กระบวนงานการให้บริการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
Advertisements

การดำเนินการเยี่ยมบ้าน ของศูนย์สุขภาพชุมชน
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
อาจารย์อิทธิพล ปรีติประสงค์
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
โครงการ “ฟันเทียมพระราชทาน”
ประชุมติดตามผลการดำเนินงานเกณฑ์มาตรฐานระบบงานเยี่ยมบ้าน
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
การส่งเสริมศักยภาพ การคุ้มครอง พิทักษ์สิทธิประชาชนในแต่ละ กลุ่มเป้าหมาย โดยการกำหนด มาตรการ กลไก ส่งเสริมสนับสนุน ภาครัฐและเอกชนในการดำเนินการ ตามนโยบายและมาตรการที่กำหนด.
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
สกลนครโมเดล.
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
องค์การบริหารส่วนตำบลข่วงเปา
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
โครงการเมืองเกษตรสีเขียว ปี 2557
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ประวัติ ส่วนตัว ชื่อ นางสาวสุภาวรรณ อินสวัสดิ์ อายุ ๒๘ ปี ที่อยู่ บ้านเลขที่ ๑๙ / ๕ หมู่ที่ ๑ ตำบลแสงอรุณ อำเภอทับสะแก จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ การศึกษา.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
วันศุกร์ที่ 3 มิถุนายน 2559 เวลา น. ณ ห้องบัญชาการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยแห่งชาติ อาคาร 3 ชั้น 5 กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย การประชุมกองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสา.
การส่งเสริมการป้องกัน สาธารณภัย โดย นายกอบชัย บุญอรณะ ผู้อำนวยการสำนักนโยบายป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัย รักษา ราชการแทน ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมการ ป้องกันสาธารณภัย.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
1.กิจกรรมสร้างการรับรู้ เนื้อหา :  สร้างการรับรู้เรื่องสถานการณ์น้ำในพื้นที่แต่ละจังหวัด  รายงานความเคลื่อนไหวการเตรียมรับมือสถานการณ์  รณรงค์การใช้น้ำอย่างประหยัด.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
สงกรานต์ ๒๕๕๗. ร่วมสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัย สงกรานต์ ทั่วไทยไร้อุบัติเหตุ  จะร่วมสร้างวัฒนธรรมความ ปลอดภัยกันอย่างไร  จะทำสงกรานต์ทั่วไทยไร้อุบัติเหตุ
เยี่ยมเสริมพลัง การจัดการความรู้ วันที่ 14 ก. ย
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
การดำเนินงานเมื่อสิ้นสุดโครงการ
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการคุ้มครอง (ราย)
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
ณ ห้องประชุมกองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
การสัมมนาแนวทางการดำเนินงาน
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
กลุ่มเกษตรกร.
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
คำรับรองการปฏิบัติราชการ
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
แผนงานการพัฒนาองค์กรคุณภาพ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 6 จังหวัดตราด
แนวทางการรณรงค์ พัฒนาการเด็ก 4-8 กรกฎาคม 2559
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
คลินิกโรคติดเชื้อเด็ก โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข โรงแรมเดอะรอยัลเจมส์ กอล์ฟ รีสอร์ท
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จังหวัดเชียงใหม่
การจัดการความรู้ Knowledge Management
สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดฉะเชิงเทรา
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
การขับเคลื่อน การจัดทำแผนการพัฒนากำลังคน รายจังหวัด
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กระบวนงานการให้บริการ กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กระบวนงานการให้บริการ

กระบวนการคุ้มครองคนไร้ที่พึ่ง พนักงานเจ้าหน้าที่ 1300 พมจ. ตำรวจ โรงพยาบาล อปท./กทม. มูลนิธิสาธารณกุศล พลเมืองดี ฯลฯ ศปข./ศคพ. คนไร้ที่พึ่ง Walk in ม.19 กระบวนการคุ้มครองคนไร้ที่พึ่ง - รับแจ้ง/พบเห็น (ม.20) - รับตัวตาม ม.22 ข้อมูล : กองคุ้มครองสวัสดิภาพและเสริมสร้างคุณภาพชีวิต (กคส.) กระบวนการแรกรับ (ระยะเวลา 7 วัน) ตรวจเอกสาร/ตรวจร่างกาย/ทำบัญชีทรัพย์สิน/ ถ่ายภาพ/สอบข้อเท็จจริง/ทำทะเบียนประวัติ ต่างด้าว กระบวนการคัดกรอง คนไร้ที่พึ่ง ตำรวจ บุคคลที่มีกฎหมายเฉพาะให้การคุ้มครอง กรณีเจ็บป่วยวิกฤติ ประสานส่งต่อ รพ. กระบวนการคุ้มครอง (ระยะเวลา 15 วัน) ตม. พก. /ผส. /ดย. /สค. /ฯลฯ 1.ช่วยเหลือเบื้องต้น 3.พัฒนาศักยภาพ ตรวจร่างกาย/จิต/ดำเนินการทางทะเบียนราษฎร์/สิทธิสวัสดิการ กิจกรรมพัฒนาศักยภาพกาย/จิต/สังคม/ส่งเสริมอาชีพ 2.ประเมินวางแผนรายกรณี 4.ติดตาม/เตรียมความพร้อม ประเมินศักยภาพ/ทำแผน IRP เยี่ยมบ้าน/ประสานเครือข่ายติดตาม สถานคุ้มครองคนไร้ที่พึ่ง สถานประกอบการ ครอบครัว ชุมชน กระบวนการประสานส่งต่อ กระบวนการติดตามและประเมินผล

กระบวนงานศูนย์คุ้มครองคนไร้ที่พึ่ง สถานที่ในการประสานส่งต่อ การติดตาม กลุ่มเป้าหมาย คนไร้ที่พึ่ง / คนขอทาน กระบวนงานศูนย์คุ้มครองคนไร้ที่พึ่ง ข้อมูล : กองคุ้มครองสวัสดิภาพและเสริมสร้างคุณภาพชีวิต (กคส.) รับเข้า คัดกรอง คุ้มครอง ส่งต่อ ได้รับแจ้งเหตุและไปรับตัว มีผู้นำส่ง กลุ่มเป้าหมายขอรับบริการด้วยตนเอง *************************** ตรวจเอกสาร เช่น ใบแจ้งความ หลักฐานสำคัญอื่นๆ ตรวจร่างกาย ทำบัญชีทรัพย์สิน ถ่ายภาพ ทำทะเบียนประวัติ สืบเสาะข้อเท็จจริง ประเมินสภาพ ปัญหา/ความต้องการ ตรวจสุขภาพและคัดกรองคุณลักษณะ *************************** จัดทำเอกสารการคัดกรอง โดยเฉพาะกรณีกลุ่มเป้าหมายที่มีกฎหมายเฉพาะคุ้มครอง เพื่อทำหนังสือถึงหน่วยงานที่มีกฎหมายคุ้มครองกลุ่มเป้าหมายนั้นๆ ประเมินสภาพปัญหา ความต้องการและบันทึกลงในแฟ้มประวัติ จัดบริการปัจจัยสี่(ไม่เกิน 15 วัน) พัฒนาศักยภาพ บริการด้านการคุ้มครองอื่นๆ *************************** เข้าพักในสถานที่ที่ศูนย์ฯจัดไว้ โดยแยกชาย/หญิง เป็นสัดส่วน หรือบูรณาการร่วมกับหน่วยงานในพื้นที่เพื่อฝากผู้ใช้บริการ ให้ความรู้ด้านสิทธิสวัสดิการ จัดกิจกรรมฝึกทักษะ กิจวัตรประจำวัน อาชีพ และการเสริมสร้างสุขภาวะ มาตรา 19 สมัครใจเข้ารับบริการในสถานฯ. มาตรา 20/22 เจ้าหน้าที่เห็นเหตุจำเป็นให้คนไร้ที่พึ่งเข้ารับบริการในสถานฯ โดยความยินยอม มาตรา 23 ส่งหน่วยงานตามกฎหมายเฉพาะ ติดตามญาติและครอบครัว *************************** การเยี่ยมบ้าน/การติดตามครอบครัว/ การเตรียมความพร้อมก่อนส่งต่อ/ จัดทำหรือเตรียมเอกสารหลักฐานต่างๆให้สมบูรณ์/ ประสานงานเพื่อส่งต่อ สถานที่ในการประสานส่งต่อ การติดตาม ครอบครัวชุมชน เหยื่อค้ามนุษย์ นำส่ง สถานคุ้มครอง ผู้ประสบปัญหาการค้ามนุษย์ พิการทางจิต นำส่ง บ้านกึ่งวิถี ชาย/หญิง เด็ก นำส่ง บ้านพักเด็กฯ/สถานสงเคราะห์เด็ก พิการ นำส่ง สถานสงเคราะห์ คนพิการ ผู้สูงอายุ นำส่ง สถานสงเคราะห์ ผู้สูงอายุ สตรี นำส่ง สถานคุ้มครองสตรี สถานคุ้มครอง คนไร้ที่พึ่ง ติดตามรายเดือน/ 3เดือน/ รายไตรมาส/ รายปี

กระบวนงานของสถานคุ้มครองคนไร้ที่พึ่ง สถานคุ้มครองคนไร้ที่พึ่ง 11 แห่ง กลุ่มเป้าหมาย คนไร้ที่พึ่ง / คนขอทาน ส่งตัว สถานคุ้มครองคนไร้ที่พึ่ง 11 แห่ง เอกสารนำส่ง บัตรประชาชน/ทะเบียนบ้าน หนังสือยินยอมเข้ารับบริการ เอกสารประวัติ เอกสารหลักฐานอื่นๆ 1.กระบวนการแรกรับ/คัดกรอง คัดกรอง/ตรวจเอกสาร/ตรวจร่างกาย/ทำบัญชีทรัพย์สิน/ถ่ายภาพ/ทำทะเบียนประวัติ ตรวจสุขภาพกาย/จิต สืบเสาะข้อมูลเชิงลึก ประเมินกาย จิต สังคม พ.ร.บ.การคุ้มครองคนไร้ที่พึ่ง พ.ศ.2557 (มาตรา 19/20/22) 2.กระบวนการประเมินวางแผนให้ความช่วยเหลือ ประเมินศักยภาพ/ทำแผน IRP โดยทีมสหวิชาชีพ ฟื้นฟู/พัฒนาตามโครงการ ธัญบุรีโมเดล ร่วมกิจกรรมพัฒนาศักยภาพ กาย/จิต/สังคม/การศึกษา/อาชีพ สนับสนุนการมีส่วนร่วมของเครือข่าย พ.ร.บ.ควบคุมการขอทาน พ.ศ.2559 (มาตรา 15) 3.กระบวนการดำเนินการให้ความช่วยเหลือ ปัจจัยสี่/ พัฒนาศักยภาพ/ส่งเสริมอาชีพ/ให้คำปรึกษาแนะนำ/ช่วยเหลือ ในการดำรงชีวิต/ ด้านกฎหมายสถานะทางทะเบียน/ พิทักษ์สิทธิ พ.ร.บ.สุขภาพจิต พ.ศ.2551 (มาตรา 40) ส่งกลับครอบครัว ส่งต่อสถานประกอบการ ส่งต่อไปยังศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาทักษะชีวิต ส่งเข้าโครงการบ้านน้อยในนิคม 4.กระบวนการประสานส่งต่อ การเยี่ยมบ้าน/การติดตามครอบครัว/การเตรียมความพร้อมก่อนส่งต่อ 5.กระบวนการติดตามและประเมินผล การติดตามผลภายหลังการประสานส่งต่อ/ดำเนินการเชิงเฝ้าระวัง/ป้องกัน ติดตามและประเมินผลรายเดือน /รายไตรมาส /รายปี ข้อมูล : กองคุ้มครองสวัสดิภาพและเสริมสร้างคุณภาพชีวิต (กคส.)

กระบวนงานคุ้มครองผู้ทำการขอทาน สถานคุ้มครองและพัฒนาคุณภาพชีวิตทั้ง 11 แห่ง กระบวนการคัดกรอง คัดกรอง/ตรวจเอกสาร/ตรวจ ร่างกาย/ทำบัญชีทรัพย์สิน/ถ่ายภาพ/ ทำทะเบียนประวัติ กรณีผู้ทำการขอทานที่ไม่สามารถประกอบอาชีพได้ ไม่มีครอบครัวเลี้ยงดู และอยู่ในภาวะยากลำบาก ให้เข้ารับการคุ้มครอง (ม.16) กรณีมาเป็นคู่กับเด็ก ให้ตรวจสอบสารพันธุกรรม (DNA) เพื่อพิสูจน์ความสัมพันธ์เสียก่อนระหว่างดำเนินการให้ส่งไปยังสถานที่พักพิงชั่วคราวตามประกาศของกระทรวง กรณีผู้ทำการขอทานที่มีครอบครัว และเป็นการกระทำครั้งแรก การคุ้มครองและพัฒนาคุณภาพชีวิต กระบวนการพัฒนาคุณภาพชีวิตระยะเวลา 3 เดือน กระบวนการแรกรับ ตรวจเอกสาร เช่น ใบแจ้งความ ภาพถ่ายขณะกระทำความผิดตาม ม. 13 หลักฐานอื่น/ตรวจร่างกาย/ทำบัญชีทรัพย์สิน/ถ่ายภาพ/ทำทะเบียนประวัติ ทำความตกลงกับครอบครัว ครอบครัว ชุมชน สถานประกอบการ - หากพบเห็นว่าเป็นเหยื่อการค้ามนุษย์ให้ส่งกองบังคับการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ กระบวนการประเมินวางแผนให้ความช่วยเหลือ ประเมินศักยภาพ/ทำแผน IRP โดยทีมสหวิชาชีพ กระบวนการดำเนินการให้ความช่วยเหลือ ปัจจัยสี่/ พัฒนาศักยภาพ/ส่งเสริมอาชีพ/ให้คำปรึกษาแนะนำ/ช่วยเหลือ ในการดำรงชีวิต/ พิทักษ์สิทธิ/ การดำเนินการทางทะเบียนราษฎร กิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต - หากเป็นคนต่างด้าวให้ส่งตัวไปยังกองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง กระบวนการประสานส่งต่อ การเยี่ยมบ้าน/การติดตามครอบครัว/การเตรียมความพร้อมก่อนส่งต่อ - กรณีที่เป็นกลุ่มเป้าหมายที่ต้องดำเนินการตามกฎหมายเฉพาะให้ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (ม.15) ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาทักษะชีวิต ศูนย์คนไร้บ้าน กระบวนการติดตามและประเมินผล ติดตามราย 3 เดือน/ รายไตรมาส/ รายปี ข้อมูล : กองคุ้มครองสวัสดิภาพและเสริมสร้างคุณภาพชีวิต (กคส.)

ภารกิจศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาทักษะชีวิต ภารกิจบ้านน้อยในนิคม สถานคุ้มครองคนไร้ที่พึ่ง ศูนย์ส่งเสริมฯ 3 แห่ง คัดกรอง/ประเมิน บ้านน้อยในนิคม 5 แห่ง ส่งต่อ คนไร้ที่พึ่ง ประเภทช่วยเหลือตนเองได้ มีความพร้อมกลับคืนสู่สังคม ส่งต่อ A- B+ A A+ กระบวนการแรกรับ ตรวจร่างกาย/ตรวจเอกสารประวัติ/ทำแฟ้มประวัติ/ ทำบัญชีทรัพย์สิน/จัดเข้าที่พักอยู่ร่วมกัน กระบวนการประเมินวางแผน วางแผนพัฒนาทักษะชีวิต/ทักษะอาชีพ กระบวนการแรกรับ ตรวจร่างกาย/ตรวจเอกสาร/ทำแฟ้มประวัติ/ ทำบัญชีทรัพย์สิน/จัดเข้าที่พักหลังละ 1 คน สถานประกอบการ ครอบครัว ชุมชน กระบวนการพัฒนา พัฒนาทักษะชีวิต: เน้นการฝึกวินัยในการอยู่ร่วมกัน พัฒนาทักษะอาชีพ: วิชาชีพเฉพาะมุ่งสู่ความชำนาญเฉพาะทางเพื่อเข้าสู่สถานประกอบการ กระบวนการพัฒนา พัฒนาทักษะชีวิต: เน้นการใช้ชีวิตอิสระ ฝึกทักษะการออกไปอยู่ด้วยตนเอง พัฒนาทักษะอาชีพ: เน้นอาชีพพื้นฐานที่สามารถออกไปทำเองได้ในครอบครัว กระบวนการติดตามประเมินผล ประเมินรายเดือน/ รายไตรมาส/ รายปี ข้อมูล : กองคุ้มครองสวัสดิภาพและเสริมสร้างคุณภาพชีวิต (กคส.)