เสวนาหัวข้อ “Research Gap on Thailand Green Economy”

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์
Advertisements

แนวทางการจัดทำบัญชีสมดุลผลไม้
สุกร ส่วนวิจัยเศรษฐกิจปศุสัตว์และประมง สำนักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร
ส่วนวิจัยเศรษฐกิจปศุสัตว์และประมง สำนักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร
ข้อสรุปจากวีดีทัศน์ “ผีปู่แสะย่าแสะ” 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน 2
สรุปสถานการณ์การ ระบาดเพลี้ยแป้ง ระหว่างวันที่ สิงหาคม 2554.
อำนาจเจริญ - ว่าง- - ว่าง- - ว่าง - -ว่าง -
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
1. 2 กิจกรรมหลัก ส่งเสริมและพัฒนา องค์กรและเกษตรกร ที่ตัวชี้วัด หน่วยนับ แผนผล % หมายเหตุ 1 สหกรณ์ผ่านเกณฑ์มาตรฐานแห่ง กลุ่มเกษตรกรผ่านเกณฑ์มาตรฐานแห่ง.
พังงา นางสาวอัญชลี ตันวานิช สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
. แผ น กลุ่ม 1 กลุ่ม 2 กลุ่ม 3 กลุ่ม 4 กลุ่ม 5 รวม 1. สหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกรได้รับ การส่งเสริม สนับสนุนการ ดำเนินงาน สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร
การปรับโครงสร้างการผลิตเป็นแปลงใหญ่
ขยายโอกาสสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน
รายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 3 ประจำเดือน มีนาคม 2558.
สำนักงานเลขานุการ สำนักวิทยบริการ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 โครงการจัดหาวัสดุ ตำรา วารสาร ฐานข้อมูล เพื่อ ให้บริการในสำนักวิทยบริการ การพัฒนานำระบบ RFID มาใช้ในการจัดชั้น.
โครงการเมืองเกษตรสีเขียว ปี 2557
Royal project and Government project พระบิดาแห่งชาวโคนมไทย.
สถาบันด้านปัจจัยการ ผลิตทางการเษตร ( ตลาดแรงงาน ) ศ.491 การวิเคราะห์การผลิต และนโยบายการผลิตสินค้าเกษตร รศ. ภราดร ปรีดาศักดิ์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ทิศทางการตลาด และ การ สนับสนุนเกษตร อินทรีย์ โดย น. ส. สุทัศนีย์ ราช เรืองระบิน รองอธิบดี กรมการค้าภายใน.
คณะกรรมการปรับปรุงยุทธศาสตร์ฯ
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
การลงทะเบียนผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
มาตรฐานระบบการบริหารงานคุณภาพ
ปัจจัยแห่งความสำเร็จ
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกร สำนักงานเกษตรจังหวัดน่าน
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
Design by Agri - Map สำนักงานชลประทานที่ ๘.
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
บทที่ 4 การสร้างเสริมประสิทธิภาพ งานส่งเสริมการเกษตรระดับอำเภอ
ข่าวประชาสัมพันธ์สำนักงานเกษตรจังหวัดสุโขทัย
ส้วมสะอาดในร้านอาหาร
สำนักเทคโนโลยีน้ำและสิ่งแวดล้อมโรงงาน
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ณ ห้องประชุมกองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
โครงสร้างมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
2019/4/15 บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการบูรณาการ โครงการเมืองเกษตรสีเขียวในระดับพื้นที่ สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.) 15/04/62.
ประกันภัยกับการพัฒนาเศรษฐกิจ
การวิเคราะห์ข้อมูลเรื่องข้าว เพื่อการทบทวนประเด็นยุทธศาสตร์
วิชา พฤติกรรมผู้บริโภค
(โครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมการปกครองในระบอบประชาธิปไตย
การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตข้าวปลอดภัยและการบริหารจัดการเชิงคุณภาพ
การเตรียมการป้องกันและแก้ปัญหาภัยแล้ง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
แผนงานบูรณาการพัฒนาการพัฒนาศักยภาพการผลิตภาคเกษตร
เข้าใจตนเอง เข้าใจสาขา
ลำปาง นายยรรยง พลสันติกุล สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
โครงการพัฒนาเกษตรอินทรีย์
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
การขับเคลื่อน การจัดทำแผนการพัฒนากำลังคน รายจังหวัด
การบูรณาการและการบริหาร โครงการส่งเสริมการเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่
มารู้จักและมีส่วนร่วมในกิจกรรม CSR ของ สศช. กันเถอะ
ตอนที่ 4.3 กรณีศึกษา : การสร้างเสริมประสิทธิภาพ งานส่งเสริมการเกษตร สำนักงานอำเภอน้ำปาด จังหวัดอุตรดิตถ์ ตอนที่ กรณีศึกษา : การจัดการความรู้
รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ 2560 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลำพูน
อ. อรนพัฒน์ เหมือนเผ่าพงษ์ สาขาวิชาการจัดการโรงแรมและธุรกิจที่พัก
4.2.3แผนการปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
กฎหมายระเบียบและนโยบายที่เกี่ยวข้อง
การสร้างพันธมิตรการเกษตรเพื่อลดต้นทุนการผลิต และผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
ภูมิปัญญาผ้าหมักย้อมดินภูเขาไฟ :ผ้าภูอัคนี นางสมศรี เจ้าของภูมิปัญญา ปราชญ์ภูมิปัญญา การย้อมผ้าด้วยวัสดุธรรมชาติ เช่นมะเกลือ แก่นขนุน ใบสาบเสือ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เสวนาหัวข้อ “Research Gap on Thailand Green Economy” คุณบุญธรรม อร่ามศิริวัฒน์ เลขาธิการสมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย 1 ธันวาคม 2558 ณ ศูนย์วิจัยนโยบายด้านเศรษฐกิจสีเขียว (PRO-Green) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ห่วงโซ่อุปทานอาหาร 2 แรงงานภาคการเกษตรทั้งหมด 17 ล้านคน มูลค่าผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์ และประมง 600,000 ล้านบาท มูลค่าบริโภคภายในประเทศและส่งออก 750,000 ล้านบาท มูลค่าอาหารสัตว์300,000 ล้านบาท 640 โรงงาน เกษตรกร โรงงานอาหารสัตว์ ฟาร์มเลี้ยงสัตว์ โรงงานแปรรูป ร้านค้า/ผู้บริโภค/ตลาดส่งออก แรงงานภาคการเกษตรทั้งหมด 17 ล้านคน - แรงงานภาคปศุสัตว์ 1.3 ล้านคน 2

ความต้องการอาหารสัตว์ไทย ความต้องการอาหารสัตว์ Δ 7.2 % ต่อปี ภาวะแล้ง+คลื่นความร้อน อุทกภัย แฮมเบอร์เกอร์ หวัดนก แหล่งที่มา : สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย , 2558

วัตถุดิบหลักในอาหารสัตว์ ข้าวโพด ผลิตภัณฑ์ข้าว มันสำปะหลัง และอื่นๆ 60% อัพเดต 31 ส.ค.58 4 ที่มา: สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย ปี 2558

มุ่งเป้าสู่การประมงอย่างยั่งยืนภายใน 5 ปีข้างหน้า ข้อร้องเรียนจากต่างประเทศ ด้านแรงงาน IUU มุ่งเป้าสู่การประมงอย่างยั่งยืนภายใน 5 ปีข้างหน้า TIER 3 STEP 1 การแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย ร่วมกับกับ ส.ปลาป่น ส.ประมง กรมประมง กรมปศุสัตว์ จัดทำระบบรับรองการใช้วัตถุดิบสำหรับผลิตอาหารสัตว์ STEP 2 การแก้ไขปัญหาระยะยาว ทำความร่วมมือ 8 สมาคม ร่วมกันออกแบบมาตรฐานระบบการผลิตสินค้าและผลิตภัณฑ์ประมงของไทย โดยได้รับการยอมรับและอิงมาตรฐานสากล ปัญหา : NGO ต่างประเทศโจมตีว่าธุรกิจส่งออกกุ้งของไทย มีการใช้วัตถุดิบปลาป่นที่ได้จากการทำประมงที่ผิดกฎหมาย และ NGO ในประเทศโจมตีการทำลายแหล่งอาหารโปรตีนทางธรรมชาติ สัตว์น้ำวัยอ่อน การแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า : สมาคมฯ ร่วมกับส.ปลาป่น ส.ประมง กรมประมง กรมปศุสัตว์ จัดทำระบบรับรองการใช้วัตถุดิบสำหรับผลิตอาหารสัตว์ การแก้ไขปัญหาระยะยาว : ร่วมกันออกแบบมาตรฐานระบบการผลิตสินค้าและผลิตภัณฑ์ประมงของไทย โดยได้รับการยอมรับและอิงมาตรฐานสากล โดยมีผู้เชี่ยวชาญร่วมให้คำปรึกษาและแนะนำจากองค์กรระหว่างประเทศ เช่น FAO, IFFO, SFP, WWF, SEAFDEC จัดตั้งเป็น Thai Sustainable Fisheries Roundtable หรือคณะกรรมการจัดทำแนวทางเพื่อพัฒนาระบบการผลิตสินค้าและผลิตภัณฑ์ประมงของไทย โดยมีอธิบดีกรมประมงเป็นประธาน การจัดทำ FIP (Fisheries Improvement Project) โดยความร่วมมือกับองค์การกองทุนสัตว์ป่าโลกสากล (World Wildlife Fund หรือ WWF) และองค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศด้านการประมงที่ยั่งยืน (Sustainable Fisheries Partnership หรือ SFP) เพื่อร่างแผนการทำงานแก้ไขปัญหาอุตสาหกรรมประมงและอุตสาหกรรมต่อเนื่อง มุ่งเป้าสู่การประมงอย่างยั่งยืนภายใน 5 ปีข้างหน้า Phase 1: การจัดทำแผนการปรับปรุง / พัฒนาการประมง (Fishery Improvement Plan : FIP) Phase 2: การดำเนินการตามแผนปรับปรุง / พัฒนาการประมง (FIP Implementation)

ข้าวโพดฯยั่งยืน 6 - ข้าวโพดฯ คิดเป็น 34 % ในวัตถุดิบอาหารสัตว์ พัฒนามาตรฐานระบบการผลิตข้าวโพดฯ อย่างยั่งยืน นำร่างมาตรฐานการปลูกไปทดลองในพื้นที่นำร่อง (เหนือ กลาง อีสาน) สร้างความรู้ความเข้าใจ และ workshop ข้าวโพดฯยั่งยืน รัฐ ,เอกชน , วิชาการ , หน่วยงานสากล จึงได้ร่วมสร้างมาตรฐานระบบการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ยั่งยืน ไม่มีมาตรฐานข้าวโพดยั่งยืน - ข้าวโพดฯ คิดเป็น 34 % ในวัตถุดิบอาหารสัตว์ - ปริมาณความต้องการข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ประมาณ 5-6ล้านตัน/ปี สมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย ร่วมมือกับ สำนักงานโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (UNDP) จัดทำโครงการ Sustainable Maize Production โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อจัดทำมาตรฐานการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ที่ยั่งยืนตลอดห่วงโซ่อุปทาน และพัฒนาคุณภาพชีวิตความเป็นอยู่ของเกษตรกรผู้ปลูกข้าวโพด โดยมีหน่วยงานความร่วมมือสนับสนุนโครงการ ได้แก่ สภาหอฯ (สถาบันส่งเสริมคุณภาพเกษตรไทย-ThaiGAP) สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ-มกอช. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย-สกว. สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม-สปก. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน พื้นที่เป้าหมายนำร่องทดลอง : (1) ภาคเหนือ-จ.น่าน (2) ภาคกลาง-จ.เพชรบูรณ์ (3) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ-จ.นครราชสีมา ใช้ระบบ Incentive จูงใจเกษตรกรเข้าร่วมโครงการ ผ่านการรับซื้อราคา Premium และการถ่ายทอดเทคโนโลยีใหม่ ขณะนี้ โครงการอยู่ในขั้นตอนนำร่างมาตรฐานไปปลูกในพื้นที่นำร่อง 6

หลักแนวคิดสากล (Global Concept) ความยั่งยืน เศรษฐกิจ การผลิตและการบริโภคที่ยั่งยืน (Sustainable Consumption and Production : SCP) \ Environment Friendly - Water สังคม สิ่งแวดล้อม - Energy - Food แผนแม่บท บริบทของโลกกำลังพูดถึงการสร้างความยั่งยืน โดยหลักการสร้างความสมดุลระหว่าง เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม ส่งผลไปยังตลาดซึ่งมีส่วนในการสร้างการผลิตและการบริโภคที่ยั่งยืน ตลาด ผู้บริโภค ห้างร้าน ฯลฯ ผู้ผลิต แรงกดดัน ภาคสังคม

บทสรุป ความยั่งยืนในห่วงโซ่อุปทานอาหารของประเทศไทยจะต้องมีมาตรฐานการผลิตตลอดทั้งห่วงโซ่ ศูนย์วิจัยนโยบายด้านเศรษฐกิจสีเขียวจะช่วยประเทศไทยในการปรับตัวกับการเปลี่ยนแปลงของกระแสโลกจากปัจจุบันไปสู่อนาคต