อบรมความปลอดภัยในการทำงาน โดย สมาชิกทีมความปลอดภัย ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์
สมาชิกทีมความปลอดภัย
อุบัติเหตุ?
ความหมายของอุบัติเหตุ “อุบัติเหตุ หมายถึง เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นโดยไม่มีใครคาดคิดไม่ได้ตั้งใจให้เกิดขึ้น ไม่มีการวางแผนไว้ล่วงหน้าและไม่สามารถควบคุมได้(เฉลิมชัย ชัยกิตติภรณ์และชัยยะพงษ์พานิช, 2533) “อุบัติเหตุ เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นโดยไม่คาดคิด ไม่มีการวางแผนล่วงหน้าและควบคุมไม่ได้เช่น การตกจากที่สูง การหกล้ม ฯลฯ ซึ่งจะทำให้เกิดความสูญเสียต่อผู้ประสบอุบัติเหตุบุคคลอื่นหรือสิ่งอื่นทีเกียวข้องด้วย อุบัติเหตุจากการทำงานเป็นเหตุการณ์ไม่คาดคิดที่เกิดขึ้นในขณะทำงาน เช่น การบาดเจ็บจากการกระแทกหรือบดของเครื่องจักร การถูกสิ่งของหล่นทับ ฯลฯ" (วิวรรธน์กร สวัสดี,2547)
มาตรฐานกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน ประจำปี 2554
คำจำกัดความ อุบัติเหตุ ก็คือ เหตุการณ์ไม่พึงปรารถนา ซึ่งผลของมันเป็นอันตรายต่อผู้คน ทำลายทรัพย์สิน หรือสร้างความเสียหายให้กับกระบวนการผลิต
สาเหตุของอุบัติเหตุในการทำงาน H.W. Heinrich สาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุ มี 3 ประการ คือ 1. สาเหตุจากคน (Human causes) มีจำนวนถึง 88% 2. สาเหตุจากความผิดพลาดของเครื่องจักร (Mechanical failure) มีจำนวนถึง 10% 3. สาเหตุที่เกิดจากดวงชะตา (Act of god) มีเพียง 2%
อุบัติเหตุจากการทำงาน
สาเหตุของอุบัติเหตุ การกระทำที่ไม่ปลอดภัย (unsafe act) หมายถึง การกระทำที่เกิดจากตัวคนเองเช่น การแต่งกายไม่รัดกุม,ใช้เครืองมือเครืองจักรไม่ถูกวิธี,ทัศนคติที่ไม่เหมาะสม,ขาดความรู้และทักษะ, ไม่ใช้เครื่องป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
เครื่องป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
สภาพการทำงานที่ไม่ปลอดภัย (unsafe condition) หมายถึง สภาพการทำงาน หรือ สภาวะแวดล้อมทีเป็นอันตรายซึงอาจจะทำให้เกิดอุบัติเหตุได้ เช่น เครืองมือชำรุดระบบเตือนภัยไม่มีเสียงดัง แสงสว่างไม่เพียงพอ ฯลฯ
ความสัมพันธ์ระหว่างระบบงานกับการอุบัติเหตุ สาเหตุอุบัติเหตุ -ไม่ปฏิบัติตามกฏความปลอดภัย -ขาดจิตสำนึกความปลอดภัย -ทำงานเสี่ยงอันตราย -ทัศนคติไม่ถูกต้อง -หยอกล้อขณะทำงาน -เครื่องป้องกันอันตรายไม่ใช้ -แต่งกายไม่รัดกุม -ทำงานโดยไม่มีหน้าที่ -ทำงานเร็วเกินไป -ใช้เครื่องมือไม่เหมาะกับงาน -สุขภาพไม่สมบูรณ์ -สุขภาพจิตใจ 1.การกระทำไม่ปลอดภัย (Unsafe Act) อุบัติเหตุ + โรคจากการทำงาน คน การบริหาร การจัดการ เครื่องจักร เครื่องมือ วัตถุดิบ สิ่งแวดล้อม -เครื่องมือ เครื่องจักรชำรุด -เครื่องจักรไม่มีการ์ด -อาคารชำรุด ไม่มั่นคง -พื้นสกปรก ลื่น -การจัดวางไม่เป็นระเบียบ -สิ่งแวดล้อมผิดสุขลักษณะ * แสงไม่เพียงพอ * ความร้อนสูง * เสียงดัง * สารเคมีฟุ้งกระจาย * การระบายอากาศไม่เหมาะสม 2.สภาพการทำงานที่ไม่ปลอดภัย (Unsafe condition)
การเสริมสร้างความปลอดภัย หลัก 3E 1. Engineering (วิศวกรรมศาสตร์) 2. Education (การศึกษา) 3. Enforcement (การออกกฎบังคับ)
Engineering การใช้หลักและวิชาความรู้ทางด้านวิศวกรรมในทุกๆ แขนง เพือทำการแก้ไขปรับปรุงสภาพการณ์ ทางกายภาพต่างๆทุกชนิดที่เกี่ยวข้องให้มีความปลอดภัยแก่การใช้หรือปฏิบิตงานมากที่สุด
Engineering เช่น ติดตั้งการ์ดที่เหมาะสม ติดตั้งระบบระบบอากาศ ออกแบบ/ปรับพื้นที่งานให้เหมาะสม ซ่อมบำรุง/เปลี่ยนอุปกรณ์/ติดตั้งเพิ่ม
Education การให้การศึกษาด้วยวิธีการอบรม และ แนะนำพนักงานทุกๆ คน และผู้เกี่ยวข้องทุกคนในที่ทำงานให้มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการปฏิบัติเพื่อความปลอดภัย รวมทั้ง การป้องกันอุบัติเหตุและสริมสร้างความปลอดภัยในที่ทำงาน
Education ให้ความรู้ในด้านต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง กฎระเบียบ กฎหมาย กฎความปลอดภัย สร้างจิตสำนึก / ปรับเปลี่ยนทัศนคติ เพิ่มทักษะ การจัดทำคู่มือมาตรฐานวิธีการทำงานอย่าง ปลอดภัย และอบรมวิธีการปฏิบัติ
Enforcement การกำหนดวิธีการทำงาน หรือ วิธีการปฏิบัติเพือความปลอดภัย ขึ้นมาเป็นมาตรฐาน พร้อมออกกฎระเบียบและข้อบังคับให้พนักงาน แล ะผู้เกียวข้องทุกคนได้ปฏิบัติตามวิธีการทำงานหรือวิธีการปฏิบัติเพือความปลอดภัยนั้นๆ หากมีการฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามก็จะต้องถูกลงโทษ เพือให้เกิดความสำนึกและหลีกเลียงการทำงานทีไม่ถูกต้องหรือเป็นอันตราย
Enforcement กฎความปลอดภัย กฎระเบียบ กฎหมาย ประกาศให้ทุกคนรับทราบและถือปฏิบัติ มีการมอบหมายบุคคลให้กำกับดูแลให้ปฏิบัติชัดเจน มีการบังคับใช้อย่างจริงจัง
ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน “การกระทำหรือสภาพการทำงาน ซึ่งปลอดจาก อุบัติเหตุอันจะทำให้เกิดการประสบอันตราย การเจ็บป่วย หรือความเดือดร้อนรำคาญ อันเนื่องจากการทำงาน หรือเกี่ยวกับการทำงาน”
มาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความ ปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการทำงาน 1. เกี่ยวกับรังสีชนิดก่อไอออน พ.ศ. 2547 2. ในที่อับอากาศ พ.ศ. 2547 3. เกี่ยวกับงานประดาน้ำ พ.ศ. 2548 4. เกี่ยวกับ ความร้อน แสงสว่าง และเสียง พ.ศ. 2549 5. เกี่ยวกับงานก่อสร้าง พ.ศ. 2551 6. เกี่ยวกับ เครื่องจักร ปั้นจั่น หม้อน้ำ พ.ศ. 2552 7. เกี่ยวกับ สารเคมีอันตราย 8. เกี่ยวกับ ไฟฟ้า 9. เกี่ยวกับ การป้องกันและระงับอัคคีภัย 10. เกี่ยวกับ การตกจากที่สูง วัสดุตกหล่น และการพังทลาย
การเจ็บป่วย-โรคเกี่ยวเนื่องจากการทำงาน การสูญเสียการได้ยิน - ปั๊มโลหะ - ทอผ้า - ซ่อมบำรุง โรคปอด - ไยฝ้าย - ฝุ่นทราย (Silicosis) - ไยหิน (Asbestosis) (ทำเบรค, คลัทซ์, ท่อไยหิน,ปูนซีเมนต์)
โรคพิษโลหะหนัก - ตะกั่ว - ปรอท - แมงกานีส - สารหนู โรคตา - การทำงานกับจอคอมพิวเตอร์ - การเชื่อม ตัด โลหะ โรคปวดหลัง - กล้ามเนื้อ - กระดูก
มาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความ ปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการทำงาน “การตรวจสุขภาพ” หมายความว่า การตรวจร่างกายและสภาวะทางจิตใจตามวิธีการแพทย์ เพื่อให้ทราบถึงความเหมาะสมและผลกระทบต่อสุขภาพของลูกจ้างอันอาจเกิดจากการทำงาน
“งานเกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยง” หมายความว่า งานที่ลูกจ้างทำเกี่ยวกับ “งานเกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยง” หมายความว่า งานที่ลูกจ้างทำเกี่ยวกับ (1) สารเคมีอันตรายตามที่รัฐมนตรีประกาศกำหนด (2) จุลชีวันเป็นพิษซึ่งอาจเป็นเชื้อไวรัส แบคทีเรีย รา หรือสารชีวภาพอื่นตามที่รัฐมนตรีประกาศกำหนด
(3) กัมมันตภาพรังสี (4) ความร้อน ความเย็น ความสั่นสะเทือน ความกดดันบรรยากาศ แสง เสียง หรือสภาพแวดล้อมอื่นที่อาจเป็นอันตราย ทั้งนี้ ตามที่รัฐมนตรีประกาศกำหนด ตรวจสุขภาพลูกจ้างครั้งต่อไปอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
ประโยชน์ที่ได้รับจากการทำงานอย่างปลอดภัย -ผลผลิตเพิ่มขึ้น -ต้นทุนการผลิตลดลง -กำไรมากขึ้น -สงวนทรัพยากรมนุษย์แก่ประเทศชาติ -เป็นปัจจัยในการจูงใจ