การขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพ แบบบูรณาการ เขตสุขภาพที่ 6

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

เชื่อมโยงนโยบายแต่ละระดับ
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
สกลนครโมเดล.
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพ ด้านพัฒนาระบบการคุ้มครองผู้บริโภค
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การจัดทำแผนปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กันยายน 2557.
การประชุมแนวทางการพัฒนา กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น ปี 2556 วันที่ 30 มกราคม 2556 เวลา น. ณ ห้องประชุมสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
ข้อมูลทั่วไป จังหวัดศสม.รพสต.กองทุน สุขภาพตำบล สุขศาลา/ ศสมช. (ผ่าน3หมวด) อสม. ร้อยเอ็ด ,887 ขอนแก่น ,600 มหาสารคาม ,524.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
วันที่ ๒๔-๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๙ ณ โรงแรมพูลแมน จังหวัดขอนแก่น
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
โดย นางอัญธิกา ชัชวาลยางกูร ผู้อำนวยการกองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
ตัวชี้วัดเด็กวัยเรียนสูงดีสมส่วน
การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
สำหรับศูนย์อนามัยที่ 1, 3, 6, 10, 11, 12
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
Model ผลที่คาดหวัง วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดหลัก
การประเมินศักยภาพชุมชน ด้วย... ค่ากลางที่คาดหวัง
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
หลักเกณฑ์การประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดฉะเชิงเทรา
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี ปี 54
จุฑารัตน์ สะธรรมกิจ ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
การสำรวจพฤติกรรมเสี่ยงโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ พ.ศ. 2561
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพ แบบบูรณาการ เขตสุขภาพที่ 6

การขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพแบบบูรณาการ ปีงบประมาณ 2559 มีตำบลจัดการสุขภาพแบบบูรณาการต้นแบบของการพัฒนา ทำให้ปัญหาสุขภาพ 5 กลุ่มวัย ของตำบลลดลง ๑๒ เดือน มีการประเมินความสำเร็จแผนกิจกรรมการแก้ไขปัญหาและลดปัจจัยเสี่ยง 531 ตำบล มีตำบลต้นแบบดูแล LTC สามารถขยายผลสู่ตำบลจัดการสุขภาพแบบบูรณาการ 5 กลุ่มวัย อย่างน้อย 88 ตำบล ๙ เดือน มี อสม.นักจัดการสุขภาพชุมชนในการขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพ 4,187 คน (ตำบลละ 6 คน) มีการขับเคลื่อนแผนกิจกรรมการแก้ไขปัญหาและลดปัจจัยเสี่ยง 531 ตำบล มีตำบลต้นแบบดูแล LTC อย่างน้อย 88 ตำบล ๖ เดือน มีทีมพี่เลี้ยงขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพแบบบูรณาการ 88 คน มี Program manager ระดับเขต จังหวัดและอำเภอ มีฐานข้อมูลสุขภาพบุคคลระดับตำบล ๓ เดือน

ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ ลำดับ ตัวชี้วัดความสำเร็จ จำนวน หน่วยนับ 1 ร้อยละของหมู่บ้านเป้าหมายมีการจัดการด้านสุขภาพ ตามเกณฑ์มาตรฐาน ระดับดีขึ้นไป 70 ร้อยละ 2. จำนวนภาคีเครือข่ายตำบลจัดการสุขภาพ ที่ได้รับการส่งเสริม พัฒนาและสนับสนุน 531 ตำบล 3. ร้อยละของตำบลเป้าหมายที่มีการจัดการด้านสุขภาพแบบบูรณาการตามเกณฑ์มาตรฐาน ระดับดีขึ้นไป ร้อยละของตำบลต้นแบบมีการจัดการด้านสุขภาพแบบบูรณาการตามเกณฑ์มาตรฐาน ระดับดีเยี่ยม จำนวน 88 ตำบล 100

เกณฑ์การประเมินตำบลจัดการสุขภาพแบบบูรณาการ 5 ระดับดีเยี่ยม ตำบลจัดการสุขภาพต้นแบบ 4 ระดับดีมาก ตำบลมีระบบการบริหารจัดการอย่างต่อเนื่อง 3 ระดับดี การขับเคลื่อนแผนสุขภาพตำบลสู่การปฏิบัติ เกณฑ์การประเมิน หัวข้อ 2 ระดับพัฒนา การพัฒนากระบวนการจัดทำแผนสุขภาพตำบล 1 ระดับพื้นฐาน การพัฒนาทีมสุขภาพตำบล

หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม หมู่บ้านจัดการสุขภาพ การพัฒนาหมู่บ้านจัดการสุขภาพและหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ ระดับดีมาก 10. มีบุคคล/ครัวเรือนต้นแบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 9. เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านสุขภาพให้กับหมู่บ้าน/ชุมชนอื่นๆ ระดับดีเยี่ยม 12.ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง (ร้อยละ 70) 11.ประชาชนมีความรอบรู้ด้านสุขภาพ (ร้อยละ 70) หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดโรคฯ ระดับดี 8. มีกติกาหรือข้อบังคับหรือมาตรการ 7. มีระบบเฝ้าระวังสุขภาพ ระดับพัฒนา 6. มีการประเมินผลการจัดการสุขภาพ 5. มีการจัดกิจกรรมพัฒนา/แก้ปัญหาสุขภาพในหมู่บ้าน/ชุมชน 4. มีการจัดทำแผนสุขภาพโดยชุมชน ระดับพื้นฐาน 2. มีทีมสุขภาพของหมู่บ้าน/ชุมชน 3. ได้รับการสนับสนุนงบประมาณ 1. มีการจัดเวทีประชุมของทีมสุขภาพ หมู่บ้านจัดการสุขภาพ ส่วนกลางสนับสนุนแบบประเมินฯ

เป้าหมายพื้นที่หมู่บ้าน/ตำบลจัดการสุขภาพ / อสม.กลุ่มวัย ปี 2559 เขต 6 จัหวัด อำเภอ หมู่บ้าน ตำบล ตำบล LTC อสม.กลุ่มวัย จันทบุรี 10 737 76 15 516 ฉะเชิงเทรา 11 937 93 798 ชลบุรี 782 92 17 612 ตราด 7 273 38 8 408 ปราจีนบุรี 748 65 450 ระยอง 510 58 9 418 สมุทรปราการ 6 504 50 451 สระแก้ว 795 59 534 รวมทั้งสิ้น 69 5,286 531 88 4,187

การนิเทศ / ติดตาม ตำบลจัดการสุขภาพแบบบูรณากร กระบวนการพัฒนาตำบลจัดการสุขภาพ (การถ่ายทอดนโยบาย การวางแผน การจัดระบบการสนับสนุน การดำเนินการตาม แผน การกำกับติดตามและประเมินผล) การบูรณาการของภาคส่วนต่างๆ ในการขับเคลื่อนและแก้ไขปัญหา สาธารณสุขตามบริบทของพื้นที่ ผลผลิตและผลลัพธ์ที่เป็นรูปธรรม เช่น การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สุขภาพ การลดลงของปัญหาสุขภาพ และนวัตกรรมสุขภาพชุมชน

การอบรม อสม. นักจัดการสุขภาพชุมชนตามกลุ่มวัย ในตำบลจัดการสุขภาพแบบบูรณาการ วัตถุประสงค์ทั่วไป เพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม. 1.ให้มีความรู้ ความเข้าใจหลักการ แนวคิด ของตำบลจัดการสุขภาพ แบบบูรณาการ ขั้นตอนดำเนินงาน การมีส่วนร่วมของชุมชน ท้องถิ่นและ ภาคส่วนต่างๆ เกณ์การวัดระดับการพัฒนา และ การวัดความสำเร็จ 2. ให้มีความรู้ ความเข้าใจประเด็นการพัฒนาที่มุ่งเน้นของประชากร ๕ กลุ่มวัย และแนวทางพัฒนา 3. ให้มีทักษะในการประเมิน ความรอบรู้ พฤติกรรมสุขภาพของตนเองและ ชุมชน ตลอดจนเสนอแนวทาง / มาตรการการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ของตนเองและชุมชน

บทบาท อสม. นักจัดการสุขภาพชุมชนที่คาดหวัง 1) บริหารจัดการข้อมูลสุขภาพที่มีอยู่ หรือสำรวจ ค้นหา ในชุมชนเพื่อการเฝ้าระวังและพัฒนาสุขภาพในชุมชน หรือ จัดทำในรูปโครงการ 2) การถ่ายทอดความรู้และประชาสัมพันธ์ เพื่อการสร้าง ความรอบรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของชุมชน 3) เป็นแกนนำสุขภาพภาคประชาชนและบุคคลต้นแบบ ด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 4) เข้าร่วมเป็นทีมงาน / ประสานและเชื่อมโยงเครือข่าย ในการขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพแบบบูรณาการ

คุณสมบัติของผู้ที่จะเข้าการอบรม อสม.นจก.กลุ่มวัย 1) ผ่านหลักสูตรฝึกอบรมมาตรฐาน อสม. ปี ๒๕๕๐ 2) เป็นประธาน อสม.ระดับหมู่บ้าน/ชุมชน หรือ อสม.ดีเด่น หรือ อสม.อื่นๆ ที่ได้รับการยอมรับ จากเครือข่ายสุขภาพ 3) อสม.กฟผ. อสม.อื่นๆ ที่ระบุไว้ในระเบียบ กระทรวงสาธารณสุขว่าด้วย อสม.ปี ๒๕๕๔

การอบรม อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย มกราคม – มีนาคม 2559 ระยะที่ 1 อบรม 2 วัน : 12 ชม. ตามเป้าจัดสรร เฉลี่ย 6 คน/ตำบล (5 กลุ่มวัย เน้นพัฒนาการ เด็ก/อุบัติเหตุ + ปัญหาตาม บริบท) ระยะที่ 2 อบรม 1 วัน : 6 ชม. สุ่มร้อยละ 30 ของเป้า จัดสรร(ทุกตำบล) (+ ประเมินผลเชิงคุณภาพ/ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม) เกณฑ์ - จำนวน อสม. ได้รับการพัฒนาศักยภาพ ร้อยละ 100 - อสม.กลุ่มเป้าหมายมีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน (ร้อยละ 60) - อสม.มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ร้อยละ 20 การสนับสนุน - งบอบรม อสม. (สบส.เขต ) 200คน/วัน - หลักสูตรอบรม (กอง สช )

ตารางอบรม อสม. นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย ในพื้นที่ตำบลจัดการสุขภาพแบบบูรณาการ ครั้งที่ 1 (2 วัน) วันที่ ภาคเช้า ภาคบ่าย 1 PRE TEST หลักการ แนวคิด แนวทางการขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพแบบบูรณาการ สถานการณ์สุขภาพ 5 กลุ่มวัย และแนวทางการพัฒนา อสม. กับการเป็นต้นแบบสุขภาพชุมชน และแนวทางการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมชุมชน 2   ประชุมระดมสมอง การบริหารจัดการ 5 กลุ่มวัยและปัญหาสาธารณสุขของชุมชนแบบบูรณาการ ประชุมกลุ่มเรื่องแผนงาน/โครงการและการประเมินความสำเร็จ นำเสนอแผนงาน/โครงการ สรุปมอบหมายภารกิจ POST TEST

ภารกิจที่อยู่ระหว่างดำเนินงานของส่วนกลาง จัดทำคู่มือดำเนินงาน LTC เป็น Entry Point สู่ตำบลจัดการสุขภาพ 5 กลุ่มวัย แบบบูรณาการ (กรมอนามัยโดยสำนักอนามัย ผู้สูงอายุเป็นเจ้าภาพ) จัดทำและสนับสนุน Practical Guideline ตำบลจัดการจัดการสุขภาพแบบบูรณาการ พัฒนาศักยภาพทีมวิทยากรพี่เลี้ยงขับเคลิ่อนตำบลจัดการสุขภาพแบบบูรณาการทุกจังหวัด ระดับจังหวัด อำเภอ จำนวน 1,000 คน จัดเตรียมฐานข้อมูลตำบลจัดการสุขภาพแบบบูรณาการ www.thaiphc.net จัดระบบติดตาม กำกับและประเมินผลในพื้นที่ต้นแบบ เพื่อแก้ปัญหา 5 กลุ่มวัย จัดประชุมชี้แจงรายภาค รวมพลังขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพ 5 กลุ่มวัยแบบบูรณาการ “สังคมผู้สูงวัย เข้าใจ เข้าถึง พึ่งได้” ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดขอนแก่น 25 มกราคม 2559 ภาคเหนือ จังหวัดเชียงใหม่ ภาคใต้ จังหวัดสุราษฎร์ธานี ภาคกลาง จังหวัดอยุธยา

ระบบสารสนเทศงานสุขภาพภาคประชาชน ประกอบด้วย 2 website http://phc.moph.go.th สำหรับเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ งานสุขภาพภาคประชาชน http://www.thaiphc.net สำหรับเก็บฐานข้อมูล งานสุขภาพภาคประชาชน

9 ฐานข้อมูล 1) ฐานข้อมูลทะเบียนประวัติ อสม. 2) ฐานข้อมูลตำบลจัดการสุขภาพ 3) ฐานข้อมูลหมู่บ้านจัดการสุขภาพ 4) ฐานข้อมูลอบรมพัฒนาศักยภาพ อสม. 5) ฐานข้อมูล อสม. ป.ป.ช. 6) ฐานข้อมูลผลการปฏิบัติงานของ อสม. 7) ฐานข้อมูล อสม.ดีเด่น 8) ฐานข้อมูลสถาบันฝึกอบรม อสม. 9) ฐานข้อมูลองค์กร อสม.ลดเสี่ยง ลดโรคฯ

สวัสดีค่ะ