บทที่ 4 อินเตอร์เน็ต.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Dreamweaver Adobe การสร้างโฮมเพจด้วย โปรแกรม 4 โดย.. ไชยยงค์ กงศรี
Advertisements

นางสาวมะลิวรรณ ระหูภา
อินเทอร์เน็ต (Internet)
บทที่ 12 การจดทะเบียนชื่อโดเมน (Domain Name Registration)
ขอต้อนรับ...สู่โลกอินเทอร์เน็ต
อินเตอร์เน็ต (Internet)
บทที่ 6 อินเตอร์เน็ต ความเป็นมา.
Internet For School การทำงาน 1.Rounter เชื่อมต่ออินเทอร์เนต์ไปยัง ISP 2.ISP หรือผู้ให้บริการอินเทอร์เนตจะตรวจ check ว่าโรงเรียนท่านเป็นสมาชิกหรือไม่ถ้าเป็นก็ทำการเชื่อมต่ออินเทอร์เนต.
โพรโตคอลในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Protocol)
Kulachatr Chatrkul Na Ayudhya Introduction to e-Commerce
โอฬาริก สุรินต๊ะ CS/MIS
อินเทอร์เน็ต (Internet)
อินเตอร์เน็ต INTERNET.
อินเทอร์เน็ต และการใช้งาน
Internet, & Network โดย ศน.ไพฑูรย์ ปลอดอ่อนและ อ.ศรชัย เกษมสุข.
อินเทอร์เน็ต (Internet)
คอมพิวเตอร์ ร.ร.จักรคำคณาทร
อินเทอร์เน็ตInternet
เรื่อง โดเมนเนม โดเมนเนม.
Internet.
รายวิชา การออกแบบเว็บไซต์
Doma in สากล Domai n ใน ไทย ย่อมาจากความหมาย.com.co.thCommerce of Thailand องค์กรธุรกิจ ภาคเอกชนใน ประเทศไทย.gov.go.thGovernment of Thailand.
อินเทอร์เน็ต โดย.. ครูสาคร หนูอิน.
Chapter 3 เครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต
INTERN ET Internet คือ อะไร ? เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ขนาดใหญ่ที่ทำการ เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ หลายล้านเครื่องกว่า 130 ประเทศทั่วโลกเข้า ด้วยกัน มีบริการต่าง.
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น ครู โรงเรียนหนองกี่พิทยาคม
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
คำศัพท์ระบบอินเตอร์เน็ต
3 กลุ่มของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีการเชื่อมต่อเข้าด้วยกัน 3 สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูล และใช้อุปกรณ์ต่างๆ เช่น ดิสก์ เทป เครื่องพิมพ์ ร่วมกันได้ 3 เครือข่ายท้องถิ่น.
Internet. Internet Inter Connection Network เชื่อมโยงเครื่องหลายล้านเครื่อง ทั่วโลก เข้าด้วยกัน เสมือนใยแมงมุม ที่ครอบคลุมทั่วโลก หน่วยงานรัฐ เอกชน หรือสารธารณะ.
ac.th. WWW (World Wide Web) ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ที่ เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ถึงกันทั่ว โลก โดยใช้โปรโตคอลที่ชื่อว่า TCP/IP.
ac.th. WWW (World Wide Web) ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ที่ เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ถึงกันทั่ว โลก โดยใช้โปรโตคอลที่ชื่อว่า TCP/IP.
การสื่อสารข้อมูล.
โรงเรียนห้วยเม็กวิทยาคม
Information Technology For Life
บทที่ 8 เครือข่ายการสื่อสารทางไกลระหว่างประเทศ
รายวิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ
บทที่ 6 โลกของเครือข่าย.
บทที่ 4 อินเตอร์เน็ต.
Internet เบื้องต้น.
อินเทอร์เน็ตและบริการออนไลน์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต Internet Technology
TCP/IP Protocol นำเสนอโดย นส.จารุณี จีนชาวนา
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
4.1 ความหมายและพัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
Pattanachai Huangkaew Kapchoeng Wittaya School
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาค้นคว้า
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
จงยกตัวอย่างโปรแกรมที่ใช้สำหรับออกแบบเว็บไซด์
เริ่มต้นด้วยอินเทอร์เน็ต
Electronic Commerce Law กฏหมายพานิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 4 การใช้งานอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น Introduction to Internet
การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
.:ประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต
อาจารย์สุธารัตน์ ชาวนาฟาง
อินเทอร์เน็ต by krupangtip
อบรมการใช้คอมพิวเตอร์เบื้องต้น หัวข้อ การคีย์ใบงาน IT Service สำหรับผู้ใช้บริการ โดย งานเทคโนโลยีสารสนเทศ ศูนย์การแพทย์ ฯ.
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ Internet
การออกข้อบัญญัติท้องถิ่น ตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข
แนวทางการประเมิน กองทุนหลักประกันสุขภาพ
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสร้างเว็บไซต์
โดย อ.ปริญญา น้อยดอนไพร คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
องค์ประกอบของเวิลด์ไวด์เว็บ
โดเมนเนมและการจดทะเบียน (Domain Name Register)
การพัฒนาเว็บไซต์ ในงานธุรกิจ
ขั้นตอนการสร้างเว็บไซต์
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
บทที่ 2 ระบบเครือข่ายและอินเทอร์เน็ต
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 4 อินเตอร์เน็ต

หัวข้อ 1. อินเตอร์เน็ต คืออะไร 2. ประวัติของอินเตอร์เน็ต 3. ประโยชน์ของอินเตอร์เน็ต 4. เครือข่ายใยแมงมุม (World Wide Web – WWW) 5. สิ่งที่จำเป็นต้องรู้บนอินเทอร์เน็ต 6. พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2560

1. อินเตอร์เน็ต คืออะไร อินเตอร์เน็ต คือ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดใหญ่ซึ่งเชื่อมโยงเครือข่าย คอมพิวเตอร์ย่อย (Sub Net)หลายเครือข่ายทั่วทุกมุมโลกเข้าไว้ด้วยกัน มีการ รับส่งสารสนเทศเป็นมาตรฐานเดียวกัน คอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องสามารถรับส่งสารสนเทศได้ในรูปแบบต่าง ๆ คือ ข้อมูล (data) ข้อความ (text) เสียง (voice) และภาพลักษณ์หรือรูปภาพ (image) การติดต่อสื่อสารบน อินเทอร์เน็ต ใช้โพรโทคอล TCP/IP

2. ประวัติของอินเทอร์เน็ต อดีตก่อนที่จะมีอินเทอร์เน็ต การสื่อสารระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ ได้ถูกจำกัดเพียงแค่การส่งข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กกับ เครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ประจำสำนักงานเท่านั้น พ.ศ.2500-2510 นักวิจัยจากหลายมหาวิทยาลัยในประเทศ สหรัฐอเมริกาได้พัฒนาระบบเครือข่ายการสื่อสารข้อมูลที่เชื่อมโยง หลายหน่วยงานเป็นโครงข่าย ระบบดังกล่าวได้รับการสนับสนุนจากกระทรวงกลาโหมประเทศ สหรัฐอเมริกา จึงเกิดเป็นเครือข่ายที่มีชื่อว่า อาร์พาเน็ต (ARPANET) ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของอินเทอร์เน็ตในปัจจุบัน

ในปี ค.ศ.  1983 (พ.ศ.2526) ได้มีการนำ  TCP/IP Protocol หรือ Transmission Control Protocol  มาใช้กับ คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องในระบบเป็นครั้งแรก  จนกรทั่งได้ กลายเป็นมาตรฐานในการติดต่อในระบบเครือข่าย อินเตอร์เน็ตมาจนถึงปัจจุบัน ในปี  ค.ศ.  1986 (พ.ศ.2529) มีการกำหนดชื่อ โดเมน  (Domain name System)  เพื่อสร้างฐานข้อมูลใน แต่ละเครือข่าย  และใช้  ISP  (Internet Service Provider)  ในการจัดทำฐานข้อมูลของตนเอง ปัจจุบันคอมพิวเตอร์ทั่วโลกล้วนแต่เชื่อมต่อกับเครือข่าย อินเตอร์เน็ตและสามารถติดต่อแลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้ อย่างกว้างขวางและทั่วถึงกว่าเดิม

อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย ประเทศไทยก็เริ่มใช้อินเทอร์เน็ตเป็นครั้งแรกในปี พ.ศ. 2530 โดย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (AIT) โดยได้รับความ ช่วยเหลือจากโครงการ IDP (The International Development Plan) เพื่อให้สามารถ ติดต่อสื่อสารทางอีเมล์กับมหาวิทยาลัยเมลเบิร์นในออสเตรเลียได้ ปีพ.ศ.2531 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ขอที่อยู่อินเทอร์เน็ตได้เป็น แห่งแรกและใช้ชื่อว่า “sritrang.psu.th” ในช่วง พ.ศ.2535 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้ทำการเชื่อมต่อเครือข่ายผ่านระบบ THAINET และ NECTEC ได้สำเร็จและจัดตั้งเครือข่าย THAISARN ขึ้นอย่างเป็นทางการ และได้มีการพัฒนามาเรื่อยๆ จนกระทั่งจากสาย LAN ก็พัฒนาต่อจนมาเป็นอินเทอร์เน็ต แบบไร้สาย ผ่านเครือข่ายผู้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่

3. ประโยชน์ของอินเตอร์เน็ต 3. ประโยชน์ของอินเตอร์เน็ต อินเตอร์เน็ต มีประโยชน์ดังนี้ คือ ด้านการศึกษา  คลังข้อมูลขนาดใหญ่ / สมัครเรียน ด้านการรับส่งข้อมูลข่าวสาร e-mail (Electronics mail) ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ web board กระดานข่าว (www.pantip.com) chat สนทนาออนไลน์ web blog เว็บสำเร็จรูป เช่น Twitter, Facebook ด้านธุรกิจการค้า  e-commerce ธุรกรรมออนไลน์ ด้านบันเทิง  ดูหนัง ฟังเพลง ภาพ ด้านซอฟท์แวร์  www.download.com, www.thaiware.com

4. เครือข่ายใยแมงมุม (World Wide Web – WWW) ส่วนประกอบของ www 4.1 เว็บไซต์ (web site) หรือ เว็บเซอร์ฟเวอร์ คือ ระบบ คอมพิวเตอร์ที่เป็นแหลงเก็บเว็บเพจ 4.2 โปรแกรมเว็บบราวเซอร์ (web browser) เป็นโปรแกรมหรือ ซอร์ฟแวร์ที่ใช้ในการเข้าสู่ www และเปิดดูเว็บเพจที่เก็บอยู่ในเว็บไซต์ ใดๆ โดยเว็บบราวเซอร์ที่นิยมใช้ ได้แก่ IE , Chrome, FireFox

5. สิ่งที่จำเป็นต้องรู้บนอินเทอร์เน็ต โฮมเพจ (home page) คือ หน้าแรกของเว็บเพจทั้งหมดที่ผู้ใช้บริการ อินเตอร์เน็ตจะพบเมื่อมีการเข้าไปยังเว็บไซต์ใดๆ และมักจะเป็นหน้าที่ เชื่อมต่อ (Link) ไปยังหน้าอื่นๆ ของเว็บไซต์ เว็บไซต์ (web site) คือ แหล่งที่ตั้งข้อมูลขององค์กร หน่วยงาน หรือ บุคคลใดๆ เว็บเพจ (web page) หมายถึง หน้าใดๆ ก็ได้ในเว็บไซต์ เป็นการเรียกไม่ เฉพาะเจาะจง

5. สิ่งที่จำเป็นต้องรู้บนอินเทอร์เน็ต (ต่อ) หมายเลขประจำตัวเครื่อง (IP Address) ในการกำหนดที่อยู่หรือแอดเดรสของผู้ใช้อินเทอร์เน็ตนั้นจะนำไประบุไว้ใน ส่วนของ IP เมื่อต้องการส่งข้อมูลเราก็จะเรียกตัวเลขระบุตำแหน่งที่อยู่ของ ผู้ใช้นี้ว่า IP Address ซึ่งจะประกอบด้วยตัวเลข 4 ชุดด้วยกัน โดยแต่ละชุด จะมีรหัสที่ไม่ซ้ำกันและจะคั่นด้วยเครื่องหมายจุด (.) เช่น 192.150.251.31 หรือ 158.108.2.71 เป็นต้น

5. สิ่งที่จำเป็นต้องรู้บนอินเทอร์เน็ต (ต่อ) ระบบชื่อของเครื่อง ชื่ออินเทอร์เน็ต (DNS: Domain Name System) คือ ชื่อที่ใช้อ้าง ถึงคอมพิวเตอร์ที่ต่อเข้ากับอินเทอร์เน็ต ทั้งนี้เนื่องจาก IP Address นั้นจำยาก ดังนั้นเราจึงนำ DNS มาใช้แปลงตัวเลข IP Address ที่คอมพิวเตอร์เข้าใจให้กลายมาเป็นชื่อที่เราอ่านแล้ว เข้าใจง่ายขึ้น เช่น google.co.th เป็นต้น

โดนเมนเนม 2 ระดับ จะประกอบด้วย www . ชื่อโดเมน . ประเภทของโดเมน โดนเมนเนม 2 ระดับ   จะประกอบด้วย  www . ชื่อโดเมน . ประเภทของโดเมน  เช่น www.google.com     * .com คือ บริษัท หรือ องค์กรพาณิชย์     * .org คือ องค์กรเอกชนที่ไม่แสวงผลกำไร     * .net คือ องค์กรที่เป็นเกตเวย์ หรือ จุดเชื่อมต่อเครือข่าย     * .edu คือ สถาบันการศึกษา     * .gov คือ องค์กรของรัฐบาล     * .mil คือ องค์กรทางทหาร 

โดนเมนเนม 3 ระดับ      จะประกอบด้วย www . ชื่อโดเมน . ประเภทของโดเมน . ประเทศ  เช่น www.kmitnb.ac.th  ประเภทขององค์กรที่พบบ่อยคือ      * .co commercial คือ บริษัท หรือ องค์กรพาณิชย์     * .ac academic คือ สถาบันการศึกษา     * .go government คือ องค์กรของรัฐบาล     * .net network คือ องค์กรที่ให้บริการเครือข่าย     * .or organization คือ องค์กรเอกชนที่ไม่แสวงผลกำไร ตัวย่อของประเทศที่ตั้งขององค์กร      * .th   คือ ประเทศไทย     * .cn  คือ ประเทศจีน     * .uk  คือ ประเทศอังกฤษ * .jp   คือ ประเทศญี่ปุ่น     * .au  คือ ประเทศออสเตรเลีย

6. พระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2560 ได้ประกาศลงราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 24 มกราคม 2560 และมีผลบังคับใช้แล้วในวันที่ 24 พ.ค.2560 1. การฝากร้านใน Facebook, IG ถือเป็นสแปม ปรับ 200,000 บาท 2. ส่ง SMS โฆษณา โดยไม่รับความยินยอม ให้ผู้รับสามารถปฏิเสธข้อมูลนั้นได้ ไม่เช่นนั้นถือเป็นสแปม ปรับ 200,000 บาท 3. ส่ง Email ขายของ ถือเป็นสแปม ปรับ 200,000 บาท 4. กด Like ได้ไม่ผิด พ.ร.บ.คอมพ์ฯ ยกเว้นการกดไลค์ เป็นเรื่องเกี่ยวกับสถาบัน เสี่ยงเข้าข่าย ความผิดมาตรา 112 หรือมีความผิดร่วม 5. กด Share ถือเป็นการเผยแพร่ หากข้อมูลที่แชร์มีผลกระทบต่อผู้อื่น อาจเข้าข่ายความผิดตาม พ.ร.บ.คอมพ์ฯ โดยเฉพาะที่กระทบต่อบุคคลที่ 3

6. พบข้อมูลผิดกฎหมายอยู่ในระบบคอมพิวเตอร์ของเรา แต่ไม่ใช่สิ่งที่เจ้าของคอมพิวเตอร์กระทำเอง สามารถแจ้งไปยังหน่วยงานที่รับผิดชอบได้ หากแจ้งแล้วลบข้อมูลออกเจ้าของก็จะไม่มีความผิดตามกฎหมาย เช่น ความเห็นในเว็บไซต์ต่าง ๆ รวมไปถึงเฟซบุ๊ก ที่ให้แสดงความคิดเห็น หากพบว่าการแสดงความเห็นผิดกฎหมาย เมื่อแจ้งไปที่หน่วยงานที่รับผิดชอบเพื่อลบได้ทันที เจ้าของระบบเว็บไซต์จะไม่มีความผิด 7.สำหรับ แอดมินเพจ ที่เปิดให้มีการแสดงความเห็น เมื่อพบข้อความที่ผิด พ.ร.บ.คอมพ์ฯ เมื่อลบออกจากพื้นที่ที่ตนดูแลแล้ว จะถือเป็นผู้พ้นผิด 8. ไม่โพสต์สิ่งลามกอนาจาร ที่ทำให้เกิดการเผยแพร่สู่ประชาชนได้ 9. การโพสเกี่ยวกับเด็ก เยาวชน ต้องปิดบังใบหน้า ยกเว้นเมื่อเป็นการเชิดชู ชื่นชม อย่างให้เกียรติ 10. การให้ข้อมูลเกี่ยวกับผู้เสียชีวิต ต้องไม่ทำให้เกิดความเสื่อมเสียเชื่อเสียง หรือถูกดูหมิ่น เกลียดชัง ญาติสามารถฟ้องร้องได้ตามกฎหมาย 11. การโพสต์ด่าว่าผู้อื่น มีกฏหมายอาญาอยู่แล้ว ไม่มีข้อมูลจริง หรือถูกตัดต่อ ผู้ถูกกล่าวหา เอาผิดผู้โพสต์ได้ และมีโทษจำคุกไม่เกิน 3 ปี ปรับไม่เกิน 200,000 บาท 12. ไม่ทำการละเมิดลิขสิทธิ์ผู้ใด ไม่ว่าข้อความ เพลง รูปภาพ หรือวิดีโอ 13. ส่งรูปภาพแชร์ของผู้อื่น เช่น สวัสดี อวยพร ไม่ผิด ถ้าไม่เอาภาพไปใช้ในเชิงพาณิชย์ หารายได้ ที่มา : https://www.marketingoops.com/news/viral-update/computer-law/

ที่มา : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงคมนาคม http://www.mot.go.th/file_upload/2560/ict_files/Briefly_TH_Cybercrime_Act_2

พ.ร.บ.ลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2)ปี 2558 มีผลบังคับใช้ 4 สิงหาคม 2558 กำหนดอัตราโทษนักก๊อบปี้นักแชร์ทั้งหลายที่ไม่ให้เครดิตเจ้าของผลงาน ปรับ 1 หมื่น-1 แสนบาท หากกระทำเพื่อการค้ามีโทษปรับตั้งแต่ 5 หมื่น-4 แสนบาท คุ้มครองสิทธิของตนเองไม่ให้คนอี่นมาลบหรือเปลี่ยนแปลงข้อมูลเกี่ยวกับ ชื่อเจ้าของลิขสิทธิ์ กรณีทำซ้ำชั่วคราว เช่น ดูหนังฟังเพลง ไม่ถือเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ ที่มา http://www.now26.tv/view/51641/เปิด-พ-ร-บ-ลิขสิทธิ์-ปี-2558-ฉบับแก้ไข.html