิจารณาหนังสือร่าง สารบรรณกลาง สภากาชาดไทย (สบ.) 3.1 จนท.งานสารบรรณ > รับเรื่องเสนอเพื่อลงนาม สารบรรณ ผู้สร้าง eMemo (กช) 2.1 จนท.งานสารบรรณ > รับเรื่องร่าง eMemo 3.2 หัวหน้าฝ่ายบริหารฯ / เลขาฯ ผู้บริหาร > พิจารณาและดำเนินการ (ตรวจสอบชื่อผู้ลงนาม) 3.3 ท่านเลขาธิการ (รักษาการ,ปฏิบัติการแทน) > พิจารณาลงนามเอกสาร > ระบบออกเลขที่หนังสือ กช.ให้อัตโนมัติ > ปิดงาน 2.2 หัวหน้าฝ่ายบริหารฯ / เลขาฯ ผู้บริหาร 2.2.1 พิจารณาตรวจสอบความถูกต้อง 2.3 ผู้บริหาร (ศูนย์, สำนักงาน) 2.3.1 พิจารณาตรวจสอบความถูกต้อง 2.3.2 บันทึก : คำสั่งการ EX. เสนอ ท่านเลขาธิการ ลงนาม ** ระบบบันทึกคำสั่งการ + eSignature** สารบรรณ ผู้สร้าง eMemo (กช) 4.1 จนท.งานสารบรรณ > ติดตามเรื่องเสนอลงนาม > 4.2 จัดส่งเรื่องที่ลงนาม ไปยังหน่วยงานภายนอก (ไปรษณีย์, Fax, email) 4.3 ปิดงาน 2.4 จนท.งานสารบรรณ / หัวหน้าฝ่าย / เลขาฯ ผู้บริหาร ส่ง สารบรรณกลาง สภากาชาดไทย (สบ.)

3 การติดตามงานการใช้งานของ ศูนย์ฯ, สำนักงาน ในวันที่ 1-19 พค. 60 หน่วยงานที่อบรมวันที่ 27 ให้แจ้งกลับ บริษัทฯ ในวันที่ 27-28 เมษายน 2560 หน่วยงานที่อบรมวันที่ 28 ให้แจ้งกลับ บริษัทฯ ในวันที่ 28 เมษายน 2560 ไม่เกินวันที่ 1 พฤษภาคม 2560 ที่เบอร์ 0981524691 email abhisit@exceilnk.co.th

เส้นย่อหน้าแรก เส้นกลาง เส้นกั้นหลัง