ดีมาก Plus ดีมาก ดี พื้นฐาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Site Preparation Site Layout
Advertisements

Six building blocks Monitoring & Evaluation
“JTEPA, RCEP and Projects Cooperation” สภาอุตสาหกรรมแห่ง ประเทศไทย The Federation of Thai Industries By Mr. Boonpeng Santiwattanatam Vice Chairman of The.
ธีรนารถ Jan Experiences in GMP Inspection in WHO Vaccine Prequalification Scheme ธีรนารถ จิวะไพศาลพงศ์ กองชีววัตถุ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
การจัดทำแผนพัฒนารายบุคคล (Individual Development Plan - IDP
บทที่ 2 กระบวนการและการวางแผนจัดการทรัพยากรมนุษย์ Human Resource Planning ดร. อัญภัคร์ ประพันธ์เนติวุฒิ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา.
ระบบการกำกับ ติดตามประเมินผล กรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2560
(P7S10P1G2) การประชุมถ่ายทอดนโยบายและตัวชี้วัดด้านสาธารณสุข
การประชุมผู้บริหารกรมอนามัย เพื่อทบทวน วิสัยทัศน์ พันธกิจ และ ค่านิยม
ทิศทางการพัฒนา พฤติกรรมสุขภาพ 4.0
New Chapter of Investment Promotion
ชวนคิดชวนคุยลุยงาน สุขาภิบาลอาหารและน้ำ
การชี้แจงตัวชี้วัดของหน่วยงาน
การเตรียมความพร้อมในการจัดทำงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒
ทิศทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2560
การประชุมการบริหารยุทธศาสตร์กรมอนามัย ครั้งที่ 4/2559
Health Promotion & Environmental Health
สรุปงานและทิศทางการพัฒนางานควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
การประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ กรมอนามัย ครั้งที่ 4/2559
การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี 2560 ของหน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย
คำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี 2560 กรมอนามัย : ระดับหน่วยงาน
แผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข แผนยุทธศาสตร์ กรมอนามัย แผนปฏิบัติการ
Value Chain and Supply Chain ห่วงโซ่คุณค่า และห่วงโซ่อุปทาน
ประเทศไทย 4.0 ด้านสาธารณสุข
การพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
แนวทางการประเมินผล การปฏิบัติราชการของส่วนราชการ ปี 2561 (ตาม ม.44)
บทบาทหน้าที่สำนักงานโครงการขับเคลื่อนกรมอนามัย 4
วัฒนธรรมองค์กร กรมอนามัย
Individual Scorecard ระดับความสำเร็จของการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายของระดับองค์กรสู่ระดับบุคคล
รศ.ดร.ทศพร ศิริสัมพันธ์
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 4 (พ. ศ
การตรวจราชการแบบบูรณาการ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
แนวทางการพัฒนางานป้องกันควบคุมโรค ของกรมควบคุมโรค
แผนพัฒนาเศษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12
สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดราชบุรี
อำเภอสันกำแพง ดินแดนแห่ง
แนวทางการพัฒนาระบบข้อมูลกรมอนามัย ปีงบประมาณ 2561
การขับเคลื่อน ตำบลจัดการสุขภาพแบบบูรณาการ
การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การคุ้มครองผู้บริโภค
แผนยุทธศาสตร์สุขภาพ 20 ปี จังหวัดสระแก้ว ( )
Cluster อนามัยสิ่งแวดล้อม ศูนย์อนามัยที่ 6 ชลบุรี
ผลิตภัณฑ์กรมอนามัย (10 Product Champion)
องค์กรรอบรู้สุขภาพ (Health Literate Organization)
(ร่าง) กรอบยุทธศาสตร์ 20 ปี กรมควบคุมโรค
Productive Growth Engine Inclusive Growth Engine
การประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ กรมอนามัย ครั้งที่ 2/2559
The Association of Thai Professionals in European Region
ระบบการตรวจราชการและนิเทศงานกรมอนามัย
การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี 2560 กรมอนามัย : ระดับหน่วยงาน
การวางแผนพัฒนาจังหวัด และกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ
การบริหารและขับเคลื่อน
โดย นพ.วชิระ เพ็งจันทร์
UHC : Universal Health Coverage: Achieving Social Protection for All
บทบาทของ สสจ" ในงานอนามัยสิ่งแวดล้อม ในสถานการณ์ปัจจุบัน
แผนที่ 4. การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม
แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
แนวทางการกำกับติดตามและประเมินผล
ร่างแผนปฏิรูปองค์การ สำนักงานปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ กรมอนามัย
ผลการดำเนินงานภายใต้ภารกิจอนามัยเจริญพันธุ์ ปีงบประมาณ ๒๕๖๑
Public Health Nursing/Community Health Nursing
EM: Asst.Prof.Dr.PattanaSirichotpundit, Ph.D.
Fully Participation ส่วนกลาง และ ศูนย์อนามัยเขต
การวิจัย “อนาคตเด็กไทยที่พึงประสงค์”
การดำเนินงานทันตสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2561
GREEN & CLEAN Hospital ประชุมชี้แจงรายละเอียดตัวชี้วัด (KPI Template)
อัตราส่วนการตายมารดาไทย ต่อการเกิดมีชีพแสนคน
นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพิเศษ
ORGANIC TOURISM.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ดีมาก Plus ดีมาก ดี พื้นฐาน GREEN & CLEAN Hospital แบบบูรณาการ 62 ดีมาก Plus ดีมาก ดี พื้นฐาน Environmental Health Section Health Promoting Center Region 5 และเครือข่าย

เป้าหมายสำคัญด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม Sustainable GREEN and Healthy Cities and Communities for all ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีคุณภาพชีวิตดี และปกป้อง คุ้มครองสิทธิประชาชน แผนบูรณาการระดับประเทศ การพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศและการจัดการมลพิษและสิ่งแวดล้อม เป้าหมาย : 1. การจัดการมูลฝอยติดเชื้อ 2. การพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ 1. การพัฒนาคุณภาพแห่งน้ำ 2. การลดการปนเปื้อนสู่แหล่งน้ำ การพัฒนาพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ เป้าหมาย : การเฝ้าระวังผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข) ยุทธศาสตร์ 5 ปี กรมอนามัย ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 สร้างความเข้มแข็งระบบอนามัยสิ่งแวดล้อมชุมชนอย่างยั่งยืน 1. ตำบลมีชุมชนเข้มแข็งด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม 2. จังหวัดในพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษ 10 จังหวัด มีฐานข้อมูลและการเฝ้าระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ประเด็นปฏิรูปประเทศ ด้านสาธารณสุข ด้านทรัพยากรธรรมชาติฯ แผนงานที่ 4 การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม : โครงการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม เป้าหมาย : รพ.พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ GREEN&CLEAN Hospital แผนงานที่ 8 การพัฒนาตามโครงการเฉลิมพระเกียรติและพื้นที่เฉพาะ : โครงการคุ้มครองสุขภาพประชาชนจากมลพิษสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เสี่ยง เป้าหมาย : จังหวัดที่มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพอย่างบูรณาการมีประสิทธิภาพและยั่งยืน Env.Health System ระบบ บริหารจัดการ อย่างบูรณาการ ระบบข้อมูล สารสนเทศ ระบบบริการ วิชาการและเทคโนโลยี การเงิน การคลัง กำลังคน ทั้งระบบ 1. Governance by Law 2. Governance by Policy& Strategies 4.Governance by social Marketing 3. Governance by Partnership & Networking 1. โครงการพัฒนาระบบบริหารจัดการมูลฝอยติดเชื้อและอนามัยสิ่งแวดล้อมในสถานบริการการสาธารณสุขตามเกณฑ์ GREEN&CLEAN Hospitals 2. โครงการส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชน 3. โครงการเฝ้าระวังและประเมินความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพในพื้นที่เสี่ยง พื้นที่เฉพาะ และการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน งบประมาณ 51.1301 ล้านบาท 1. พัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศฯ 2. การบริหารทรัพยากรน้ำ พื้นที่เศรษฐกิจพิเศษ ยุทธศาสตร์เชิงรุก แผนงานพื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน

ระบบและกลไกการขับเคลื่อนงานอนามัยสิ่งแวดล้อมระดับประเทศ เมืองและชุมชนน่าอยู่ HALE = 75 ปี LE = 85 ปี ฆ SMART Citizen SMART LA Province Community ENH System ประเด็นตาม พ.ร.บ. สธ. และ NEHAP - ขยะ - สิ่งปฏิกูล - น้ำ/อาหาร/สุขาภิบาล -อากาศ บ้าน/ชุมชน ศูนย์เด็กเล็ก โรงเรียน สถานประกอบการ/ สถานที่ทำงาน/สถานที่จำหน่วยอาหาร วัด/สถานที่ดูแลผู้สูงอายุ สถานที่สาธารณะ แม่และเด็ก วัยเรียน วัยรุ่น วัยทำงาน ผู้สูงอายุ Policy/Law/Strategy SMART /Active Citizen (HL) Output/Outcome คกก.สธ / คกก อวล Sustainable GREEN and CLEAN Cities and Communities for All กลุ่มเฉพาะ GREEN Health Sector Policy Advisor ทั้งในสถานการณ์ปกติ และภาวะฉุกเฉินด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม Monitoring & Evaluation system NHPB EHA Policy Advisor Smart Regulator RHB คสจ. อสธอ. (นำร่อง) พชอ. Process DOH Smart Regulator อปท. เขตสุขภาพ อสม./แกนนำชุมชน EnH Cluster สสจ. สสอ. รพ.สต. Smart Regulator Policy Advisor Cluster กลุ่มวัย ศอ. ภาคีเครือข่าย ภาคีเครือข่ายสำคัญ : ทส./มท./อก./กษ./ศธ./ ฯลฯ SDGs : 1/2/3/4/6/ 11/ 12/ 13/17 ยุทธศาสตร์ชาติ แผนปฏิรูปประเทศ NEHAP/CC/ และแผนบูรณาการอื่นๆ Technical guideline/ Standard/Technology/ Innovation/Prototype Tools / Guideline/เฝ้าระวัง/สื่อสาร/จัดการอย่างมีส่วนร่วม Input Update 26.09.61

Regional Environmental Health lead (HPO , HLO , LO & Governance) Environmental Health Maintain and Developing Platforms with Public Health Act Section 3 Garbage and Disposal Waste Control - Disposal/Latrine - Garbage - Hazardous Waste - Infectious Waste - Vector Control Section 4 Construction Sanitation Control - Household/ Community/ Green Houses Section 6 Animals and Pets Control Animals and Pets Protection and Control Section 7 Enterprise Hazard Control - Healthy Work Place - HIA - Enterprise Activity - Drinking Water - Food Safety Section 8 Food Establishments Control - Services Food Safety (Restaurant, Markets and Glossary etc,) Section 9 Public Place Food Establishments Control - Services Food Safety (Vendors and Extra Services etc,) As Is : Classical or Traditional Hazard ,Modification to Modern Hazard Section 5 Nuisance Control : Environmental Health Impact Assessments Control FAR : Formulate ,Advocate and Regulate --> A2IM : Assess ,Advocate ,Intervention and Manage To Be : Maintain Classical or Traditional Essential Hazards and Revolution of Modern Hazard by Changing Structure Changing System or Process Changing Human Capital Changing * 4 Env Cluster/GG/Mandate (Traditional Env H Cluster/Modern Env H Cluster / Supporting Cluster and Policy and Law advisor Cluster) *6BB+PIRAB--->A2IM *PMQA4.0 +Tech 5.0+Literacy *HRM/HRD--->PMS *Competency/Potential + Allocate Agenda/Project/Area Base : Active Community(Best Model)/EHA/SEZ/Hot zone/จังหวัดจัดการปัจจัยเสี่ยง/อุตฯเชิงนิเวท Setting/Issues/Functional Base : GREEN & CLEAN/GREEN Work Places/HAS/Food Safety/Water Supply/Surveillance etc., Regional Environmental Health lead (HPO , HLO , LO & Governance)

กรอบการพัฒนา GREEN CLEAN Hospital Networking *สสจ สสอ ร่วมประเมินมาตรฐาน 100% *คบส สสจ ประเมิน รพ อาหารปลอดภัย *ควบคุมโรค สสจ ประเมินอาชีวอนามัย และ สบสเขตประเมินโครงสร้างและเครื่องมือ ศอ สคร และ สบส สุ่มตรวจสอบ และยืนยันมาตรฐาน โรงพยาบาล ทำการพัฒนาตามเกณฑ์ ที่กำหนด Outcome GREeN 14 ข้อ อาหารปลอดภัย(15) อาชีวอนามัย(16) 1. Environmental Health Hospital ACADEMY 2. LOW Carbon Hospital 3. Environmental Health healing services 4. Green networking ร้อยละ 95 ของปริมาณมูลฝอยติดเชื้อ ได้รับการจัดการอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ ร้อยละ 85 ของโรงพยาบาลภาครัฐและเอกชนมีการจัดการมูลฝอยติดเชื้ออย่างถูกต้อง(และ.ร้อยละ 85 ของภาคีเครือข่ายมีการจัดการขยะอย่างถูกต้อง) โรงพยาบาล(สป.สธ.) พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ GREEN & CLEAN Hospital ระดับดีมาก ร้อยละ 40 และผ่านระดับดีมาก Plus อย่างน้อยจังหวัดละ 1 แห่ง 5. Convenient Store 24 hours services เกษตรชุมชน GREEN Local Adm , Temple , School , House , Community อาหารปลอดภัย

1. Big Picture : Future & Intersection of GREEN&CLEAN Hospital Goal 1. Environmental Health Hospital ACADEMY Future Hospital GREE N Zero Waste Innovation Production Solid ,Infectious and Hazardous Waste Separate Speech (ถังขยะพูดได้) OPD ,IPD Rest Rooms Latrine Speech (ส้วมพูดได้) HAS Low Carbon Innovation Production Energy saving Mechanism Energy Speech (พลังงานพูดได้) Trees Speech (ต้นไม้พูดได้) Activity Speech(กิจกรรมพูดได้) Green Speech(ที่ทำงานพูดได้) Waste Speech(น้ำเสียพูดได้) Water Speech(น้ำพูดได้) Green Area Physical Area Healthy Place Waste Water Rx Water Supply Low Carbon Innovation Production 5. Convenient Store 24 hours services Safety Food & Water Markets Products Food Safety Speech (อาหารปลอดภัยพูดได้) Drinking water Speech(น้ำดื่มพูดได้) Food Safety Water Safety 2. LOW CAEBON Hospital 4. Green networking 3. Environmental Health healing services Thanacheep61

Future Approach Activity : G&C Hospital กิจกรรมหลัก Facilitators อนาคตของโรงพยาบาล 1. Environmental Health Hospital ACADEMY 14 ข้อมาตรฐาน ถ่ายทอด สนับสนุน องค์ความรู้ พัฒนามาตรฐาน ตรวจเยี่ยม เสริมพลัง พัฒนาข้อมูล เชื่อม IOT, Big Data, Apps เฝ้าระวังประเด็นเสี่ยง สนับสนุน พัฒนา นวัตกรรม ร่วมพัฒนา GREEN Networking ให้การรับรองมาตรฐาน กำกับ ติดตาม ประเมิน และนิเทศ 2. LOW Carbon Hospital GREE N 3. Environmental Health healing services 5. Convenient Store 24 hours services 4. Green networking รพสต ติดดาว รพ เอกชน สถานที่ราชการ วัด โรงเรียน ฯลฯ เกษตรชุมชน อาหารปลอดภัย

GREEN Networking Participations GREEN Enterprises GREEN Work places GREEN Offices GREEN Local Offices GREEN &CLEAN Hospital GREEN Daycares GREEN Schools GREEN รพสต (ติดดาว) GREEN Community

มาตรการสำคัญ Regulation Advocacy Building capacity Partnership สร้างการมีส่วนร่วมภาคเครือข่ายอย่างบูรณาการ และผลักดันให้เกิด กระบวนการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่าน Best practices ทั้งเครือข่ายโรงพยาบาลและชุมชน (สร้างทีมงานที่พร้อม และมาจากทุกกลุ่มงานใน รพ. และ อสม.) Partnership สนับสนุนให้เกิดการลงทุน หรือการใช้ทรัพยากรในการพัฒนา ปรับปรุง และขับเคลื่อนงานอย่างเป็นรูปธรรม (การปรับปรุงภูมิทัศน์ การส่งเสริมกิจกรรมสุขภาพ จัดสภาพสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อสุขภาพ) Investment สนับสนุนมาตรการทางกฎหมายเพื่อผลักดันให้เกิดกระบวนการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมตามเกณฑ์ GREEN & CLEAN Hospital อย่างเป็นรูปธรรม (การบังคับใช้กฎหมายอย่างเข้มงวด การผลักดันผ่านนโยบายกระทรวงสาธารณสุข) Regulation ส่งเสริมให้เกิดกลไกการบริหารจัดการ การสื่อสารความเสี่ยงด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและเกิดทีมทางานที่เข้มแข็งในการพัฒนาโรงพยาบาลตามเกณฑ์ GREEN& CLEAN Hospital (ให้ความรู้ และสื่อสารความเสี่ยงเพื่อสร้างความตระหนักร่วมกัน Advocacy เสริมสร้างทักษะความเชี่ยวชาญ สนับสุนนองค์ความรู้ ด้านการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมแก่เจ้าหน้าที่ทุกระดับ (อบรมเจ้าหน้าที่ หรือทีมพัฒนา และการเสริมสร้างความรู้ในการประเมินความเสี่ยง Building capacity

ผลการดำเนินงานพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงพยาบาล ตามเกณฑ์ GREEN & CLEAN HOSPITAL 2561 รวม 69 แห่ง 100% ผ่านขั้นพื้นฐานแล้ว สถานการณ์ ได้ดีมาก 41% ดีขึ้นไป 58% พื้นฐานขึ้นไป 100% และมีดีมากอย่างน้อยจังหวัดละ 1 แห่ง ศอ5 กรกฎาคม 61

โครงการ 1. พัฒนาระบบบริหารจัดการมูลฝอยติดเชื้อและอนามัยสิ่งแวดล้อมในสถานบริการการสาธารณสุขตามเกณฑ์ GREEN&CLEAN Hospitals ร้อยละ 95 ของปริมาณมูลฝอยติดเชื้อ ได้รับการจัดการอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ ร้อยละ 85 ของโรงพยาบาลภาครัฐและเอกชนมีการจัดการมูลฝอยติดเชื้ออย่างถูกต้อง (และ.ร้อยละ 85 ของภาคีเครือข่ายมีการจัดการขยะอย่างถูกต้อง) โรงพยาบาล(สป.สธ.) พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ GREEN & CLEAN Hospital ระดับดีมาก ร้อยละ 40 และผ่านระดับดีมาก Plus อย่างน้อยจังหวัดละ 1 แห่ง เป้าหมาย Key Activities 1. พัฒนาและปรับปรุงกฎหมาย มาตรฐานวิชาการ รูปแบบ ต้นแบบ นวัตกรรม วิจัยและเทคโนโลยี 2. สร้างความรอบรู้ด้านวิชาการและกฎหมาย สื่อสารสาธารณะ และสร้างกระแสสังคม 3. กำกับ ติดตามและประเมินผล นโยบาย แผนงาน โครงการและการบังคับใช้กฎหมาย งบประมาณ ส่วนกลาง ศูนย์อนามัย 6,363,840 9,730,160

ระดับพื้นฐาน ขั้นตอนที่ 1 การสร้างกระบวนการพัฒนา 1. มีการกำหนดนโยบาย จัดทำแผนการขับเคลื่อน พัฒนาศักยภาพ และสร้างกระบวนการสื่อสารให้เกิดการพัฒนาด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม GREEN & CLEAN hospital อย่างมีส่วนร่วมของคนในองค์กร ขั้นตอนที่ 2 จัดกิจกรรม GREEN G: GARBAGE 2. มีการจัดการมูลฝอยติดเชื้อตามกฎหมาย กฎกระทรวงว่าด้วยการจัดการมูลฝอยติดเชื้อ พ.ศ. 2545 มีการใช้งานเอกสารกำกับการขนส่งฯ หรือลงข้อมูลในโปรแกรมกำกับการขนส่งมูลฝอยติดเชื้อที่ website http://apps.hpc.go.th/waste/ ให้ครบถ้วนภายใน 30 วัน และขนมูลฝอยติดเชื้อเป็นไปตามกฎกระทรวง 3. มีการคัดแยกมูลฝอยทั่วไป คือ มูลฝอยรีไซเคิล มูลฝอยอินทรีย์ มูลฝอย อื่นๆ ไปยังที่พักรวม มูลฝอยอย่างถูกสุขลักษณะ R: RESTROOM 4 มีการพัฒนาส้วมมาตรฐานสะอาด เพียงพอ และปลอดภัย ที่อาคารผู้ป่วยนอก E: ENERGY 5. มีมาตรการประหยัดพลังงานที่เป็นรูปธรรมเกิดการปฏิบัติตามมาตรการที่กำหนดร่วมกันทั้งองค์กร E: ENVIRONMENT 6. มีการจัดสิ่งแวดล้อมทั่วไปทั้งภายในและภายนอกอาคาร โดยเพิ่มพื้นที่ สีเขียว และพื้นที่พักผ่อนที่สร้างความรู้สึกผ่อนคลายสอดคล้องกับชีวิตและวัฒนธรรมท้องถิ่นสำหรับผู้ป่วยรวมทั้งผู้มารับริการ 7. มีการส่งเสริมกิจกรรมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพที่ดีแบบองค์รวม ได้แก่ กิจกรรมทางกาย (Physical activity) กิจกรรมให้คำปรึกษาด้านสุขภาพขณะรอรับบริการของผู้ป่วยและญาติ

N: NUTRITION 8. สถานที่ประกอบอาหารผู้ป่วยในโรงพยาบาลได้มาตรฐานสุขาภิบาลอาหารของกรมอนามัยในระดับดีมาก ใช้มาตรฐานสุขาภิบาลอาหารของกรมอนามัย ในระดับดีมาก เหมือนเดิม คือ รพศ. รพท. ใช้เกณฑ์ ๓๐ ข้อ และ รพช. ใช้เกณฑ์ ๒๐ ข้อ แต่ขอให้ในการประเมิน รพช. ใช้เกณฑ์ ๓๐ ข้อ เพื่อเก็บเป็นข้อมูล 9. ร้อยละ 100 ของร้านอาหารในโรงพยาบาลได้มาตรฐานสุขาภิบาลอาหารของกรมอนามัย 10. จัดให้มีบริการน้ำดื่มสะอาดที่อาคารผู้ป่วยนอก และผู้ป่วยใน เพิ่มตรวจ อ 11 น้ำอุปโภคที่ห้องน้ำ OPD ระดับดี   11. มีการจัดการมูลฝอยครบทุกประเภทถูกสุขลักษณะ 12. มีการพัฒนาส้วมมาตรฐานสะอาด เพียงพอ และปลอดภัย (HAS) ที่อาคารผู้ป่วยใน (IPD) ระดับดีมาก 13. มีการส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรม GREEN โดยการนำไปใช้ประโยชน์และเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเครือข่ายโรงพยาบาลและชุมชน 14. สร้างเครือข่ายการพัฒนา GREEN ลงสู่ชุมชนเพื่อให้เกิด GREEN Community ระดับดีมากPlus 15. โรงพยาบาลมีการดำเนินงานนโยบายโรงพยาบาลอาหารปลอดภัยร่วมกับภาคีเครือข่ายในพื้นที่ 16. โรงพยาบาลผ่านมาตรฐานการจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อม ระดับเริ่มต้นพัฒนาขึ้นไป

ระดับดีมาก Plus   15 โรงพยาบาลมีการดำเนินงานนโยบายโรงพยาบาลอาหารปลอดภัยร่วมกับภาคีเครือข่ายในพื้นที่ (ตามคู่มือมาตรฐานโรงพยาบาลอาหารปลอดภัย Food Safety Hospital) โรงพยาบาลมีการดำเนินงานนโยบายโรงพยาบาลอาหารปลอดภัยร่วมกับภาคีเครือข่ายในพื้นที่ ดังนี้ มีการคัดเลือกวัตถุดิบที่นำมาปรุงประกอบอาหารและอาหารแปรรูป โดยมีการดำเนินการตามการตรวจสอบคุณภาพโดยโรงพยาบาลตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลอาหารปลอดภัยเช่น ผักและผลไม้ผ่านมาตรฐานเกษตรอินทรีย์มาตรฐาน PGS มกอช. หรือGAP) มีการตรวจสอบสารปนเปื้อนและสารตกค้างในวัตถุดิบที่นำมาปรุงประกอบอาหารและอาหารแปรรูปอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง โดยมีการกำหนดนโยบาย ผู้รับผิดชอบและการตรวจสอบความปลอดภัยอาหารหรือขอรับการสนับสนุนจากหน่วยเคลื่อนที่เพื่อความปลอดภัยด้านอาหาร (Mobile Unit) ในการตรวจวัตถุดิบเพื่อคัดกรองก่อนประกอบอาหารเบื้องต้น โรงพยาบาลมีการตรวจสอบคุณภาพวัตถุดิบที่ใช้ปรุงประกอบอาหารประจำปีและจัดทำแผนเฝ้าระวังร่วมกับ สสจ. และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โรงพยาบาลมีการจัดทำเมนูอาหารล่วงหน้าอย่างน้อย 2 เดือน การจัดซื้อจัดจ้างพัสดุโดยวิธีคัดเลือกและวิธีเฉพาะเจาะจง ตามพ.ร.บ.จัดซื้อจัดจ้าง พ.ศ. 2560 และประสานกับร้านสหกรณ์ที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์รับรองหรือกลุ่มเกษตรที่ได้รับการรับรอง เช่น วิสาหกิจชุมชน กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มสตรี หรือเป็นผู้ผลิตที่ผ่านการรับรองเข้าเสนอราคาด้วยตนเอง ดำเนินการจัดตลาด Green Market ของโรงพยาบาลอย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง โรงพยาบาลผ่าน มาตรฐานการจัดบริการอา ชีวอนามัยและเวชกรรม สิ่งแวดล้อม ระดับเริ่มต้น พัฒนาขึ้นไป โรงพยาบาลผ่านมาตรฐานการจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อม ระดับเริ่มต้นพัฒนาขึ้นไป

เจ้าหน้าที่ได้รับการดูแล บริการอาหารสะอาด ชุมชนยั่งยืน 1. GREEN&CLEAN 1.กระบวนการพัฒนา 1. มีการกำหนดนโยบาย จัดทำแผนการขับเคลื่อน พัฒนาศักยภาพ และสร้างกระบวนสื่อสารให้เกิดการพัฒนาด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม GREEN&CLEAN hospital อย่างมีส่วนร่วมของคนในองค์กร 2.Standard รายการ ขั้นพื้นฐาน ขั้นดี ขั้นดีมาก G:Garbage การจัดการขยะมูลฝอยทั่วไป ติดเชื้อและอันตราย 2. มีการจัดการมูลฝอยติดเชื้อตามกฎหมาย กฎกระทรวงว่าด้วยการจัดการมูลฝอยติดเชื้อ พ.ศ. 2545 3. มีการคัดแยกมูลฝอยทั่วไป คือ มูลฝอยรีไซเคิล มูลฝอยอินทรีย์ มูลฝอยอื่นๆ ไปยังที่พักรวมมูลฝอยอย่างถูกสุขลักษณะ 11. มีการจัดการมูลฝอยครบทุกประเภทถูกสุขลักษณะ 13.มีการส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรม GREEN โดยการนำไปใช้ประโยชน์และเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเครือข่ายโรงพยาบาลและชุมชน R:Restroom ส้วมHAS/การจัดการสิ่งปฏิกูล 4 มีการพัฒนาส้วมมาตรฐานสะอาด เพียงพอ และปลอดภัย ที่อาคารผู้ป่วยนอก(OPD) 12. มีการพัฒนาส้วมมาตรฐานสะอาด เพียงพอ และปลอดภัย (HAS) ที่อาคารผู้ป่วยใน (IPD) 14.สร้างเครือข่ายการพัฒนา GREEN ลงสู่ชุมชนเพื่อให้เกิด GREEN Community E:Energy การประหยัดพลังงาน 5. มีมาตรการประหยัดพลังงานที่เป็นรูปธรรมเกิดการปฏิบัติตามมาตรการ ที่กำหนดร่วมกันทั้งองค์กร E:Environmental การสร้างสิ่งแวดล้อมที่ดี 6. มีการจัดสิ่งแวดล้อมทั่วไปทั้งภายในและภายนอกอาคาร โดยเพิ่มพื้นที่สีเขียว และพื้นที่พักผ่อนที่สร้างความรู้สึกผ่อนคลายสอดคล้องกับชีวิตและวัฒนธรรมท้องถิ่นสำหรับผู้ป่วยรวมทั้งผู้มารับริการ 7. มีการส่งเสริมกิจกรรมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพที่ดีแบบองค์รวม ได้แก่ กิจกรรมทางกาย (Physical activity) กิจกรรมให้คำปรึกษาด้านสุขภาพขณะรอรับบริการของผู้ป่วยและญาติ N:Nutrition อาหารและโภชนาการ Food Safety In Hospital 8. สถานที่ประกอบอาหารผู้ป่วยในโรงพยาบาลได้มาตรฐานสุขาภิบาลอาหารของกรมอนามัย ในระดับพื้นฐาน 9. ร้อยละ 80 ของร้านอาหารในโรงพยาบาลได้มาตรฐานสุขาภิบาลอาหารของกรมอนามัย 10. จัดให้มีบริการน้ำดื่มสะอาดที่อาคารผู้ป่วยนอก และผู้ป่วยใน เจ้าหน้าที่ได้รับการดูแล CLEAN Strategies บริการอาหารสะอาด ชุมชนยั่งยืน

GREEN&CLEAN Hospital Measurement Garbage Rest Room Energy Environment Nutrition (Food Safety) Solid Waste Infectious Waste Hazardous Waste Establishments Standard Food Safety (Vegetable &Fruits ) Drinking water HAS in OPD HAS in IPD บริการอาหารสะอาด ชุมชนยั่งยืน เจ้าหน้าที่ได้รับการดูแล GREEN in Hospital Outcome Green Area Physical Activity Healthy Work Place Waste Water Treatments Water Supply Electricity Gasoline Water ete Innovation, Training Center & Networking

GARBAGE ฐานเรียนรู้ที่ 1 ทั่วไป เพียงพอ ทิ้งถูกถัง ติดเชื้อ เก็บ ขน ถูก พัก กำจัด ถูก อันตราย GARBAGE ฐานเรียนรู้ที่ 1

RESTROOM ฐานเรียนรู้ที่ 2 H:Health สะอาด ไม่มีกลิ่น A:Accessibility ครบ ช/ญ คนพิการ S:Safety มีอุปกรณ์ ได้มาตรฐาน RESTROOM ฐานเรียนรู้ที่ 2

ENERGY ฐานเรียนรู้ที่ 3 แผนงาน นโยบาย กรรมการ กิจกรรม ลดพลังงาน เพิ่มรายได้ การปรับปรุง มีอุปกรณ์ ได้มาตรฐาน ENERGY ฐานเรียนรู้ที่ 3

ฐานเรียนรู้ที่ 4-8 ENVIRONMENT 20% Area ต้นไม้พูดได้ ออกกำลังกาย Green Area 20% Area ต้นไม้พูดได้ Physical Activity ออกกำลังกาย กิจกรรมกลางแจ้ง HWP / 5ส การจัด 5 ส การจัด อวล ที่ทำงาน Waste Water ทำงานได้ประสิทธิภาพ ได้มาตรฐาน Water Supply เพียงพอ ENVIRONMENT ฐานเรียนรู้ที่ 4-8

NUTRITION ฐานเรียนรู้ที่ 9 สถานประกอบอาหาร ได้มาตรฐาน ปลอดภัย บริการน้ำดื่ม เพียงพอ เฝ้าระวัง รพ อาหารปลอดภัย มีตลาดนัด มีการตรวจสาร มี QR Code ฯลฯ NUTRITION ฐานเรียนรู้ที่ 9

ปัญหา/โอกาสพัฒนา GREEN&CLEAN ทุกจังหวัด เร่งพัฒนา Innovation , ฐานเรียนรู้ และการบริหารเครื่อข่าย ในโรงพยาบาล นโยบายอาหารปลอดภัยของโรงพยาบาล ทุกจังหวัด เร่งรัดต่อการบริหารจัดการบูรณาการผัก ผลไม้ ปลอดสารพิษหรือปลอดภัยที่เป็นรูปธรรม(มีการปลูก ใช้ มีตลาดนัดสีเขียวฯลฯ) โรงพยาบาลทุกจังหวัดควรเร่งรัดประสานงาน บูรณา การกับหน่วยงานอื่น จัดการสิ่งปฎิกูล น้ำเสียให้ได้ มาตรฐานน้ำทิ้งตามกฎหมาย 8 จังหวัดเร่งรัดบูรณาการจัดการขยะติดเชื้อใน คลีนิกเอกชน และคลีนิคหรือ รพ. สัตว์ ให้ได้ มาตรฐานตามกฎหมาย

ข้อเสนอแนะต่อจังหวัด ทำการพัฒนา ตรวจประเมิน โรงพยาบาลสังกัดกระทรวง สาธารณสุข 100% จำนวน 2 ครั้ง ตามเกณฑ์ GREEN&CLEAN Hospital ให้ร่วมบูรณาการกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการตามแผนงาน ขยะและสิ่งแวดล้อม ในการตรวจบูรณาการฯ และการขับเคลื่อน ผ่าน คสจ พชอ (หาระบบการจัดการ และวิธีการกำจัดที่ได้ มาตรฐาน) ให้จังหวัดพัฒนาต้นแบบ โรงพยาบาล GREEN&CLEAN และอาหาร ปลอดภัยอย่างน้อย 1 โรงพยาบาล จัดให้มีการตรวจเยี่ยมให้กำลังใจจากท่านผู้ตรวจ ให้ ประกาศนียบัตร โรงพยาบาลที่ผ่าน GREEN&CLEAN ในเวที ผู้ตรวจ เพิ่มประสานงานระหว่างกลุ่ม คบส สวล และเครือข่าย ต่อการ ขับเคลื่อนนโยบายอาหารปลอดภัย ประสานงาน สคร พัฒนาระบบอาชีวอนามัย

ข้อเสนอแนะต่อระดับนโยบาย จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ GREEN&CLEAN ระดับประเทศ ในงาน PP&P Excellence Forum สร้างพันธะ ความร่วมมือระหว่างกระทรวงที่จัดการ มูลฝอยทั้งระบบ เร่งออก และปรับปรุงกฎหมายด้านอนามัย สิ่งแวดล้อม ที่เอื้อต่อการแก้ปัญหาของพื้นที่ พัฒนาระบบ ตรวจสอบ รับรองคุณภาพ งานอนามัย สิ่งแวดล้อม และอ้างอิงด้านกฎหมายได้ พัฒนาศักยภาพ และสร้างขวัญกำลังในบุคลากรด้าน อนามัยสิ่งแวดล้อมทั้งระบบ