การประกันคุณภาพผลิตผลสดทางการเกษตรตามมาตรฐาน Codex รศ.ดร.ดนัย บุณยเกียรติ ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ การประกันคุณภาพผลิตผลสดทางการเกษตรตามมาตรฐาน Codex www.agri.cmu.ac.th/staff/faculty/danai
การประกันคุณภาพผักและผลไม้สด ปลอดภัย +
ผลงานวิจัย โรคมะเร็ง อาหาร ผักและผลไม้สด โรคหัวใจ
องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ องค์การอนามัยโลก (WHO) CODEX [ 1962 ] ปัจจุบันมีประเทศสมาชิก 165 ประเทศ
CODEX : วัตถุประสงค์ เพื่อคุ้มครองสุขอนามัยของผู้บริโภค เพื่อให้เกิดความเป็นธรรมในทางการค้า เพื่อส่งเสริมการประสานงานด้านมาตรฐานอาหาร จัดลำดับความสำคัญ ริเริ่มและแนะนำในการจัดเตรียมร่างมาตรฐาน เมื่อมาตรฐานจัดทำเสร็จในขั้นตอนสุดท้ายแล้ว ให้มี การจัดพิมพ์เป็นมาตรฐานอาหารระหว่างประเทศ ปรับปรุงแก้ไขมาตรฐานที่จัดพิมพ์แล้ว ภายหลังการสำรวจอย่างเหมาะสมว่า สมควรให้มีการปรับปรุง
ขั้นตอนการร่างมาตรฐาน Codex step 1 Codex พิจารณาเรื่องที่จะจัดทำมาตรฐาน step 2 จัดทำร่างฉบับแรก ขอข้อคิดเห็นจากประเทศสมาชิก step 3 step 4 คณะกรรมการพิจารณา
ขั้นตอนการร่างมาตรฐาน Codex step 5 คณะกรรมาธิการ Codex พิจารณา step 6 ขอข้อคิดเห็นจากประเทศสมาชิก step 7 คณะกรรมการพิจารณา คณะกรรมาธิการ Codex พิจารณารับเป็น Codex Standard step 8
ขั้นตอน การผลิตผักผลไม้สด ไปสู่ ผู้บริโภค ปลูก ขั้นตอน การผลิตผักผลไม้สด ไปสู่ ผู้บริโภค เก็บเกี่ยว ขนส่ง เก็บรักษา คัดขนาด / ตัดแต่ง
ขั้นตอนการผลิตผักผลไม้สดไปสู่ ผู้บริโภค บรรจุ ขั้นตอนการผลิตผักผลไม้สดไปสู่ ผู้บริโภค เก็บรักษา ขนส่ง Import / Export ผู้บริโภค
หลักเกณฑ์ทั่วไปเกี่ยวกับสุขลักษณะอาหาร RCP 1 – 1996 , Rev.3 – 1997 หลักเกณฑ์ทั่วไปเกี่ยวกับสุขลักษณะอาหาร สุขลักษณะอาหาร การวิเคราะห์อันตรายจุดวิกฤตที่ต้องควบคุม
1. การผลิตขั้นต้น และการเก็บเกี่ยว ใช้ควบคู่กับ RCP 1 1. การผลิตขั้นต้น และการเก็บเกี่ยว สุขลักษณะของสภาพแวดล้อม การผลิตอย่างถูกสุขลักษณะ สิ่งที่นำมาใช้ในการผลิตขั้นต้น สิ่งอำนวยความสะดวกในโรงเรือน สิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับสุขภาพ สุขลักษณะ และสุขาภิบาล เครื่องมือที่ใช้ในการปลูกและเก็บเกี่ยว การ handling การเก็บรักษา และการขนส่ง การทำความสะอาด ซ่อมบำรุง และสุขาภิบาล
3. การควบคุมการปฏิบัติงาน ใช้ควบคู่กับ RCP 1 2. การออกแบบสถานประกอบการและสิ่งอำนวยความสะดวก - RCP 1 3. การควบคุมการปฏิบัติงาน RCP 1 คุณภาพน้ำที่ใช้กับผลิตผลหลังการเก็บเกี่ยว การใช้สารเคมีหลังการเก็บเกี่ยว ระบบเอกสาร ผู้ปลูก ผู้บรรจุ การเรียกสินค้ากลับคืน
ใช้ควบคู่กับ RCP 1 4. การซ่อมบำรุง และสุขาภิบาล 5. สุขลักษณะส่วนบุคคล 6. การขนส่ง 7. ข้อมูลเกี่ยวกับสินค้า และการสร้างความเข้าใจให้ผู้บริโภค 8. การฝึกอบรม
ใช้ควบคู่กับ RCP 1 เน้น – การผลิตขั้นต้น อาจมีอันตรายด้านเคมี ชีวภาพจากอะไรบ้าง ด้านชีวภาพ พยาธิต่าง ๆ ด้านเคมี สารพิษตกค้าง โลหะหนัก
เน้น - การควบคุมการปฏิบัติงาน เน้นการควบคุม เพื่อให้มีความปลอดภัย จากอันตรายทั้งด้านชีวภาพ เคมี และกายภาพ การควบคุมอุณหภูมิห้องในสถานประกอบการ อุณหภูมิและระยะเวลาที่เก็บสินค้า ขั้นตอนการแปรรูป การทำความสะอาด / การใช้น้ำหมุนเวียน การขจัดน้ำ (drain) ออกจากผลิตผล สิ่งอำนวยความสะดวกในสถานประกอบการ การหมุนเวียนของอากาศ การจัดการกับของเสีย
เน้น – พิจารณาปัจจัยเกี่ยวข้องกับคุณภาพผัก ผลไม้สด ความยากง่ายต่อการเน่าเสีย ระยะทางของการขนส่ง คุณภาพการขนส่ง สภาวะการขนส่ง อุณหภูมิ ความชื้นสัมพัทธ์ สภาพรถขนส่ง อื่น ๆ
เน้น - การบรรจุหีบห่อ วัสดุที่ใช้ทำภาชนะบรรจุ ชนิดของการบรรจุหีบห่อ สภาพของการขนส่ง อื่น ๆ
เน้น - วิธีการปฏิบัติที่ถูกต้องเหมาะสม การทำ precooling การรักษาสภาวะที่เหมาะสม เกี่ยวข้องกับหน่วยงานที่ทำหน้าที่ใน การตรวจสอบคุณภาพและออกใบรับรอง ตรวจสอบคุณภาพของผลิตผลให้เป็นไปตาม ข้อกำหนดในมาตรฐาน
สรุป การประกันคุณภาพผักและผลไม้สด สรุป การประกันคุณภาพผักและผลไม้สด มาตรฐาน Codex ขั้นตอน มาตรฐานเฉพาะเรื่อง ข้อแนะนำในการปฏิบัติ / ข้อกำหนด สุขลักษณะ ภาชนะบรรจุ การขนส่ง ฉลาก การปนเปื้อน การตรวจสอบเพื่อออกใบรับรอง ขั้นตอนการผลิต ผู้บริโภค คุณภาพ ผัก ผลไม้สด ความปลอดภัย
The End www.agri.cmu.ac.th/staff/faculty/danai