น.พ.ชลทิศ อุไรฤกษ์กุล รร.ดุสิตธานี หัวหิน 14 ก.ค.60

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โปรแกรมขึ้นทะเบียนเกษตรกร ผู้ปลูกข้าวนาปี ปี 2557/58
Advertisements

การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
ชื่อผู้สอน : นางฐิติมา พิริยะ
นักทรัพยากรบุคคล ชำนาญการพิเศษ
โครงการพัฒนาศักยภาพ เครือข่าย เจ้าพนักงานตามกฎหมาย การสาธารณสุข ( ปี 2551) โดย ศูนย์บริหารกฎหมาย สาธารณสุข และศูนย์อนามัยที่
แผนการและแนวทางการดำเนินงานของ ระบบ provis ในปีงบประมาณ 2555
แนวทางการสอน เพื่อพัฒนาทักษะเด็กตามรูปแบบการสอน
เทคนิคการตรวจสอบภายใน
พญ. ปิยนิตย์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
โปรแกรมคำนวณคะแนน สหกรณ์ ตามเกณฑ์ดีเด่นแห่งชาติ กรมส่งเสริม สหกรณ์ กองพัฒนาสหกรณ์ด้านการเงิน และร้านค้า วิธีการใ ช้
การพัฒนาโปรแกรมระบบ รายงาน หน่วยงานเวชสารสนเทศ หน่วยงานเวชสารสนเทศ กลุ่มพัฒนาระบบบริการ สุขภาพโรงพยาบาลสุโขทัย.
การมอบนโยบายแนวทาง การปฏิรูปที่ดินประจำปี 2559 โดย นายสรรเสริญ อัจจุตมานัส เลขาธิการ ส. ป. ก.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
การจัดการข้อมูล 3 ฐาน จังหวัดร้อยเอ็ด นางสุภาภรณ์ ทัศนพงศ์ สสจ. ร้อยเอ็ด.
วิธีการใ ช้ โปรแกรมคำนวณคะแนน กลุ่มเกษตรกรดีเด่น กองพัฒนาสหกรณ์ด้าน การเงินและร้านค้า กรมส่งเสริม สหกรณ์
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
การเยี่ยมตรวจคุณภาพบริการการพยาบาลและการผดุงครรภ์
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
แนวทาง การดำเนินงาน ป้องกันการจมน้ำ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
SP สาขาอุบัติเหตุและฉุกเฉิน
การศึกษาอุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงการเกิดพิษต่อตับ ในผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่ได้รับยาต้านไวรัสเอชไอวี โรงพยาบาลวารินชำราบ.
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
เรื่อง ศึกษาตัวกลางที่เหมาะสมกับการชุบแข็งของเหล็กกล้าคาร์บอน
ข่าวประชาสัมพันธ์สำนักงานเกษตรจังหวัดสุโขทัย
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
วันที่ ๒๔-๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๙ ณ โรงแรมพูลแมน จังหวัดขอนแก่น
ปัญหาของข้อมูลในระบบHDC
การดำเนินงานเมื่อสิ้นสุดโครงการ
ณ ห้องประชุม พธ.ทร.(๒) วันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ เวลา ๐๙๓๐
การคาดประมาณปริมาณการใช้วัคซีน เด็กอายุ 1 ปี (เกิดตั้งแต่ 1 ม.ค. 57)
ด้านระบบสารสนเทศสุขภาพ
การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ: คำสั่ง while คำสั่ง do….while
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
กำหนดกรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนปี2556/57 1. ข้าว
1.
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
ประเด็น PA แผนงาน พัฒนาคุณภาพชีวิตแม่และเด็ก (Maternal & Child ) ลดมารดาตาย และเด็กต่ำกว่า 1 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ Target / KPI No : แม่ไม่เสียชีวิตจากการตั้งครรภ์และการคลอด.
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
การประเมินศักยภาพชุมชน ด้วย... ค่ากลางที่คาดหวัง
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
โรคติดเชื้อไวรัสซิก้า
Breast Cancer Surveillance system
สรุปผลการนิเทศงานเฉพาะกิจ งานข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ
คำสำคัญ : ความชุกวัณโรค, ผู้ต้องขังในเรือนจำ
SMS News Distribute Service
แนวทางการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปี 2562
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
BASIC STATISTICS MEAN / MODE / MEDIAN / SD / CV.
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
กิจกรรมส่งเสริมเกษตรทฤษฎีใหม่
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

น.พ.ชลทิศ อุไรฤกษ์กุล รร.ดุสิตธานี หัวหิน 14 ก.ค.60 สรุปการดำเนินงานโครงการสืบสานพระราชปณิธานสมเด็จย่าต้านภัยมะเร็งเต้านม 1 ต.ค.55 – 30 มิ.ย.60 น.พ.ชลทิศ อุไรฤกษ์กุล รร.ดุสิตธานี หัวหิน 14 ก.ค.60

หัวข้อ วัตถุประสงค์ของโครงการ และระบบข้อมูลเพื่อการวัดผลความสำเร็จของโครงการ การขึ้นทะเบียนและการตรวจเต้านมด้วยตนเอง (BSE) ผู้ป่วยมะเร็งเต้านม ประสิทธิผลของการตรวจเต้านมด้วยตนเอง การขยายผลโครงการและสิ่งที่จะดำเนินการต่อไป ระบบข้อมูลและการตรวจสอบความถูกต้องของระบบข้อมูล

ประชาสัมพันธ์ แก้คำผิด ประชาสัมพันธ์ Full Paper เกี่ยวกับประสิทธิผลการตรวจเต้านมด้วยตนเอง

สรุป Diagnostic Mammogram มีโอกาสพบมะเร็ง = 109.5 / 9.5 = 11.5 เท่า Predictive value of Positive test เป็น 43.4 / 16.2 = 4.6 เท่า

วัตถุประสงค์ของโครงการ Process indicators. หญิงอายุ 30-70 ปีตรวจเต้านมอย่างสม่ำเสมอไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 หญิงที่ BSE แล้วพบ /สงสัย ผิดปกติ ได้รับการส่งต่อร้อยละ 100 Outcome indicators. พบก้อนมะเร็งขนาดไม่เกิน 2 ซม.เพิ่มมากขึ้น พบ Early Staging เพิ่มมากขึ้น ลดการตาย หรือเพิ่มโอกาสรอดชีวิต (survival) จากมะเร็งเต้านม กลไกการดำเนินการ สร้างกระแสและรวมพลังทุกภาคส่วนในสังคมมาร่วมดำเนินการ ต่อเชื่อมระบบตั้งแต่ สาธารณสุขมูลฐาน (อสม.) ปฐมภูมิ จนถึง ตติยภูมิ และมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์

สรุปผลการดำเนินการ ( ตค 55 - มิ.ย60) สรุปผลการดำเนินการ ( ตค 55 - มิ.ย60) เริ่มดำเนินการ 1 ตุลาคม 2555 ใน 21 จังหวัด (5 จังหวัดทำทั้งจังหวัด ได้แก่ เชียงราย นครราชสีมา สกลนคร จันทบุรี สุราษฎร์ธานี ที่เหลืออีก16 จังหวัดดำเนินการจังหวัดละ 1 อำเภอ) ติดตาม 1.9 ล้านคน เป็นเวลา 57 เดือน คิดเป็น 9 ล้าน person- year. การครอบคลุมการ BSE ปี 2556-2560 เท่ากับ 70% (61-74%) เครื่องมือที่ใช้ในการคัดกรอง ได้แก่ BSE CBE Targeted US ก่อนส่ง  Mammogram + US Biopsy (definite Dx) พบมะเร็งเต้านมจำนวน 2,495 ราย คิดเป็น 29 ต่อแสน peson-year.

ข้อมูลเกี่ยวกับ Register & BSE 1.ลงทะเบียน 1.9 ล้านคน 2.Regular BSE ร้อย70% เป้า 80%

ข้อมูลเกี่ยวกับ Breast Cancer Cases . 1.ติดตาม Cohort 1.9 ล้านคน ไปข้างหน้า 57 เดือน คิดเป็น 9 ล้าน person-year 2.พบผู้ป่วยมะเร็งเต้านม 2,495 ราย คิดเป็น 27.6 ต่อแสน person-year

จำแนก รายจังหวัด

Age Group

(ปี 2555 & 2556 ที่ไม่มีข้อมูล BSE ของปีก่อนหน้าใช้ปี 2556) Regular BSE นิยาม Regular BSE คือ ส่งข้อมูล BSE ตั้งแต่ 2 ใน 4 ครั้ง ต่อปี ของปีก่อนวินิจฉัยมะเร็งเต้านม 1 ปี (ปี 2555 & 2556 ที่ไม่มีข้อมูล BSE ของปีก่อนหน้าใช้ปี 2556)

Staging Early Stage 69.7 %

Early Staging Early Stage = Stage 0,1,2 Late Stage = Stage 3,4

ขนาดก้อนของมะเร็งเต้านม (วัดจาก Tissue Biopsy) Small Cancer Size คือก้อนมะเร็งเต้านม ขนาด ไม่เกิน 2 ซม. วัดจาก Tissue Biopsy

BSE Effectiveness

ประสิทธิผลของ BSE ภาพรวม 21 จังหวัด อัตราการรอดชีวิตของกลุ่ม Regular BSE สูงกว่ากลุ่ม Non Regular (4.5 Years Survival) Regular BSE ยังไม่พบ Small cancer size & Early Staging แตกต่างจากกลุ่ม Non Regular ค่าเฉลี่ยของขนาดก้อนมะเร็งของกลุ่ม Regular BSE เล็กกว่ากลุ่ม Non Regular วิเคราะห์รายภาค (ตะวันออกเฉียงเหนือ) Regular BSE พบ Small Cancer size & Early Staging เป็น 1.8 และ 1.6 เท่า ตามลำดับ เมื่อเทียบกับกลุ่ม Non Regular วิเคราะห์รายจังหวัด จังหวัด นครราชสีมา และ สกลนคร ผลเหมือนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

Regular BSE กับ Cancer Size (ภาพรวม 21 จังหวัด) ไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ ค่าผ่าน 1 ไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ

Mean of Cancer Size 2555-2560

เปรียบเทียบ Mean ก้อนมะเร็งระหว่างกลุ่ม Regular & Non Regular BSE (แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ) มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญของ Mean ของ Cancer size ระหว่างกลุ่ม Regular & Non Regular

Regular BSE พบ Early Staging ไม่แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติเมื่อเทียบกับ Non Regular ค่าผ่าน 1 ไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ

Regular BSE VS Cancer Size & Early Staging จำแนกรายภาค ** มีเพียงภาคตะวันออกเฉียงเหนือเท่านั้นที่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ

Regular BSE กับ Cancer Size ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ)

Regular BSE กับ Staging ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ)

Regular BSE VS Cancer Size & Early Staging จำแนกรายจังหวัด

Regular BSE กับ Cancer Size จังหวัดนครราชสีมา (แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ)

Regular BSE กับ Staging จังหวัดนครราชสีมา (แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ)

Regular BSE กับ Cancer Size จังหวัดสกลนคร (แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ)

วิเคราะห์อัตราการรอดชีวิต (Survival Analysis) โดยใช้วิธี Kaplan Meier

Patient Status อัตราการตายจากมะเร็งเต้านม = 61 / 9.025 ล้าน person-year = 6.8 ต่อ แสน Person-year

Survival Analysis (ภาพรวม 21 จังหวัด) อัตรารอดชีวิตของกลุ่ม Regular BSE สูงกว่ากลุ่ม Non Regular

Survival Analysis ภาพรวม 21 จังหวัด Regular BSE Non Regular BSE

Survival Analysis (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) อัตรารอดชีวิตของกลุ่ม Regular BSE สูงกว่ากลุ่ม Non Regular

Survival Analysis (Kaplan Meier) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

การขยายผลโครงการและ แผนการส่งมอบโครงการให้จังหวัดกำกับติดตาม

การขยายผลโครงการ การขึ้นทะเบียนหญิง 30-70 ปี (Register) 21 จังหวัดเดิม ทำครบทุกอำเภอในอีก 16 จังหวัดที่เหลือ ขึ้นทะเบียนหญิง 30-70 ปี จาก 1.9 ล้านคน เพิ่มอีก 1.6 ล้าน เป็น 3.5 ล้านคน จังหวัดนอก 21 จังหวัดเดิม เพิ่มอีก 9 จังหวัด Register อีก 0.6 ล้านคน รวมกับจังหวัดเดิม 3.5 ล้าน เป็น 4.1 ล้านคน การส่งข้อมูล BSE Online พื้นที่เดิม 1.9 ล้านคน ยังส่งเหมือนเดิมจนสิ้นปี 2560 พื้นที่ใหม่ ไม่ต้องส่ง Online ให้ พื้นที่กำกับติดตามเอง การบันทึกข้อมูลมะเร็งเต้านมในกลุ่มที่ขึ้นทะเบียน (cohort) ทำผ่าน web ทั้งพื้นที่เดิมและพื้นที่ใหม่

จังหวัดนอกเหนือ 21 จังหวัดเดิมที่ส่งข้อมูล Register

แผนการส่งมอบโครงการให้จังหวัดกำกับติดตาม แบ่งทีมในการกำกับติดตาม & Verify ข้อมูลเป็น 7 ทีมโดย ทีมจังหวัด 5 ทีม (เชียงราย/นครราชสีมา/สกลนคร/จันทบุรี/สุราฎร์ธานี) ทีมส่วนกลางมี 2 ทีมคือ ทีมที่ 1 ดูแลจังหวัดที่เหลือ นอกเหนือจาก 5 จังหวัดที่กล่าวเบื้องต้น ทีมที่ 2 ดูแลภาพรวมของทั้งโครงการ บทบาทหน้าที่ ติดดตาม / Verify / ส่ง ข้อมูลให้ทีมส่วนกลางตามที่โครงการกำหนด กำกับติดตาม และ ประเมินผล ภาพรวของจังหวัด (ทีมจังหวัด) และของโครงการ (ทีมส่วนกลาง)

ข้อมูลของโครงการที่จะให้ verify ได้แก่ ข้อมูลของผู้ป่วยมะเร็งเต้านมของโครงการ ทั้งด้านปริมาณและคุณภาพ (ข้อมูลเดิมตั้งแต่ 2555-2560) ข้อมูล การครอบคลุมของ การขึ้นทะเบียน (Register) ทำครั้งเดียว จะปิดการลงทะเบียน 30 กย.60 การรายงานการครอบคลุม BSE ของพื้นที่ (ใช้ report แทนการส่ง Online เพื่อลด work load) การบันทึกข้อมูลมะเร็งเต้านมรายใหม่ผ่าน web การใช้ portable ultrasound ของจังหวัด การสรุปผลโครงการในแต่ละปีของแต่ละจังหวัด เพื่อรวบรวมเป็นรายงานสรุปของโครงการ

ระบบข้อมูลและความถูกต้องของระบบข้อมูล

Flow การดำเนินการ

นิยามของระบบข้อมูล/ทีมจังหวัด/ทีมส่วนกลาง ระบบข้อมูลหมายถึง ข้อมูลผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่เกิดจาก Cohort 1.9 ล้านคน ข้อมูลความสม่ำเสมอของ BSE และข้อมูลอื่นๆ ที่ทางโครงการจะมอบหมายเพิ่มเติมในภายหลัง ทีมจังหวัด หมายถึง ผู้รับผิดชอบในการกำหนดระบบ และตรวจสอบความครบถ้วน ถูกต้อง ของข้อมูลที่ใช้ในโครงการฯ และส่งข้อมูลให้กับทีมส่วนกลาง (ทีมที่ 1) โดยทีมจังหวัดประกอบด้วยทีมจังหวัด เชียงราย นครราชสีมา สกลนคร จันทบุรี สุราษฎร์ธานี และทีมส่วนกลาง (ทีมที่ 2) ทำหน้าที่เก็บข้อมูลในจังหวัดที่เหลือที่นอกเหนือ 5 จังหวัดดังกล่าว ทีมส่วนกลางทีมที่ 1 มีหน้าที่ กำหนดระบบ และตรวจสอบความครบถ้วนและความถูกต้องของข้อมูลที่ส่งมาจากทีมจังหวัด

สรุปข้อมูลมะเร็งเต้านมที่จะเพิ่มเติม 4 ประเด็นคือ เปลี่ยนปีที่วินิจฉัย/เสียชีวิต จาก ปี พ.ศ. เป็น วันที่ วินิจฉัย / เสียชีวิต ให้ระบุละเอียดอย่างน้อยระดับเดือน/ปี ถ้าวันที่ไม่ทราบให้ระบุวันที่กลางเดือน คือ 15 ช่วงเวลาของการประเมินความสม่ำเสมอของการตรวจเต้านมด้วยตนเอง คือ 12 เดือนก่อนการวินิจฉัย ถ้ามีการตรวจ >=6 ใน 12 เดือน ถือว่าสม่ำเสมอ โดยพิจารณาจากสมุดการตรวจเต้านมด้วยตนเอง ระบุ TNM และ Staging ที่ละเอียด เช่น II A เพิ่มช่อง Receptors ได้แก่ ER,PR,HER2 แบบฟอร์มการเก็บไว้ที่

ตัวอย่าง 1.ข้อมูลที่จะจัดเก็บ (ร้อยเอ็ด)

ตัวอย่าง 2.ข้อมูลที่จะจัดเก็บ (ร้อยเอ็ด)

Web site เกี่ยวกับความรู้เรื่องมะเร็งเต้านม

วิธีการดำเนินการ ขอ E mail ของทีมจังหวัด/ส่วนกลาง ให้สถานบริการที่เป็นเจ้าของข้อมูล พิมพ์ข้อมูลจาก Web site ตามเลข 13 หลักและชื่อ สกุล (1) ค้นหาหลักฐาน เช่น เวชระเบียนของผู้ป่วยที่ทำการรักษา แล้ว complete ข้อมูลให้สมบูรณ์ตามรายการที่กำหนด ปรับข้อมูลบน web ให้ตรงกับข้อมูลที่ผ่านการตรวจสอบแล้วพิมพ์ข้อมูลผ่าน Web (2) เก็บข้อมูลที่ Print out ออกมาทั้ง (1) และ (2) เพื่อรวบรวมส่งทีมส่วนกลางทีมที่ 1

ใบงาน ให้แบ่งกลุ่ม เป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ ทีมส่วนกลาง ทีมจังหวัด อาจจะแบ่งย่อยถ้าทีมใหญ่เกินไป วางแผนการ Verify ข้อมูลผู้ป่วยมะเร็งเต้านม Cohort เดิม 1.9 ล้านคน ท่านต้องการการสนับสนุนอะไรบ้างเพื่อให้งานเกี่ยวกับข้อมูลสำเร็จตามแผน