วิทยุกระจายเสียง ในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน RDC2302 วิทยุกระจายเสียง ในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
การศึกษา พฤติกรรมผู้บริโภค
เพราะผู้บริโภค คือผู้ที่สำคัญที่สุด ทำไมต้องศึกษา พฤติกรรมผู้บริโภค เพราะผู้บริโภค คือผู้ที่สำคัญที่สุด
การรู้จักกลุ่มผู้บริโภคเป้าหมาย ลูกค้า (Customer) ผู้บริโภค (Consumer) กลุ่มเป้าหมาย (Target Group) การรู้จักกลุ่มผู้บริโภคเป้าหมาย
ศึกษาอะไรบ้างเกี่ยวกับ พฤติกรรมผู้บริโภค ใครคือผู้ซื้อ ผู้ซื้อต้องการอะไรจากผลิตภัณฑ์ ซื้อทำไม ใครเกี่ยวข้องกับการซื้อ ซื้ออย่างไร ซื้อเมื่อไหร่
ความสำคัญของการเข้าใจ พฤติกรรมผู้บริโภค
ความสำคัญของการเข้าใจ พฤติกรรมผู้บริโภค เพื่อให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ทางการตลาด ที่มุ่งตอบสนองความพึงพอใจสูงสุดของผู้บริโภค
ความสำคัญของการเข้าใจ พฤติกรรมผู้บริโภค 2. เพื่อใช้เป็นการกำหนดกลยุทธ์ทางการตลาด ที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อ ของผู้บริโภค
(Psychological Factors) ปัจจัยด้านสังคม (Social Factors) ปัจจัยด้านจิตวิทยา (Psychological Factors) ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อ ของผู้บริโภค ปัจจัยด้านข่าวสารและข้อมูล (Information Factors) ปัจจัยด้านสถานการณ์ (Situation Factors)
ปัจจัยด้านสังคม
ปัจจัยด้านสังคม วัฒนธรรม (Culture) วัฒนธรรมย่อย (Subculture) ครอบครัวและครัวเรือน (Family and Householeds) ชนชั้นทางสังคม (Social Class) กลุ่ม และกลุ่มอ้างอิง (Group and Reference Groups)
วัฒนธรรม (Culture) หมายถึง พฤติกรรม และสิ่งที่คนในหมู่ สร้างขึ้น จากการเรียนรู้ร่วมกัน และร่วมใช้อยู่ในหมู่ของตน
วัฒนธรรมย่อย (Subculture) หมายถึง กลุ่มของคนที่มีพฤติกรรมและความเชื่อ ที่แปลกไปจากสังคมใหญ่โดยรวมของตน
ชนชั้นทางสังคม (Social Class) หมายถึง การแบ่งคนในสังคมที่มีพฤติกรรม และแบบแผนการดำเนินชีวิตที่แตกต่างกันอย่างชัดเจนออกเป็นกลุ่ม ๆ โดยอาศัยคุณลักษณะด้านสังคมและเศรษฐกิจเป็นพื้นฐานในการแบ่ง
กลุ่มชนชั้นสูง ระดับ A กลุ่มชนชั้นกลางบน ระดับ B กลุ่มชนชั้นกลางล่าง ระดับ C กลุ่มชนชั้นล่าง ระดับ D
กลุ่มและกลุ่มอ้างอิง (Group and Reference Groups) หมายถึง กลุ่ม หรือบุคคลที่มีอิทธิพลต่อทัศนคติ ค่านิยม และพฤติกรรมของบุคคลอื่น
กลุ่มและกลุ่มอ้างอิง (Group and Reference Groups) กลุ่มปฐมภูมิ = กลุ่มที่มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับผู้บริโภค กลุ่มทุติยภูมิ = กลุ่มที่ผู้บริโภคสังกัดอยู่แต่ไม่สัมพันธ์ใกล้ชิด กลุ่มอ้างอิง = อาจจะไม่ใกล้ชิดกับผู้บริโภคแต่มีอิทธิพลต่อผู้บริโภค เป็นอย่างมาก
ครอบครัว และครัวเรือน (Family and Households) ครอบครัว คือ กลุ่มของสมาชิกในสังคม ที่มีความผูกพันทางสายเลือด หรือการแต่งงาน
ครอบครัว (Family) ครอบครัว คือ กลุ่มของสมาชิกในสังคม ที่มีความผูกพันทางสายเลือด หรือการแต่งงาน
ครัวเรือน (Households) ครัวเรือน คือ กลุ่มของบุคคลที่อาศัยอยู่รวมกัน จะมีความผูกพันทางสายเลือดหรือไม่มีก็ได้
วิทยุกระจายเสียง ในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน RDC2302 วิทยุกระจายเสียง ในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
(Psychological Factors) ปัจจัยด้านสังคม (Social Factors) ปัจจัยด้านจิตวิทยา (Psychological Factors) ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อ ของผู้บริโภค ปัจจัยด้านข่าวสารและข้อมูล (Information Factors) ปัจจัยด้านสถานการณ์ (Situation Factors)
ปัจจัยด้านจิตวิทยา
ปัจจัยด้านจิตวิทยา การจูงใจ การรับรู้ (Motivation) (Perception) บุคลิกภาพ (Personality) ทัศนคติ (Attitude) การเรียนรู้ (Learning)
การจูงใจ (Motivation) หมายถึง สภาวะภายในของบุคคลที่ถูกกระตุ้นปลุกเร้า และผลักดันให้บุคคคลนั้นแสดงออก เพื่อบรรลุเป้าหมายนั้น
การรับรู้ (Perception) หมายถึง กระบวนการเปิดรับ ตีความ และทำความเข้าใจ สิ่งต่าง ๆ รอบตัวของผู้บริโภค ด้วยประสาทสัมผัสทั้ง 5
การเรียนรู้ (Learning) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงอันเป็นผลมาจากประสบการณ์ ที่ผ่านมาของแต่ละคน แต่ไม่รวมถึงการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม อันเกิดจากการตอบสนองโดยสัญชาติญาณ เช่นความหิว ความง่วง
บุคลิกภาพ (Personality) หมายถึง รูปแบบพฤติกรรมและลักษณะตอบสนอง ต่อสถานการณ์ต่างๆ ที่สะท้อนความเป็นบุคคลนั้น โยสะท้อนออกมาเป็นบุคลิกต่าง ๆ เช่น สุภาพ ร่าเริง มั่นใจ
ทัศนคติ (Attitude) หมายถึง ความโน้มเอียงทางความรู้สึกนึกคิดที่ตอบสนอง ต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ในทิงทางบวกหรือลบ ทางใดทางหนึ่ง
ปัจจัยด้านข่าวสารและข้อมูล
ปัจจัยด้านข่าวสาร ข่าวสารและข้อมูล ข่าวสารและข้อมูล ทั่วไป เพื่อการค้า (Social Sources) ข่าวสารและข้อมูล เพื่อการค้า (Commercial Sources)
ข่าวสารและข้อมูล เพื่อการค้า (Commercial Sources) หมายถึง ข่าวสารและข้อมูลที่องค์กรธุรกิจผลิตหรือว่าจ้าง ให้ผู้อื่นผลิตและกระจายไปสู่ผู้บริโภค เพื่อให้ข้อมูลนั้น เข้าสู่กระบวนการตัดสินใจซื้อของผู้บริโภค
ข่าวสารและข้อมูล ทั่วไป (Social Sources) หมายถึง ข่าวสารและข้อมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ รวมถึงข้อมูลที่เกี่ยวกับภาพลักษณ์ขององค์กร ที่ผู้บริโภคไม่ได้รับรู้ จากแหล่งข้อมูลข่าวสารทางการค้า แต่จะรับรู้ผ่านกลุ่มอ้างอิง ครอบครัวที่ผู้บริโภคเป็นสมาชิก
ปัจจัยด้านสถานการณ์
เงื่อนไขเรื่องสถานที่ (Condition under Which consumer buy) เงื่อนไขเรื่องเวลา (When consumer buy) เงื่อนไขเรื่องสถานที่ (Where consumer buy) ปัจจัยด้านสถานการณ์ วิธีการซื้อ (How consumer buy) เงื่อนไขอื่น ๆ (Condition under Which consumer buy) เหตุผลในการซื้อ (Why consumer buy)
เงื่อนไขเรื่องเวลา (When consumer buy) ช่วงเวลาที่แตกต่างกัน ย่อมส่งผลต่อการบริโภคที่ต่างกันไป หรือแม้แต่ฤดูกาลก็เช่นกัน
เงื่อนไขเรื่องสถานที่ (Where consumer buy) บรรยากาศที่แตกต่างกัน ส่งผลให้ผู้บริโภคเลือกจ่ายในราคาที่แตกต่างกันตามไปด้วย
เหตุผลในการซื้อ (Why consumer buy) การซื้อสินค้าประเภทเดียวกัน ของผู้บริโถคคนเดียวกัน อาจต่างกันที่เหตุผลของการซื้อ
ผู้บริโภคซื้อแบบไหน สดหรือผ่อน ปลีกหรือส่ง ซื้อที่ร้านหรือซื้อออนไลน์ วิธีการซื้อ (How consumer buy) ผู้บริโภคซื้อแบบไหน สดหรือผ่อน ปลีกหรือส่ง ซื้อที่ร้านหรือซื้อออนไลน์
เงื่อนไขอื่น ๆ (Condition under Which consumer buy) เป็นเงื่อนไขอื่น ๆ ที่มีผลต่อพฤติกรรมที่แตกต่าง จากปกติของผู้บริโภค
การเลือกตลาดเป้าหมาย และการวางตำแหน่งทางการตลาด การแบ่งส่วนตลาด การเลือกตลาดเป้าหมาย และการวางตำแหน่งทางการตลาด
ประเภทของตลาด
(Marketing Segmentation) การแบ่งส่วนตลาด (Marketing Segmentation)
การแบ่งส่วนตลาด (Marketing Segmentation) หมายถึง กระบวนการในการแบ่งผู้บริโภคออกเป็นกลุ่มย่อย ๆ โดยจัดผู้บริโภคที่มีความต้องการในผลิตภัณฑ์หรือบริการ ที่คล้ายคลึงกันมาอยู่รวมกันเป็นกลุ่มเดียวกัน
เกณฑ์ด้านประชากรศาสตร์ เกณฑ์ในการแบ่งส่วนตลาด (Demographic) เกณฑ์ด้าน จิตวิทยา (Psychographic) เกณฑ์ในการแบ่งส่วนตลาด เกณฑ์ด้านภูมิศาสตร์ (Geographic) เกณฑ์ด้าน พฤติกรรมศาสตร์ (Behavioral)
สิ่งสำคัญที่ควรตระหนัก ในการแบ่งส่วนตลาด
1. สามารถวัดได้
2. สามารถเข้าถึงได้
3. สามารถที่จะทำกำไร ให้แก่องค์กรได้
การเลือกตลาดเป้าหมาย (Target Selection Strategies) ประกอบไปด้วย 3 กลยุทธ์ ดังนี้
(Total Market or Undifferentiated Strategy) กลยุทธ์ตลาดรวม (Total Market or Undifferentiated Strategy)
กลยุทธ์ตลาดรวม (Total Market or Undifferentiated Strategy) คือ เลือกผู้บริโภคทั้งหมดเป็นเป้าหมาย โดยไม่แยกออกเป็นกลุ่ม ๆ ตามความต้องการที่ต่างกัน
มุ่งเฉพาะส่วนตลาดเดียว (Single-Segment Strategy) 2. กลยุทธ์การตลาด มุ่งเฉพาะส่วนตลาดเดียว (Single-Segment Strategy)
2. กลยุทธ์การตลาด มุ่งเฉพาะส่วนตลาดเดียว (Single-Segment Strategy) คือ การเลือกลูกค้าเป้าหมายขึ้นมาเพียงกลุ่มเดียว จากหลายกลุ่มที่ได้จัดแบ่งส่วนตลาดไว้
(Multi-Segment Strategy) 3. กลยุทธ์การตลาด มุ่งหลายส่วน (Multi-Segment Strategy)
3. กลยุทธ์การตลาด มุ่งหลายส่วน (Multi-Segment Strategy) คือ เลือกลูกค้าเป้าหมายมากกว่า 1 กลุ่ม จากหลายกลุ่มที่ได้จัดแบ่งส่วนตลาดไว้
กลยุทธ์การวางตำแหน่งทางการตลาด (Marketing Positioning Strategy)
การวางตำแหน่งทางการตลาด (Marketing Positioning) หมายถึง กระบวนการในการกำหนดลักษณะเด่น หรือคุณค่า ที่ผู้บริโภคพึงปรารถนาจะได้รับจากการบริโภคผลิตภัณฑ์ โดยลักษณะเด่นหรือคุณค่านั้นควรมีความแตกต่างจากคู่แข่งขัน อย่างชัดเจน
2 การวิเคราะห์ข้อมูลของผลิตภัณฑ์ (Product Analysis) Product Features Product Life Cycle Product Analysis Product Line Product Used Product Range Product Benefit Product Depth Brand
ปัจจัยด้านประชากรศาสตร์ (Demographic) ปัจจัยด้าน จิตวิทยา 3 การวิเคราะห์ตลาดเป้าหมาย (Target Market Analysis) ปัจจัยด้านประชากรศาสตร์ (Demographic) ปัจจัยด้าน จิตวิทยา (Psychographic) Target Analysis in side out side ปัจจัยด้านภูมิศาสตร์ (Geographic) ปัจจัยด้าน พฤติกรรมศาสตร์ (Behavioral)
การวิเคราะห์ SWOT (SWOT Analysis)
การวิเคราะห์ SWOT (SWOT Analysis) Weakness (จุดอ่อน) S Strengths (จุดแข็ง) SWOT Analysis O Opportunities (โอกาส) T Threats (อุปสรรค)
ผู้บริโภคเป้าหมาย Target Market การจัดจำหน่าย (Place) ผลิตภัณฑ์ (Product) ผู้บริโภคเป้าหมาย Target Market ราคา (Price) การส่งเสริมการตลาด (Promotion)
กระบวนการพัฒนากลยุทธ์การตลาด
แนวคิดทางการตลาด (Marketing Concept) คือ แนวคิดในการทำธุรกิจที่มุ่งเน้นที่การตอบสนอง ความต้องการของผู้บริโภค ควบคู่กับการบรรลุ วัตถุประสงค์ระยะยาวขององค์กร
สภาพแวดล้อมระดับจุลภาค (Micro Environment) หมายถึงปัจจัยภายนอกที่สามารถก่อให้เกิดผลกระทบ ในระดับวงจำกัดต่ออุตสาหกรรม หรือธุรกิจนั้น ๆ
(Marketing Intermediaries) ผู้จัดส่งวัตถุดิบ (Supplier) คนกลางทางการตลาด (Marketing Intermediaries) สภาพแวดล้อม จุลภาค ผู้บริโภค (Consumer) หน่วยงานต่าง ๆ ภายในองค์กร (Company)
Customer Relationship Management (CRM)
สภาพแวดล้อมระดับมหาภาค (Macro Environment) หมายถึงปัจจัยภายนอกที่สามารถก่อให้เกิดผลกระทบในวงกว้าง ต่ออุตสาหกรรม หรือธุรกิจนั้น ๆ
สภาพแวดล้อม มหภาค เศรษฐกิจ ประชากรศาสตร์ การเมืองและกฏหมาย เทคโนโลยี การแข่งขัน ธรรมชาติ สังคมและวัฒนธรรม
สภาพแวดล้อมทางด้านประชากรศาสตร์ (Demographic Environment) ความเปลี่ยนแปลงด้านประชากรศาสตร์ มีผลโดยตรงต่อผู้ซื้อ และผู้บริโภค
สภาพแวดล้อมทางด้านเศรษฐกิจ (Economic Environment) มีผลกระทบโดยตรงต่อการดำเนินงานของกิจการ ทั้งทางตางและทางอ้อม และยังเป็นผลกระทบในวงกว้าง
สภาพแวดล้อมทางด้านเทคโนโลยี (Technology Environment) ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของโลกในด้านต่างมากมาย และมีผลในการอำยวยความสะดวกแก่ผู้บริโภค
สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ (Natural Environment) เป็นสิงสำคัญที่ไม่สามารถควบคุมได้ และยากต่อการคาดคะแนน
สภาพแวดล้อมทางด้านสังคมและวัฒนธรรม (Social & Cultural Environment) มีผลกระทบต่อพฤติกรรมการใช้ชีวิต และการตัดสินใจซื้อของผู้บริโภค
สภาพแวดล้อมของการแข่งขันทางการตลาด (Competition Environment) เป็นผลกระทบที่เกิดขึ้นได้ทั้งเชิงจุลภาคและมหภาค โดยขึ้นอยู่กับคู่แข่งขันและกลยุทธ์ทางการแข่งขันเป็นหลัก
ความจำเป็น (Need) ความต้องการ (Want)