Learning Assessment and Evaluation

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กลยุทธ์การขับเคลื่อน หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
Advertisements

หลักสูตร eLearning สำหรับ มทรก เม.ย.09
วิธีการหาพิกัด ของสถานศึกษา. คำนิยาม “ บริเวณใกล้เคียง สถานศึกษา ” (Zoning) หมายความว่า บริเวณต่อเนื่องติดกับ สถานศึกษา และบริเวณถัดออกไป โดย บริเวณถัดออกไปดังกล่าวต้องมีลักษณะ.
การติดตาม ประเมินผล สัมมนา กอ. รมน. ภาค 3 ( เมษายน 59 ) ณ โรงแรมเวียง ทอง ล. ป.
การเขียนแผนการสอน Media Base learning. รายละเอียดแผนการเรียนรู้ 1. สาระสำคัญ (Concept) เป็นความคิดรวบยอด หรือหลักการของเรื่องหนึ่งที่ต้องการให้เกิดกับ.
ารวัดและประเมินผลการเรียนรู้ระดับอุดมศึกษา
บริษัท จำกัด Logo company
นวัตกรรมและเทคโนโลยีการเรียนการสอน
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
ความก้าวหน้าการพัฒนากฎหมาย ที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมอนามัย
เครื่องมือชุดธารปัญญา: แนวคิดและการประยุกต์ใช้
สิริพินท์ ศิริโสภาพงษ์ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
วิธีการหาพิกัดของสถานศึกษา
วันที่ 30 พฤษภาคม 2560 และ 20 มิถุนายน 2560
รายวิชา คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
EEN3204 การออกแบบและผลิตสื่อการศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ 2 (1-2-3)
Innovation and Information Technology in Education
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การเตรียมความพร้อมรับการประเมิน จาก สมศ.
ด้านการสื่อสาร และประชาสัมพันธ์
สำนักงานแม่กองธรรมสนามหลวง
มารู้จักหลักสูตร ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต แขนงวิชาสารสนเทศศาสตร์
“หลักการแก้ปัญหา”.
งานจัดการเรียนการสอน
By Dr. Khunakorn Khongchana Lecturer of English Program
วันอังคารที่ 6 มีนาคม พ. ศ เวลา น
งานวันข้าวโพดเทียนบ้านเกาะ
เพื่อเข้าถึงแหล่งงบประมาณ
คณะที่ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
การใช้คู่มือประเมินความสามารถทางเชาวน์ปัญญา เด็กอายุ 2-15 ปี
โครงการส่งเสริมเกษตรทฤษฎีใหม่ และเกษตรกรรมยั่งยืน ปี 2560
ระบบการประกันคุณภาพอาชีวศึกษา
ดร.วีรพจน์ ลือประสิทธิ์สกุล
ผู้อำนวยการกองกฎหมาย
สถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาเมือง
แผนที่ยุทธศาสตร์ของศูนย์พัฒนาอนามัยพื้นที่สูงปี
รายงานการประเมินตนเอง
การจดทะเบียนพาณิชย์ ตามพระราชบัญญัติทะเบียนพาณิชย์ พ.ศ. 2499
การออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอร์
สถาบันพัฒนาบุคลากรด้านการพัฒนาเมือง
สำนักพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรอาชีวศึกษา
EDT2303 การออกแบบเว็บไซต์เพื่อการศึกษา 3 (2-2-5)
กรอบการประเมินการรู้วิทยาศาสตร์ (PISA 2015 และ 2018)
เรื่องวิวัฒนาการนาฏศิลป์ไทย
เรื่อง การทอผ้าห่มสี่เขา/ตะกอ
พระราชบัญญัติค่าตอบแทนผู้เสียหาย และค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่จำเลยในคดีอาญา พ.ศ.2544 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ
แรงเสียดทาน ( Friction Force ).
ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้าน ตำบลดงยาง อำเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การประสานงาน การแก้ปัญหาในการทำงาน โดยใช้ไลน์กลุ่ม social media
แนวทางปฏิบัติงานตาม พ.ร.บ. แร่ พ.ศ. 2560
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง กำหนดแบบและวิธีการรายงานผลการฝึกซ้อมดับเพลิงและฝึกซ้อมอพยพหนีไฟทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
นโยบายการบริหารงาน ปี 2560
เรื่อง การผลิตอาหารปลอดภัย
การดำเนินงานเครือข่ายโรงเรียนเด็กไทยฟันดี
เรื่อง ทฤษฎีการค้นหาในการฝึกสุนัข
การเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการบริหารงานของส่วนราชการ
แนวทางและแผนการดำเนินงานฯ
ด้านผลงานที่เกิดจากการปฏิบัติหน้าที่ในด้านเรียนการสอน
บทที่ 8 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
กองการพยาบาลสาธารณสุข สำนักอนามัย
หมวด 2 : การให้ความสำคัญกับประชากรเป้าหมาย ชุมชน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย วีระโชติ รัตนกุล นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
หลักและศิลปะ ในการเขียนหนังสือติดต่อราชการ
การตั้งมาตรฐานคุณภาพ
ร้อยละ 80 ของโรงพยาบาลที่ใช้ยาอย่างสมเหตุผล
สังคมและการเมือง : Social and Politics
สังคมและการเมือง : Social and Politics
2 ปีแห่งการพัฒนาสหกรณ์
ฉบับที่ ๑๕/๒๕๖๐ วันที่ ๓๑ มกราคม ๒๕๖๐ เวลา ๐๙.๓๐ น. นายปริญญา เพ็งสมบัติ ผู้ตรวจราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ประชุมหัวหน้าส่วนราชการสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์จังหวัดกาฬสินธุ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Learning Assessment and Evaluation การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ Learning Assessment and Evaluation ดร. อาภาพรรณ ประทุมไทย วิทยาลัยการศึกษา มหาวิทยาลัยพะเยา

ดร. อาภาพรรณ ประทุมไทย วิทยาลัยการศึกษา มหาวิทยาลัยพะเยา แนะนำรายวิชา การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ดร. อาภาพรรณ ประทุมไทย วิทยาลัยการศึกษา มหาวิทยาลัยพะเยา

คำอธิบายรายวิชา การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ หลักการ แนวคิด และแนวปฏิบัติในการวัดและ ประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน การสร้างและการใช้ เครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้ รูปแบบการ ประเมิน การปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ การนำผลการประเมินไปใช้ในการพัฒนาผู้เรียน Principles, concepts and practice in learning assessment and evaluation of the learners, building and using tools for assessment and evaluation, assessment models, learning assessment and evaluation implement, assessment using for learners development รหัสวิชา 161311 จำนวนหน่วยกิต 3 (2-2-5)

จุดมุ่งหมายของรายวิชา หลังจากการเรียนรายวิชานี้แล้วนิสิตควรมีสมรรถภาพ ดังนี้ 1. มีความรู้ความเข้าใจในหลักการ แนวคิด และแนวปฏิบัติในการวัดและ ประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน 2. สามารถสร้างและพัฒนาเครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้ได้ 3. สามารถวิเคราะห์หาคุณภาพของเครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้ได้ 4. สามารถตรวจให้คะแนนและตัดสินผลการเรียนรู้ได้ 5. สามารถประยุกต์ใช้หลักการวัดและประเมินผล และเลือกใช้เครื่องมือวัดและ ประเมินผลในการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาผู้เรียนได้

แผนการสอน สัปดาห์ที่ วัน/เดือน/ปี เนื้อหาบทเรียน เปิดเรียน 15-18 ส.ค. 60 แนะนำรายวิชา 1 21-25 ส.ค. 60 บทที่ 1 หลักการ ทฤษฎี และแนวทางในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 2 28-31 ส.ค. และ 1 ก.ย. 60 บทที่ 2 รูปแบบการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 3 4-8 ก.ย. 60 บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนาเครื่องมือวัดและประเมินผลบทที่ 4 การสร้างแบบสอบผลสัมฤทธิ์ 4 11-15 ก.ย. 60 บทที่ 5 การตรวจสอบคุณภาพของแบบสอบ บทที่ 6 คลังข้อสอบ 5 18-22 ก.ย. 60 บทที่ 4 (ภาคปฏิบัติ) - ปฏิบัติการสร้างตารางวิเคราะห์หลักสูตร, สร้างข้อสอบ 6 25-29 ก.ย. 60 บทที่ 5-6 (ภาคปฏิบัติ) - ปฏิบัติการจำลองสถานการณ์การสอบ 7 2-6 ต.ค. 60 (ภาคปฏิบัติ-ต่อ) - การวิเคราะห์คุณภาพแบบสอบและข้อสอบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ TAP

แผนการสอน สัปดาห์ที่ วัน/เดือน/ปี เนื้อหาบทเรียน 8 7-15 ต.ค. 60 สอบกลางภาค 9 16-20 ต.ค. 60 บทที่ 7 การประเมินจิตพิสัย 10 23-27 ต.ค. 60 บทที่ 7 (ภาคปฏิบัติ) - ปฏิบัติการสร้างเครื่องมือประเมินจิตพิสัย 11 30-31 ต.ค. และ 1-3 พ.ย. 60 (ภาคปฏิบัติ-ต่อ) - นำเสนอผลการสร้างเครื่องมือประเมินจิตพิสัย 12 6-10 พ.ย. 60 บทที่ 8 การประเมินทักษะพิสัย 13 13-17 พ.ย. 60 บทที่ 8 (ภาคปฏิบัติ) - ปฏิบัติการสร้างเครื่องมือประเมินตามสภาพจริง, การประเมินจากแฟ้มสะสมงาน, การประเมินภาคปฏิบัติ 14 20-24 พ.ย. 60 - นำเสนอผลการสร้างเครื่องมือประเมินทักษะพิสัย 15 27-30 พ.ย. และ 1 ธ.ค. 60 บทที่ 9 การตัดสินผลการเรียนรู้ 16 4-8 ธ.ค. 60 บทที่ 10 การนำผลการประเมินไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ 17 12-22 ธ.ค. 60 สอบปลายภาค

กิจกรรมการเรียนการสอน วิธีการสอน 1. บรรยาย อธิบาย ร่วมกันอภิปราย และตอบข้อซักถาม 2. ทำแบบฝึกหัด, แบบทดสอบ 3. มอบหมายงานเดี่ยว/งานกลุ่ม กิจกรรม 1. การเข้าชั้นเรียน 2. ร่วมปฏิบัติงานกิจกรรมในชั้นเรียน,กิจกรรมกลุ่ม, นำเสนอผลงานของตนเองและกลุ่ม 3. ศึกษากรณีตัวอย่าง ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง 4. ประเมินผลงานของตนเองและเพื่อน

วิธีการประเมินผล วิธีประเมินผล ลักษณะกิจกรรม การเข้าเรียนและมีส่วนร่วม ตรวจสอบการเข้าเรียนการมีส่วนร่วมจากการเช็คชื่อ และการตอบคำถามสั้นๆ (Quiz) เพื่อประเมินความรู้ความเข้าใจ การประเมินการนำเสนอ ให้นําเสนอข้อมูลในห้องเรียน ตรวจสอบความรู้ความสามารถของผู้นําเสนอ รวมทั้งความสามารถในการนําเสนอ ประเมินผลงาน ตรวจสอบความรู้ความสามารถของเจ้าของผลงาน คุณภาพและความถูกต้องของงาน ความตรงต่อเวลาในการส่งงาน สอบข้อเขียน การตอบแบบทดสอบ (อัตนัย ปรนัย) สอบปฏิบัติ (ตอบคําถาม) ให้ตอบคำถามที่เกี่ยวข้องกับการเรียนภาคปฏิบัติ (อาจรวมถึงทักษะทางความรู้ และทักษะทางปัญญาร่วมด้วย) สอบปฏิบัติ (ทดสอบการปฏิบัติ) พิจารณาความสามารถในการปฏิบัติงาน การวางแผน ผลงาน การวิเคราะห์ผลงาน สังเกตการทํางานกลุ่ม สังเกตพฤติกรรมของสมาชิกกลุ่มที่ได้รับมอบหมายให้ทํางานด้วยกัน

สัดส่วนของการวัดและประเมินผลการเรียน สัดส่วนของการประเมินผล วิธีการประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล 1. การประเมินความรู้ทางวิชาการ - สอบกลางภาค - สอบปลายภาค 20 % 30 % 2. การประเมินการทำงาน, กิจกรรมในชั้นเรียน, การสอบเก็บคะแนน - การอภิปรายกลุ่ม, การตอบข้อซักถาม และการสรุปองค์ความรู้ 10 % 3. การประเมินผลงานที่ได้รับมอบหมาย งานกลุ่ม (30%) 3.1) การฝึกปฏิบัติการสร้างเครื่องมือวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย - การนำเสนอและรายงานผลการสร้างและหาคุณภาพเครื่องมือ 3.2) การฝึกปฏิบัติการสร้างเครื่องมือวัดและประเมินผลด้านจิตพิสัย - การนำเสนอผลการสร้างเครื่องมือประเมินจิตพิสัย 3.3) การฝึกปฏิบัติการสร้างเครื่องมือวัดและประเมินผลด้านทักษะพิสัย - การนำเสนอผลการสร้างเครื่องมือประเมินทักษะพิสัย 4. จิตพิสัย (การเข้าชั้นเรียน, การส่งงานตามกำหนด, บุคลิกภาพความเป็นครู) รวม 100 %

การตัดเกรด : ประเมินผลอิงเกณฑ์แบบ Letter Grade (A, B+, B, C+, C, D+, D, F)

ภาระงานที่กำหนด 1 การฝึกปฏิบัติการสร้างเครื่องมือวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย 1. ให้นิสิตแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5-6 คน 2. ออกข้อสอบจำนวน 15 ข้อ 5 ตัวเลือก ในเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ดังนี้ (ปฏิบัติการในสัปดาห์ที่ 5 วันที่ 18-22 ก.ย. 2560) - หลักการ ทฤษฎี และแนวทางในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ - รูปแบบการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ - การออกแบบและพัฒนาเครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้ - การสร้างแบบสอบผลสัมฤทธิ์ - การตรวจสอบคุณภาพของแบบสอบและข้อสอบ - คลังข้อสอบ โดยระบุระดับพฤติกรรมการวัด 6 ระดับ ในวงเล็บต่อท้ายข้อคำถาม เพื่อทำการสอบในคาบเรียนครั้งถัดไป 3. จำลองสถานการณ์การสอบ (ปฏิบัติการในสัปดาห์ที่ 6 วันที่ 25-29 ก.ย. 2560) - นิสิตแต่ละกลุ่มส่งต้นฉบับพร้อมเฉลยให้อาจารย์ผู้สอน - แต่ละกลุ่มจัดดำเนินการบริหารการทดสอบให้เป็นตามที่กำหนด 4. ดำเนินการวิเคราะห์คุณภาพแบบสอบและข้อสอบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ TAP (ปฏิบัติการในสัปดาห์ที่ 7 วันที่ 2-6 ต.ค. 2560) จากนั้น ส่งเล่มรายงานผลการวิเคราะห์และแปลผลฉบับสมบูรณ์ ภายในวันที่15 ต.ค. 2560

ภาระงานที่กำหนด 2 การฝึกปฏิบัติการสร้างเครื่องมือวัดและประเมินผลด้านจิตพิสัย 1. ให้นิสิตแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5-6 คน 2. นำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาที่นิสิตแต่ละคนสนใจมานำเสนอภายในกลุ่ม 3. ดำเนินการสร้างเครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้ด้านจิตพิสัย ในรูปแบบที่สอดคล้องกับแผนการจัดการเรียนรู้ที่แต่ละกลุ่มสนใจ อย่างน้อยกลุ่มละ 3 รูปแบบ (ปฏิบัติการในสัปดาห์ที่ 10 วันที่ 23-27 ต.ค. 2560) 4. นำเสนอชุดเครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้ด้านจิตพิสัยที่แต่ละกลุ่มสร้างขึ้น (ปฏิบัติการในสัปดาห์ที่ 11 วันที่ 30-31 ต.ค. และ 1-3 พ.ย. 2560) พร้อมทั้งส่งเล่มรายงานชุดเครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้ด้านจิตพิสัย

ภาระงานที่กำหนด 3 การฝึกปฏิบัติการสร้างเครื่องมือวัดและประเมินผลด้านทักษะพิสัย 1. ให้นิสิตแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5-6 คน 2. นำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาที่นิสิตแต่ละคนสนใจมานำเสนอภายในกลุ่ม 3. ดำเนินการสร้างเครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย ในรูปแบบที่สอดคล้องกับแผนการจัดการเรียนรู้ที่แต่ละกลุ่มสนใจ อย่างน้อยกลุ่มละ 3 รูปแบบ (ปฏิบัติการในสัปดาห์ที่ 13 วันที่ 13-17 พ.ย. 2560) 4. นำเสนอชุดเครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัยที่แต่ละกลุ่มสร้างขึ้น (ปฏิบัติการในสัปดาห์ที่ 14 วันที่ 20-24 พ.ย. 2560) พร้อมทั้งส่งเล่มรายงานชุดเครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย

ตำราและเอกสารหลัก เยาวดี รางชัยกุล วิบูลย์ศรี. (2552). การวัดผลและการสร้างแบบสอบผลสัมฤทธิ์ (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. โชติกา ภาษีผล, ณัฏฐภรณ์ หลาวทอง และ กมลวรรณ ตังธนกานนท์. (2558). การวัดและ ประเมินผลการเรียนรู้. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. พิชิต ฤทธิ์จรูญ. (2551). หลักการวัดและประเมินผลการศึกษา (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: เฮ้าส์ ออฟ เคอร์มีสท์. ณัฏฐภรณ์ หลาวทอง. (2551) เอกสารประกอบการสอนวิชา การวัดและประเมินผลการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สุวิมล ว่องวาณิช. (2550). การประเมินผลการเรียนรู้แนวใหม่. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ศิริชัย กาญจนวาสี. (2552). ทฤษฎีการทดสอบแบบดั้งเดิม. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

เอกสารและข้อมูลแนะนำ ฉัตรศิริ ปิยะพิมลสิทธิ์. (2548). เอกสารประกอบการสอนวิชา ทฤษฎีการวัดและการทดสอบ. สงขลา: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ. บุญชม ศรีสะอาด. (2540). การวิจัยทางการวัดผลและประเมินผล. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น. พิสณุ ฟองศรี. (2552ค). การสร้างและพัฒนาเครื่องมือวิจัย. กรุงเทพฯ: ด่านสุทธาการพิมพ์. พิสณุ ฟองศรี. (2551ก). การประเมินทางการศึกษา : แนวคิดสู่การปฏิบัติ (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: ด่านสุทธาการพิมพ์. พิสณุ ฟองศรี. (2551ข). เทคนิควิธีประเมินโครงการ (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ: ด่านสุทธา- การพิมพ์. รัตนะ บัวสนธ์. (2550). ทิศทางและอาณาบริเวณการประเมิน (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: วี พริ้นท์. สมคิด พรมจุ้ย. (2552). เทคนิคการประเมินโครงการ (พิมพ์ครั้งที่ 6). นนทบุรี: สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

ติดต่อผู้สอน 1 เบอร์โทรศัพท์ 089-6271219 2 ห้องทำงาน ห้องพักอาจารย์วิทยาลัยการศึกษา ห้องที่ 2 ชั้น 2 อาคารเรียนรวมหลังเก่า E-mail 3 offza_sungmin@hotmail.com Line 4 ID line: offza1624