ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สำเนาว์ เสาวกูล คณบดีคณะเกษตรศาสตร์และเทคโนโลยี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

การประชุมสัมมนาเครือข่ายการจัดการความรู้
สรุปประเด็นสำคัญเรื่องเล่า
การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
ชุมชนนักปฏิบัติ CoP “ การปฏิบัติงานพัสดุไม่ ยากอย่างที่คิด ” เริ่มก่อตั้งแต่ปี
1. 2 วาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ วาระที่ 2 รับรองรายงานการประชุมครั้งที่ 2/2552 เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2552 วาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ.
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
กลุ่มบริหารงานทั่วไป
สำนักงานเลขานุการ สำนักวิทย บริการ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 โครงการจัดหาวัสดุ ตำรา วารสาร ฐานข้อมูล เพื่อให้บริการในสำนักวิทยบริการ การพัฒนานำระบบ RFID มาใช้ในการจัด.
สำนักงานเลขานุการ สำนักวิทยบริการ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 โครงการจัดหาวัสดุ ตำรา วารสาร ฐานข้อมูล เพื่อ ให้บริการในสำนักวิทยบริการ การพัฒนานำระบบ RFID มาใช้ในการจัดชั้น.
สำนักประสานและติดตามนโยบาย สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
๑ ทศวรรษของ สถาบัน. ๑ ) ด้านการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนา บุคลากรด้านการพัฒนามนุษย์ ๒ ) ผลิตและเผยแพร่ความรู้ด้านการ พัฒนามนุษย์ ๓ ) บริการสาธิตและวิจัยโดยศูนย์พัฒนา.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
รศ. ดร. สิทธิชัย แก้วเกื้อกูล คณบดี รศ. สุวรรณา สมบุญสุโข รองคณบดีฝ่ายบริหาร ผศ. ดร. คมกฤตย์ ชมสุวรรณ รองคณบดีฝ่ายวางแผน และพัฒนา รศ. ดร. กุลธิดา ธรรมวิภัชน์
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สพฐ. ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร.
KM WEBSITE กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข เสนอ อาจารย์ สุกัลยา ชาญสมร.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
Cop ที่ 3 การบริการวิชาการ : การ บริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง การบริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง คือ กิจกรรมหรือโครงการให้บริการ.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
๓ มุ่งหน้าสู่พื้นที่ “จุดเริ่มและเป้าหมายอยู่ที่พื้นที่”
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
โรงเรียนกับชุมชน.
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
หลักสูตรอาเซียน เพื่อสร้างประชาคมอาเซียน ให้เป็นประชาคมที่มุ่งเน้น การปฏิสัมพันธ์กับต่างประเทศ มีความมั่นคง มีสันติภาพ และมีความมั่งคั่ง.
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
ส้วมสะอาดในร้านอาหาร
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประกันคุณภาพการศึกษา
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
กลุ่มเกษตรกร.
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
Professional Learning Community ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
การทำวิทยฐานะ แนวทางใหม่
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
ISO ย่อมาจาก International Organization for Standardization คือ องค์การมาตรฐานสากล หรือองค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน เป็นองค์กรที่ออกมาตรฐานต่างๆ.
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
สำนักวิชาสหเวชศาสตร์และสาธารณสุขศาสตร์
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่นโดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง (TOR) คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม . . ฝ่ายวิชาการ . .
มารู้จักและมีส่วนร่วมในกิจกรรม CSR ของ สศช. กันเถอะ
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การใช้แนวคิดการประกันคุณภาพ ในการพัฒนาทักษะตนเอง สู่บัณฑิตที่พึงประสงค์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สำเนาว์ เสาวกูล คณบดีคณะเกษตรศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์

การใช้แนวคิดการประกันคุณภาพในการพัฒนาทักษะ ตนเองสู่บัณฑิตที่พึงประสงค์ 1. เป้าหมายในการพัฒนาบัณฑิต 2. กระบวนการดำเนินงานที่มีคุณภาพตามวงจร PDCA 3. แนวทางการพัฒนาตนเองของนักศึกษาด้วยกระบวนการประกันคุณภาพ 4. การประกันคุณภาพภายในขององค์การนักศึกษาหรือหน่วยงานเทียบเท่า

เป้าหมายในการพัฒนาบัณฑิต

1. เป้าหมายในการสร้างทักษะด้านประกันคุณภาพ 1.1 ลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ แผนพัฒนาการศึกษา ระดับอุดมศึกษา ฉบับที่ 9 (พ.ศ.2546-2549) 1.2 พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 1.3 เกณฑ์มาตรฐานงานกิจกรรมนักศึกษา พ.ศ.2541 1.4 กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

จากทฤษฎีสู่การปฏิบัติ 2. กระบวนการดำเนินงานที่มีคุณภาพ ตามวงจร PDCA จากทฤษฎีสู่การปฏิบัติ

วงจรคุณภาพเดมมิ่ง (PDCA) ร่วมกันวางแผน Plan การควบคุมคุณภาพ ร่วมกันปรับปรุง Do Act ร่วมกันปฏิบัติ การตรวจสอบและ การประเมินคุณภาพ Check ร่วมกันตรวจสอบและประเมิน

3. แนวทางการพัฒนาตนเองของนักศึกษาด้วยกระบวนการประกันคุณภาพ

3.1 แนวทางการพัฒนาตนเองของนักศึกษาด้วยกระบวนการประกันคุณภาพตาม พันธกิจ ของสถาบันอุดมศึกษา 1. ด้านการเรียนการสอน 2. ด้านการวิจัย 3. ด้านการให้บริการทางวิชาการ 4. ด้านการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม

3.1 แนวทางการพัฒนาตนเองของนิสิตนักศึกษาด้วยกระบวนการประกันคุณภาพตาม พันธกิจ ของสถาบันอุดมศึกษา 1. ด้านการเรียนการสอน นักศึกษาสามารถเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา การเรียนการสอนของคณาจารย์และการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ของตนเอง โดยการริเริ่มวางแผนการเรียนรู้ของตนเองตั้งแต่ปีแรกจนถึงปีสุดท้าย ของหลักสูตร กำกับติดตามการเรียนรู้ตามแผน และประเมินผลการเรียนรู้ของตนเองเพื่อปรับปรุงการเรียนในภาคการศึกษาถัดไป

3.1 แนวทางการพัฒนาตนเองของนิสิตนักศึกษาด้วยกระบวนการประกันคุณภาพตาม พันธกิจของสถาบันอุดมศึกษา 2. ด้านการวิจัย นักศึกษาสามารถนำความรู้และทักษะ PDCA ไปใช้ในการวางแผนและดำเนินงานทำวิทยานิพนธ์ งานวิจัย โครงงานกิจกรรมสร้างสรรค์เพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่

3. ด้านการให้บริการทางวิชาการ 3.1 แนวทางการพัฒนาตนเองของนิสิตนักศึกษาด้วยกระบวนการประกันคุณภาพตาม พันธกิจของสถาบันอุดมศึกษา 3. ด้านการให้บริการทางวิชาการ นักศึกษาสามารถเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการประเมินผลการดำเนินงานด้านการให้บริการทางวิชาการให้ชุมชน สังคมของมหาวิทยาลัย หรือการจัดทำกิจกรรมบริการทางวิชาการของนักศึกษา เช่น กิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์ กิจกรรมอาสาพัฒนาชนบท โดยสามารถนำความรู้ทักษะด้านการประกันคุณภาพไปสู่ชุมชน พัฒนาให้ชุมชนรู้จักการดำเนินงานที่มีคุณภาพ ให้ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงคุณภาพการให้บริการวิชาการด้านต่างๆ แก่มหาวิทยาลัย

4. ด้านการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม 3.1 แนวทางการพัฒนาตนเองของนิสิตนักศึกษาด้วยกระบวนการประกันคุณภาพตาม พันธกิจของสถาบันอุดมศึกษา 4. ด้านการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม นักศึกษาสามารถมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม โดยการจัดตั้งชมรมต่าง ๆ การจัดกิจกรรมทำนุบำรุงศาสนา การมีส่วนร่วมในการส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น นิสิตนักศึกษา โดยนำความรู้และทักษะด้านการประกันคุณภาพไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินกิจกรรมทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ของสถาบันเพื่อให้บรรลุตามเป้าหมายและสอดคล้องของภารกิจหลักของมหาวิทยาลัย

การใช้วงจรคุณภาพ PDCA เชื่อมโยงกับพันธกิจ ของสถาบันอุดมศึกษา ด้านการเรียนการสอนและกิจกรรมนักศึกษา ด้านการวิจัย ด้านการให้บริการวิชาการ ด้านการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม Plan วางแผนในการเรียนของตนเอง วางแผนกิจกรรมของนักศึกษาเอง และตั้งเป้าหมายในกิจกรรมนั้นๆ -วางแผนทำวิทยานิพนธ์ งานวิจัย โครงการงานกิจกรรม สร้างองค์ความรู้ใหม่ (โดยเฉพาะหลักสูตรบัณฑิตศึกษา) -วางแผนจัดโครงการบริการทางวิชาการร่วมกับคณะสถาบันหรือ เป็นกิจกรรมเฉพาะของสโมสรนักศึกษา -วางแผนจัดทำโครงการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมร่วมกับคณะสถาบันหรือเป็นกิจกรรมเฉพาะของสโมสรนักศึกษา

การใช้วงจรคุณภาพ PDCA เชื่อมโยงกับพันธกิจ ของสถาบันอุดมศึกษา (ต่อ) ด้านการเรียนการสอนและกิจกรรมนักศึกษา ด้านการวิจัย ด้านการให้บริการวิชาการ ด้านการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม Do ประเมินการเรียนของตนเอง ดำเนินกิจกรรมของนักศึกษา ดำเนินการทำวิทยานิพนธ์ งานวิจัย โครงการงานกิจกรรม สร้างองค์ความรู้ใหม่ตามวิธีการที่ตกลง ดำเนินการตามโครงการบริการวิชาการต่างๆ ของคณะสถาบันหรือกิจกรรมเฉพาะของสโมสรนักศึกษา ดำเนินกิจกรรมโครงการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมต่างๆ ของคณะ สถาบันหรือกิจกรรมเฉพาะของสโมสรนิสิตนักศึกษา

ตัวอย่างการใช้วงจรคุณภาพ PDCA กับกิจกรรม/โครงการนักศึกษา (ต่อ) ด้านการเรียนการสอนและกิจกรรมนักศึกษา ด้านการวิจัย ด้านการให้บริการวิชาการ ด้านการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม Check นำผลการประเมินมาเปรียบเทียบกับเป้าหมายที่ตั้งไว้พิจารณาว่ามีประเด็นไหนยังทำได้ไม่เป็นไปตามเป้าหมายและข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงการเรียนการสอนในรอบปีถัดไป ประเมินผลและนำผลการประเมินการจัดทำวิทยานิพนธ์ งานวิจัย โครงการงานกิจกรรม สร้างองค์ความรู้ใหม่มาวิเคราะห์เปรียบเทียบกับเป้าหมายที่ตั้งไว้ ประเมินผลและนำผลการประเมินการจัดทำโครงการบริการวิชาการต่างๆ มาวิเคราะห์เปรียบเทียบกับเป้าหมายที่ตั้งไว้ ประเมินผลและนำผลการประเมินการโครงการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมมาวิเคราะห์เปรียบเทียบกับเป้าหมายที่ตั้งไว้

การใช้วงจรคุณภาพ PDCA เชื่อมโยงกับพันธกิจ ของสถาบันอุดมศึกษา (ต่อ) ด้านการเรียนการสอนและกิจกรรมนักศึกษา ด้านการวิจัย ด้านการให้บริการวิชาการ ด้านการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม Act นักศึกษาปรับปรุงการเรียนของตนเอง - นักศึกษาปรับปรุงการจัดกิจกรรมของนักศึกษาในครั้งถัดไปตามผลการประเมิน -นักศึกษาปรับปรุงการจัดทำวิทยานิพนธ์ งานวิจัย/ โครงงานกิจกรรมสร้างองค์ความรู้ใหม่ตามผลการประเมิน -นักศึกษาปรับปรุงการจัดทำโครงการบริการวิชาการของคณะ สถาบันหรือกิจกรรมเฉพาะของสโมสรนักศึกษาตามผลการประเมิน -นักศึกษาปรับปรุงการจัดทำโครงการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมของคณะ สถาบันหรือกิจกรรมเฉพาะของสโมสรนักศึกษาตามผลการประเมิน

3.2 พัฒนาตนเองโดยเชื่อมโยงกับกิจกรรมหรือโครงการ โดยนำความรู้และทักษะของกระบวนการ PDCA 1. ด้านวิชาการ 2. ด้านกีฬาและการส่งเสริมสุขภาพ 3. ด้านบำเพ็ญประโยชน์และรักษาสิ่งแวดล้อม 4. ด้านนันทนาการ 5. ด้านส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมไทย

3.2 พัฒนาตนเองโดยเชื่อมโยงกับกิจกรรมหรือโครงการ โดยนำความรู้และทักษะของกระบวนการ PDCA 1. ด้านวิชาการ มุ่งเน้นให้นักศึกษามีวิธีคิดอย่างเป็นระบบสามารถนำประสบการณ์ทางด้านวิชาการและวิชาชีพ ไปเพิ่มพูนในระหว่างการศึกษาและมีจิตสำนึกในการสร้างอาชีพอิสระ เช่น ชมรมวิชาการ และผู้ประกอบการขนาดย่อม เป็นต้น

2. ด้านกีฬาและการส่งเสริมสุขภาพ 3.2 พัฒนาตนเองโดยเชื่อมโยงกับกิจกรรมหรือโครงการ โดยนำความรู้และทักษะของกระบวนการ PDCA 2. ด้านกีฬาและการส่งเสริมสุขภาพ มุ่งเน้นให้นักศึกษามีทักษะในการเล่นกีฬา มีน้ำใจเป็นนักกีฬา ความสามัคคี ความเสียสละ และออกกำลังกายเพื่อการส่งเสริมสุขภาพ ให้มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตดี เช่น ชมรมกีฬาต่างๆ ชมรมส่งเสริมสุขภาพ

3. ด้านบำเพ็ญประโยชน์และรักษาสิ่งแวดล้อม 3.2 พัฒนาตนเองโดยเชื่อมโยงกับกิจกรรมหรือโครงการ โดยนำความรู้และทักษะของกระบวนการ PDCA 3. ด้านบำเพ็ญประโยชน์และรักษาสิ่งแวดล้อม มุ่งเน้นให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการเรียนรู้ภูมิปัญญาชาวบ้าน การรักษา สิ่งแวดล้อม รวมทั้งเสริมสร้างประสบการณ์ทำงานและการใช้ชีวิตร่วมกัน ในกลุ่มนักศึกษาและชุมชน จำแนกกิจกรรมได้ 4 ลักษณะ 1. การให้ความรู้ต่างๆ แก่ชุมชน 2. การให้ความรู้ด้านสาธารณสุข 3. ให้บริการสาธารณูปโภค เช่น การต่อเติมซ่อมแซมอาคารห้องเรียน ห้องสมุด 4. การเกษตร เช่น สร้างโรงเพาะชำ ปลูกผักสวนครัว

3.2 พัฒนาตนเองโดยเชื่อมโยงกับกิจกรรมหรือโครงการ โดยนำความรู้และทักษะของกระบวนการ PDCA 4. ด้านนันทนาการ มุ่งเน้นให้นักศึกษามีใช้เวลาว่างเข้าร่วมกิจกรรมโดยไม่มีการบังคับ ต้องเป็นกิจกรรมที่สังคมยอมรับ โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาทางร่างกาย อารมณ์ ส่งเสริมการมีส่วนร่วม การแสดงออกความเป็นมนุษยชาติที่ดี เช่น เข้าร่วมชมรมโต้วาที การท่องเที่ยวทัศนศึกษา เป็นต้น

5. ด้านส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมไทย 3.2 พัฒนาตนเองโดยเชื่อมโยงกับกิจกรรมหรือโครงการ โดยนำความรู้และทักษะของกระบวนการ PDCA 5. ด้านส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมไทย มุ่งเน้นให้นักศึกษามีจิตสำนึกในการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมไทย และพัฒนาจริยธรรม เช่น การทำบุญตักบาตร การแสดงศิลปวัฒนธรรมไทย การแสดง หรือมีส่วนร่วมในการแต่งกายตามวัฒนธรรมท้องถิ่น กิจกรรมประเพณีต่างๆ เป็นต้น

การใช้วงจรคุณภาพ PDCA เชื่อมโยงกับกิจกรรม/โครงการนักศึกษา กิจกรรมวิชาการ กิจกรรมกีฬาและการส่งเสริมสุขภาพ กิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์และการรักษาสิ่งแวดล้อม กิจกรรมนันทนาการ กิจกรรมส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม Plan - สำรวจความต้องการของสมาชิกในการทำกิจกรรมวิชาการต่างๆ เช่นกิจกรรมสอนเสริม กิจกรรมเพิ่มพูนทักษะทางภาษาทักษะทางวิชาชีพ ทักษะในด้านคอมพิวเตอร์เป็นต้น วางแผนกิจกรรมตามความต้องการของสมาชิก วางทีมดำเนินงาน วางกลุ่มเป้าหมาย สำรวจความต้องการของสมาชิกในการทำกิจกรรม เช่นโยคะ แอโรบิค เต้นรำ ฟุตบอล เป็นต้น สำรวจความต้องการของสมาชิกในการทำกิจกรรมเช่น อาสาสมัครพัฒนาชนบท หน่วยแพทย์เคลื่อนที่ การให้ความรู้ กิจกรรมสร้างเสริมประสบการณ์การทำงานและการใช้ชีวิตร่วมกันในหมู่นิสิตนักศึกษาและชุมชน สำรวจความต้องการของสมาชิกในการทำกิจกรรมนันทนาการต่างๆ - สำรวจความต้องการของสมาชิกในการทำกิจกรรม เช่น การทำบุญตักบาตร กิจกรรมอนุรักษ์และสร้างจิตสำนึกในการบำรุง รักษาและตระหนักในคุณค่าของศิลปวัฒนธรรม

การใช้วงจรคุณภาพ PDCA เชื่อมโยงกับ กิจกรรม/โครงการนักศึกษา (ต่อ) กิจกรรมวิชาการ กิจกรรมกีฬาและการส่งเสริมสุขภาพ กิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์และการรักษาสิ่งแวดล้อม กิจกรรมนันทนาการ กิจกรรมส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม Do ดำเนินงานกิจกรรมวิชาการต่างๆ ตามแผนที่วางไว้ ดำเนินงานกิจกรรมกีฬาและการส่งเสริมสุขภาพ ของชมรมกีฬาต่างๆ ตามแผนที่วางไว้ ดำเนินกิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์และการรักษาสิ่งแวดล้อมประเภทต่างๆ ตามแผนที่วางไว้ ดำเนินกิจกรรมกิจกรรมนันทนาการต่างๆ ตามแผนที่วางไว้ ดำเนินกิจกรรมส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมประเภทต่างๆ ตามแผนที่วางไว้

การใช้วงจรคุณภาพ PDCA เชื่อมโยงกับกิจกรรม/ โครงการนักศึกษา (ต่อ) กิจกรรมวิชาการ กิจกรรมกีฬาและการส่งเสริมสุขภาพ กิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์และการรักษาสิ่งแวดล้อม กิจกรรมนันทนาการ กิจกรรมส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม Check ประเมินผลการดำเนินการและนำผลมาเปรียบเทียบกับเป้าหมายที่ตั้งไว้

การใช้วงจรคุณภาพ PDCA เชื่อมโยงกับกิจกรรม/โครงการนักศึกษา (ต่อ) กิจกรรมวิชาการ กิจกรรมกีฬาและการส่งเสริมสุขภาพ กิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์และการรักษาสิ่งแวดล้อม กิจกรรมนันทนาการ กิจกรรมส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม Act ปรับปรุงโครงการกิจกรรม - ปรับปรุงวิธีการจัดทำกิจกรรมในครั้งถัดไปตามผลการประเมิน

4. การประกันคุณภาพภายในขององค์การนักศึกษาหรือหน่วยงานเทียบเท่า

4.1 วัตถุประสงค์ของการประกันคุณภาพภายใน ขององค์การนักศึกษา 4.1 วัตถุประสงค์ของการประกันคุณภาพภายใน ขององค์การนักศึกษา 1. เพื่อให้องค์การนักศึกษาได้พัฒนาคุณภาพของผลผลิตที่เกิดจากการดำเนินงานนั้นๆ และพัฒนาประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของนิสิตนักศึกษาผู้ที่เกี่ยวข้อง 2. เพื่อให้หน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง มั่นใจเกี่ยวกับผลผลิต ผลการดำเนินงานขององค์การนักศึกษา 3. เพื่อการจัดสรรงบประมาณได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม มีการใช้งบประมาณอย่างคุ้มค่าและมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อให้ข้อมูลแก่หน่วยงานหรือองค์กรอื่นเกี่ยวกับคุณภาพของผลผลิตจากกิจกรรม โครงการต่าง ๆ ของนิสิตนักศึกษา 5. เพื่อให้ข้อมูลแก่คณะ สถาบัน เกี่ยวกับระบบกลไกการดำเนินงานขององค์การนักศึกษา 6. เพื่อให้เกิดความโปร่งใสในกระบวนการดำเนินกิจกรรม โครงการต่าง ๆ เกี่ยวกับการนำเงิน งบประมาณมาใช้จ่ายดำเนินการขององค์การนักศึกษา

4.2 การจัดทำระบบประกันคุณภาพภายในขององค์การนักศึกษา ขั้นตอนในการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน ประกอบด้วย - กำหนดผู้รับผิดชอบในการทำประกันคุณภาพภายใน - กำหนดบทบาทของสมาชิกในกระบวนการประกันคุณภาพภายใน - กำหนดตัวบ่งชี้คุณภาพ - กำหนดแนวทางในการประกันคุณภาพ - ดำเนินกิจกรรมตามวงจรคุณภาพ PDCA - จัดทำรายงานการประกันคุณภาพภายใน - ตรวจประเมินคุณภาพ - รายงานการประเมินคุณภาพให้สถาบัน - นำผลการประเมินคุณภาพไปปรับปรุงแผนการดำเนินงานในปีต่อไป

การสร้างเครือข่ายความร่วมมือ เพื่อส่งเสริมสนับสนุน การประกันคุณภาพการศึกษา

การสร้างเครือข่ายความร่วมมือเพื่อส่งเสริมสนับสนุน การประกันคุณภาพการศึกษา การสร้างเครือข่ายความร่วมมือเพื่อส่งเสริมสนับสนุนการประกันคุณภาพ รูปแบบความร่วมมือระหว่างนักศึกษาภายในและระหว่างสถาบัน แนวทางการติดต่อสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร การแลกเปลี่ยนเรียนรู้

การสร้างเครือข่ายความร่วมมือเพื่อส่งเสริมสนับสนุน การประกันคุณภาพการศึกษา 1. การสร้างเครือข่ายความร่วมมือเพื่อส่งเสริมสนับสนุนการประกันคุณภาพการศึกษา มีเป้าประสงค์ที่จะใช้พลังความคิดของนักศึกษา ในการขับเคลื่อนคุณภาพนักศึกษาตามวงจรPDCA และใช้กลไกการจัดการความรู้(KM) เพื่อค้นหาแนวปฏิบัติที่ดี (Good practice) นำมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Learning and sharing) ร่วมกัน ในกิจกรรมที่นักศึกษามีส่วนเกี่ยวข้อง เช่นการให้ข้อมูลและข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงหลักสูตร วิธีการเรียน การสอน การแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ในการทำกิจกรรมที่สร้างสรรค์ ในรูปแบบที่แตกต่าง ที่มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลและคุ้มค่า เป็นต้น สามารดำเนินการได้ทั้งภายในสถาบัน ระหว่างสถาบัน รวมทั้งเครือข่ายในประเทศ และต่างประเทศ โดยเชื่อมโยงผ่านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ หากดำเนินการอย่างต่อเนื่องจะทำให้เกิด สังคมแห่งการเรียนรู้ที่มีคุณภาพ เพื่อช่วยยกระดับไปสู่การแข่งขันระดับชาติหรือนานาชาติต่อไป

การสร้างเครือข่ายความร่วมมือเพื่อส่งเสริมสนับสนุน การประกันคุณภาพการศึกษา 2. รูปแบบความร่วมมือระหว่างนักศึกษาภายในและระหว่างสถาบัน 2.1 รูปแบบความร่วมมือในลักษณะเครือข่าย สถาบันอาจมีกำหนดแม่ข่ายที่จะเป็นศูนย์การกลางในการติดต่อกับลูก ข่าย(คณะต่างๆ) แม่ข่ายทำหน้าที่ในการชี้แนะนโยบายและตรวจสอบประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการดำเนินกิจกรรมที่สภานิสิตนักศึกษา รับผิดชอบ รวมทังเป็นตัวแทนในการติดต่อกับผู้รับผิดชอบงานประกัน คุณภาพของสถาบัน โดยลูกข่ายต้องให้ความร่วมมือกับแม่ข่ายอย่างจริงจัง

การสร้างเครือข่ายความร่วมมือเพื่อส่งเสริมสนับสนุน การประกันคุณภาพการศึกษา 2. รูปแบบความร่วมมือระหว่างนักศึกษาภายในและระหว่างสถาบัน 2.2 รูปแบบของการจัดกิจกรรมความร่วมมือ เพื่อสร้างความแข็งแกร่งหรือสนับสนุนการดำเนินงานการประกันคุณภาพให้กับเครือข่ายสามารถจัดขึ้นได้หลายรูปแบบ ขึ้นอยู่กับ วัตถุประสงค์ของกิจกรรมนั้นๆ

การสร้างเครือข่ายความร่วมมือเพื่อส่งเสริมสนับสนุน การประกันคุณภาพการศึกษา 3. แนวทางการติดต่อสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร 3.1 การใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ต้องมีการจัดทำระบบการจัดการบริหารข้อมูลอย่างเป็นระบบ จัดทำระบบการเผยแพร่ข้อมูลและเข้าถึงข้อมูลได้สะดวก แยกประเภทข้อมูลที่ต้องการจัดเก็บและเผยแพร่ผ่าน website ซึ่ง website ที่จะใช้เป็นศูนย์กลางในการติดต่อสื่อสารและเผยแพร่ บน website อาจมีการสร้าง web board ไว้ด้วย เพื่อใช้เป็นสื่อกลางในการติดต่อสื่อสารแลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์ และแก้ปัญหาร่วมกัน ประการสำคัญ คือ ข้อมูลข่าวสารต่างๆ บน website ต้อง มีการ update ข้อมูลอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง

การสร้างเครือข่ายความร่วมมือเพื่อส่งเสริมสนับสนุน การประกันคุณภาพการศึกษา 3. แนวทางการติดต่อสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร 3.2 การจัดทำจุลสาร กระดานข่าว นิทรรศการ เพื่อเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารภายในสถาบันและระหว่างสถาบัน อาจเป็นเรื่องการดำเนินงานประกันคุณภาพของสถาบันอุดมศึกษาต่างๆ ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน ปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงานของสถาบัน เป็นต้น

การสร้างเครือข่ายความร่วมมือเพื่อส่งเสริมสนับสนุน การประกันคุณภาพการศึกษา 4. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างเครือข่ายนักศึกษาใช้หลักการจัดการความรู้ (KM) ดังนี้ จัดหาความรู้จากแหล่งต่างๆ และจัดหมวดหมู่ความรู้อย่างเป็นระบบ การแบ่งปันความรู้ มี 4 ระดับคือ Know what (การรู้ข้อเท็จจริง) Know how (ความรู้ที่เชื่อมโยงกับความเป็นจริง) Know why (ความรู้เชิงเหตุผลระหว่างเรื่องราวหรือเหตุผลต่างๆผลของประสบการณ์การแก้ปัญหานำมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้อื่น) และ Care why (ความรู้ในเชิงริเริ่มสร้างสรรค์ที่ต้องการการแก้ไขปัญหาและทำให้ดีขึ้น)

การสร้างเครือข่ายความร่วมมือเพื่อส่งเสริมสนับสนุน การประกันคุณภาพการศึกษา 4. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (ต่อ) การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างเครือข่ายนักศึกษาใช้หลักการจัดการความรู้(KM) ดังนี้ -การใช้และการเผยแพร่ความรู้เป็นการเผยแพร่ความรู้สารสนเทศแก่กันและกัน เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในการตัดสินใจและการนำเงินงานที่ไม่ผิดพลาด - สิ่งสำคัญการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ต้องอาศัยการร่วมมือร่วมใจและการนำเสนอข้อเท็จจริงหรือแนวปฏิบัติที่ดี (Good practice) ที่ประสบความสำเร็จมาสร้างประโยชน์แก่ผู้อื่นและพัฒนาให้ดียิ่งขึ้นต่อไป

ตรงเวลา ความรู้ สติปัญญาดี คิดอย่างเป็นระบบ คุณธรรม ใฝ่รู้ บุคลิกภาพดี เป็นผู้นำ ศักยภาพในการ สร้างงานสู่สากล มีวินัย รับผิดชอบต่อตนเอง เอื้ออาทรสังคม ภูมิปัญญาท้องถิ่น สุขภาพดี

เก่ง ดี มีสุข

ขอทราบความคิดเห็น คำถาม ?

ขอขอบคุณ ทุกท่าน