ผศ.ดร. รัชนี มุขแจ้ง คณะบริหารธุริจ เศรษฐศาสตร์ และการสื่อสาร ภาควิชาเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชื่อผู้สอน : นางฐิติมา พิริยะ
Advertisements

Entity-Relationship Model E-R Model
ข้อมูลและประเภทของข้อมูล
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
The Students’ Opinion on Learning Management of Report Financial Analysis Course นายวิทยา ยิ่งนคร ผู้วิจัย บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต ( การบัญชี ) วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรบริหารธุรกิจ.
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
(กล้องจับที่วิทยากร)
Population and sampling
บทที่2 การวางแผนการผลิตและกำลังการผลิต
แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับทีม
ประชิด เกิดมาก ผู้วิจัย. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาสภาพการจัดการเรียน การสอนด้วยจิกซอว์ 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนก่อนเรียน.
คนเป็นทรัพย์สินที่มี ค่ายิ่งของหน่วย อ้างอิง : สมาคมการจัดการงานบุคคลแห่งประเทศไทย คน เก่ง คน ดี คน มี ความ สุข เป้าหมายการ พัฒนากำลังพล เพื่อให้ทำงานอย่าง.
เมนูหลัก หน้าแรก ปรัชญา - ปณิธาน - วัตถุประสงค์ วิสัยทัศน์ - พันธกิจ ผู้บริหาร บุคลากร ประวัติความเป็นมา การประกันคุณภาพ ทำนุบำรุง ศิลปะวัฒนธรรม แผนปฎิบัติราชการ.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
ประเภทของ CRM. OPERATIONAL CRM เป็น CRM ที่ให้การสนับสนุนแก่กระบวนการธุรกิจ ที่เป็น “FRONT OFFICE” ต่างๆ อาทิ การขาย การตลาด และการ ให้บริการ SALES FORCE.
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 16
การแพร่กระจายนวัตกรรม Diffusion of Innovation
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
การสุ่มตัวอย่าง สส ระเบียบวิจัยการสื่อสาร สื่อสารประยุกต์ ภาคพิเศษ
การค้นคว้าข้อมูลจากฐานข้อมูลต่างๆ ในอินเทอร์เน็ต
วิชา ระเบียบวิธีวิจัย Research Methodology บทที่ 4 ประชาการและการสุ่มตัวอย่าง อ.สุรินทร์ทิพ ศักดิ์ภูวดล สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต
BC320 Introduction to Computer Programming
วิทยาลัยการศึกษา มหาวิทยาลัยพะเยา ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
Multistage Cluster Sampling
ดร.เตือนใจ ดลประสิทธิ์
บทที่ 1 หน่วยผลิตและทางเลือกภายใต้โครงสร้างตลาด
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
บทที่ 2 กลยุทธ์ช่องทางการจัดจำหน่าย (Place Strategy)
ประเภทแผ่นโปร่งใส (แผ่นใส) รายวิชา ออปแอมป์และลิเนียร์ไอซี
ประชากรและการสุ่มตัวอย่าง
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ (Information System)
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
เรื่อง ศึกษาตัวกลางที่เหมาะสมกับการชุบแข็งของเหล็กกล้าคาร์บอน
การเลือกใช้สถิติเพื่อการวิจัย
บทที่ 3 แฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูล
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
หลักเทคนิคการเขียน SAR
(มีผลใช้บังคับวันที่ ๑ พ.ย. ๒๕๕๗)
แนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
กลุ่มเกษตรกร.
การสำรวจตามกลุ่มอายุ สำนักทันตสาธารสุข
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
SMS News Distribute Service
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 14
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
หลัก MAX MIN CON การออกแบบแผนการวิจัยเชิงทดลอง
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
เสียงในภาษา วิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ครูกิ่งกาญจน์ สมจิตต์
วิธีการสุ่มตัวอย่าง วิธีการสุ่มตัวอย่างมี 2 วิธี
ตัวอย่างการจัดทำรายงานการผลิต และงบการเงิน
การปรับปรุงพื้นที่ทุรกันดาร 2559 นายแพทย์สงกรานต์ ไหมชุม
การเข้าสู่ตำแหน่งที่สูงขึ้น
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ โดย อาจารย์กิตติพงษ์ ภู่พัฒน์วิบูลย์
BASIC STATISTICS MEAN / MODE / MEDIAN / SD / CV.
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 15
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การออกแบบและวางแผนในการเก็บรวบรวมข้อมูล
บทที่ 2 โครงสร้างข้อมูลแบบแถวลำดับหรืออาร์เรย์ (Array)
งานสังคมครั้งที 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน โดย น.ส.อธิชา ฤทธิ์เจริญ ม.4 MEP-A เลขที่ 21.
Singapore ประเทศสิงคโปร์.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การใช้รูปแบบการแนะแนวสำหรับการแก้ปัญหาผู้เรียน ให้เป็นคนดีของสังคม
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
การขายและการตลาดสำหรับธุรกิจโรงแรมและที่พัก
Introduction to Public Administration Research Method
ประชากรและการสุ่มตัวอย่าง
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผศ.ดร. รัชนี มุขแจ้ง คณะบริหารธุริจ เศรษฐศาสตร์ และการสื่อสาร ภาควิชาเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

ประวัติการศึกษา โท ระดับปริญญา สาขาวิชา ชื่อถาบันการศึกษา เอก   ระดับปริญญา สาขาวิชา ชื่อถาบันการศึกษา เอก Economics Aichi University, Japan โท 1.International and Development Economics The University of Namur,Belgium 2.วท.มเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ตรี วท.บ(คณิตศาสตร์) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

หัวข้อที่ ... เทคนิคการสุ่มตัวอย่าง (sampling TECHNIQUE)

ใช้เมื่อมีการเก็บรวบรวมข้อมูล ขึ้นมาใหม่ ซึงเรียกว่า ข้อมูล ใช้เมื่อมีการเก็บรวบรวมข้อมูล ขึ้นมาใหม่ ซึงเรียกว่า ข้อมูล ปฐมภูมิ ( primary data )

ในกรณีทีจําเป็ นต้องเก็บรวบรวมข้อมูลขึ้นมาใหม่ สามารถทําได้ 2 วิธี 1. การทําสํามะโน ( census ) :เก็บรวบรวม ข้อมูลจากหน่วยทุกหน่วยของ ประชากรทีเข้าข่ายการศึกษา 2. การสํารวจด้วยตัวอย่าง ( sample survey ) มากะประมาณค่าของ ประชากร ( พารามิเตอร์ ) ทีเราสนใจ

***. ทำไมจึงต้องมีการสุ่มตัวอย่าง

ขบวนการสุ่มตัวอย่าง มีหลายขั้นตอน การกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง(Determine sample size) การเลือกเทคนิคการสุ่มตัวอย่าง(Select a sampling technique)

การสํารวจด้วยตัวอย่างจะให้ข้อมูลที่มีคุณสมบัติเป็นข้อมูลที่ดี เพื่อทีจะสามารถนําข้อมูลไปอ้างอิงประชากรทีต้องการศึกษาได้นั้น ข้อมูลนั้น จะต้องเป็นข้อมูล ที่ได้มาจากตัวอย่างที่เป็นตัวแทนที่ดีของประชากร

I. การกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง

1. ใช้สูตร เช่น ทาโร ยามาเน่(Taro Yamane) หรือเฮอร์เบริ์ทและเรย์มอนด์ (Herbert Asin and Raymond R.) หรือของโรสคอว์(Roscoe 2. ใช้โปรแกรมสำ เร็จรูป 3.ใช้สัดส่วนจากประชากร เช่น 10% ,15 %

1.การเลือกตัวอย่างแบบที่ใช้ความน่าจะเป็น II.การเลือกเทคนิคการสุ่มตัวอย่าง 1.การเลือกตัวอย่างแบบที่ใช้ความน่าจะเป็น 2. การเลือกตัวอย่างแบบที่ไม่ใช้ความน่าจะเป็น

การเลือกตัวอย่างแบบที่ไม่ใช้ความน่าจะเป็น Snowball 2.โควตา (Quota Sampling) 3. ตามวัตถุประสงค์ (Purposive Sampling) 4. ตามสะดวก หรือ บังเอิญ ( Convenient Sampling or Accidental Sampling)

การสุ่มตัวอย่างแบบที่ใช้ความน่าจะเป็น 1. Simple Random Sampling 2. Systematic Random Sampling 3. Stratified Random Sampling 4. Cluster Random Sampling

simple random sampling หลักเกณฑ์ จุดแข็ง จุดอ่อนหรือข้อจำกัด 1. มีรายชื่อหน่วยในประชากรครบถ้วน 1.ทุกหน่วยในประชากรมีความน่าจะเป็นที่จะถูกเลือกเท่ากัน 1.เหมาะกับประชากรที่มีขนากเล็ก 2. ใช้วิธีจับฉลาก หรือตารางเลขสุ่ม 2. นำไปใช้ร่วมกับวิธีอื่นได้ 2.เหมาะกับประชากรที่มีลักษณะไม่แตกต่างกันมากนัก

Systematic random sampling หลักเกณฑ์ จุดแข็ง จุดอ่อนหรือข้อจำกัด 1. มีรายชื่อหน่วยในประชากรครบถ้วน หรือสุ่มตามช่วงลำดับเวลา หา sampling interval นำไปใช้ร่วมกับวิธีอื่นได้ ส่วนใหณ่ จะใช้เมื่อมี list ของประชากรครบถ้วน หลักเกณฑ์ จุดแข็ง จุดอ่อน/ข้อจำกัด มีรายชื่อหน่วยในประชากรครบถ้วน หรือสุ่มตามช่วงลำดับเวลา หา sampling interval 1. นำไปใช้ร่วมกับวิธีอื่นได้

หลักเกณฑ์ จุดแข็ง จุดอ่อนหรือข้อจำกัด 3.Stratified Random Sampling หลักเกณฑ์ จุดแข็ง จุดอ่อนหรือข้อจำกัด 1.แบ่งประชากรออกเป็นกลุ่มย่อยโดยยึดตัวแปรที่จะส่งผลต่อตัวแปรตาม ได้กลุ่มตัวอย่างที่เป็นตัวแทนของทุกลักษณะ เสียค่าใช้จ่ายสูง 2.ลักษณะภายในชั้นภูมิ( stratum)เดียวกันคล้ายคลึงกัน 3.ระหว่างชั้นมีความแตกต่างกัน

4. Cluster Random Sampling จุดอ่อนหรือข้อจำกัด หลักเกณฑ์ จุดแข็ง จุดอ่อนหรือข้อจำกัด 1. แบ่งประชากรออกเป็นกลุ่มย่อย โดยในแต่ละกลุ่มปชก.มีลักษณะแตกต่างกัน แต่คล้ายคลึงกันระหว่างกลุ่ม ประหยัดค่าใช้จ่าย และเวลา กลุ่มตัวอย่างที่เลือกมาอจาเป้นตัวแทนของประชากรได้ไม่ดีนักเมื่อเทียบกับวิธีอื่นๆ 2.สุ่มเลือกมาศึกษาทั้งกลุ่ม อย่างน้อยหนึ่งกลุ่ม

2.แผนการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน( Multi stage sampling) มีกระบวนการเลือกหน่วยตัวอยาง มากกว่า 1 ขั้นตอน ซึ่งหน่วยตัวอย่างแต่ละขั้นก็จะแตกต่างกน ไป ในการเลือกตัวอย่างแต่ละขั้นตอน อาจจะใช้แผนการสุ่มตัวอย่างแบบใดก็ได้ และการเก็บ รวบรวมข้อมูลจะเก็บจากหน่วยตัวอย่าง ที่สุ่มเลือกมาได้ในขั้นสุดท้าย เช่น ในการสํารวจ ค่าใช้จ่ายในการซื้อสินค้าอุปโภคบริโภคในมหาวิทยาลัยนเรศวร อาจใช้ แผนการสุ่มตัวอย่างแบบ 3 ขั้น โดย ขั้นที่1 เลือกคณะมาเป็นตัวอย่าง ขั้นที่สองเลือกภาควิขาตัวอย่าง และขั้นที่สามบุคลากรมาเป็นตัวอยาง

Thank you for your attention