ชาติพันธุ์ / เชื้อชาติ อนุทวีปอินเดีย อาจารย์สอง Satit UP
ประเทศอินเดียมีหลากหลายวัฒนธรรม ภาษาที่แตกต่างกันอยู่มากในแต่ละรัฐของอินเดีย
รัฐธรรมนูญอินเดียระบุ 23 ภาษาราชการ แต่ในความเป็นจริงแล้วภาษาที่มีคนใช้กันมากที่สุดคือฮินดี (Hindi) และอังกฤษ ถ้านับทุกภาษาท้องถิ่นใช้กันแล้ว อินเดียมีรวมกันทั้งหมดถึง 1,600 กว่าภาษา
ชาติพันธุ์อารยัน ( Aryan ) ชาวอารยันเป็นชนผิวขาว(คอเคซอยด์)ที่อพยพเข้าสู่อินเดียและวางรากฐานอารยะธรรมอินเดียรวมทั้งศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
ชาติพันธุ์อารยัน ( Indo-Aryan ) ชาวอารยันเป็นชนผิวขาว(คอเคซอยด์)ที่อพยพเข้าสู่อินเดียและวางรากฐานอารยธรรมอินเดียและศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
อารยัน ( อินโด-อารยัน ) ดารวิเดียน ( ทราวิท/ทมิฬ )
ชาติพันธุ์/เชื้อชาติกลุ่มใหญ่ที่สำคัญในอนุทวีปอินเดีย ARYAN DRAVIDIAN
กลุ่ม Indo-Aryan 72 % กลุ่ม Dravidian 25 % จำนวนประชากรปัจจุบันในอินเดีย กลุ่ม Indo-Aryan 72 % กลุ่ม มองโกลอยด์ 3 % กลุ่ม Dravidian 25 %
อารยัน (อริกะ) Aryan
ช่องเขาไคเบอร์ Kyber pass ช่องเขาไคเบอร์เป็นช่องเขาสำคัญที่ชาวอารยัน(อินโด-อารยัน) ใช้เป็นช่องทางอพยพเข้าสู่อนุทวีปอินเดียเมื่อหลาย พันปีก่อนและเป็นกลุ่มชนที่วางรากฐานอารยะธรรม อินเดียและศาสนาพราหมณ์-ฮินดูในเวลาต่อมา ปัจจุบันก็ยังเป็นช่องเขาที่สำคัญอยู่ ช่องเขาไคเบอร์ Kyber pass ช่องเขา Khyber
ช่องเขาไคเบอร์ Khyber pass
ช่องเขาไคเบอร์ Kyber pass
ช่องเขาไคเบอร์ Khyber pass อัฟกานีสถาน ปากีสถาน
These are the "Original" People of India - The "Dravidians". กลุ่ม Indo-Aryan 72 % These are the "Original" People of India - The "Dravidians". กลุ่ม Dravidian 25 %
กลุ่ม Dravidian ชนพื้นเมืองดั้งเดิมก่อนที่ชาวอารยันจะอพยพเข้ามายังอนุทวีอินเดีย
กลุ่ม Indo-Aryan 72 % กลุ่ม Dravidian 25 %
กลุ่ม Indo-Aryan 72 % กลุ่ม Dravidian 25 %
กลุ่ม Indo-Aryan 72 % กลุ่มดราวิเดียน (Dravidian) ชนพื้นเมืองดั้งเดิมก่อนที่ชาวอารยันจะอพยพเข้ามายังอนุทวีปอินเดีย และชาวอารยัน(Aryan)เมื่อมีการผสมทางชาติพันธุ์จนมีความหลากหลายในอินเดียปัจจุบัน กลุ่ม Dravidian 25 %
กลุ่ม Indo-Aryan 72 % กลุ่มดราวิเดียน (Dravidian) ชนพื้นเมืองดั้งเดิมก่อนที่ชาวอารยันจะอพยพเข้ามายังอนุทวีปอินเดีย และชาวอารยัน(Aryan)เมื่อมีการผสมทางชาติพันธุ์จนมีความหลากหลายในอินเดียปัจจุบัน กลุ่ม Dravidian 25 %
ติกะ / บินดิ ศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู ( Brahmanism – Hinduism )
“ ติกะ “ / “ บินดิ " Tilaka / Tilak / Tilakam / Tika / Bindi
ติกะ / บินดิ = จุดกลมบนหน้าผากระหว่างตาสองข้าง @ "ความสว่างไสวทางปัญญา" "ดวงตาแห่งปัญญา"Eye of Wisdom @ ตำแหน่งซึ่งถือว่า เป็นจุดรวมพลังของร่างกาย และจิตวิญญาณ @ แสดงความเป็นฮินดูโดยถือว่าเป็นตาแห่งจิตวิญญาณ (spiritual eye) ตามความเชื่อในศาสนา @ ตัวแทนแห่งความโชคดีมั่งมีศรีสุขและเป็นการป้องกันภูตผีปีศาจ
วัฒนธรรมของพวกพราหมณ์ฮินดู เป็นตัวบ่งชี้อย่างหนึ่งของฐานะทางสังคม ( เป็นเครื่องหมายแห่งการมีคู่ ) - เป็นสัญลักษณ์ของการมีพันธะด้านการครองเรือน ในฐานะผู้เป็นภรรยา ผู้เป็นแม่ - สตรีอินเดียถือสามีเสมือนเทพ จะให้ความรักความเคารพอย่างสูง - เป็นสัญลักษณ์เตือนใจให้นึกถึงคำปฏิญาณ เมื่อตอนแต่งงานว่า จะต้องซื่อสัตย์ต่อสามี (ในสังคมอินเดียฝ่ายหญิงต้องสู่ขอฝ่ายชาย)
ตามความเชื่อในศาสนา การประกอบพิธีกรรมศาสนาฮินดู ฤาษี โยคี นักบวช บัณฑิต และมหาตมะ นิยมเจิมติลักบนหน้าผาก ถ้าไม่ได้เจิมติลักประกอบพิธีกรรมทางศาสนาความพยายามนั้นถือว่าไม่มีผล สูญเปล่า จุดติกะไม่ใช่สัญลักษณ์ของสตรีที่แต่งงานเพียงอย่างเดียว แต่ถือว่าเป็นสิ่งมงคล ชาวอินเดียบางกลุ่มจะใช้ในโอกาสอื่น ๆ เช่นเวลาไหว้พระ พราหมณ์จะให้ผงวิภูติ ผู้รับจะนำมาเจิมเพื่อเป็นสิริมงคล แต่ก็เป็นการเจิมเพียงชั่วคราวเท่านั้น
ติกะ / บินดิ
ติกะ / บินดิ
ในอินเดียหญิงต้องจ่ายสินสอดเพื่อให้ได้สามี การไม่มีเงินเป็นสินสอดจนหาสามีไม่ได้จึงเป็นความน่าละอายของพ่อแม่ฝ่ายหญิง สตรีชาวอินเดียจะต้องมีจุดนี้อยู่ตราบที่สามียังมีชีวิตอยู่ และจะต้องลบออกเมื่อสามีเสียชีวิต ในกรณีที่เลิกร้างกัน สตรีผู้นั้นจะลบจุดออกได้ต่อเมื่อเป็นการเลิกร้างโดยคำสั่งของศาล หากสตรีผู้นั้นลบจุดติกะออกโดยที่สามียังมีชีวิตอยู่ หรือไม่ได้เลิกกันโดยชอบด้วยกฎหมาย จะถือว่าเป็นการกระทำสิ่งที่สังคมไม่ยอมรับ
ในรัฐทางใต้ของอินเดีย เช่น Tamil Nanu, Kerala ผู้หญิงฮินดูแต่งงานแล้วเลือกที่จะแต้ม Tilaka หรือไม่ก็ได้ แต่ในส่วนอื่นๆ ของอินเดีย
ผงวิภูติ จุดสีแดงนี้จะทำจากมูลวัวที่นำมาเผาและบดจนละเอียด แล้วผสมกับสีแดงชาดที่ได้จากรากไม้ มูลวัวไม่ถือว่าเป็นของสกปรก เพราะวัวเป็นพาหนะของพระเจ้า และกินพืชเป็นอาหาร ผงสีนี้เรียกว่า “ ผงวิภูติ "
ผงวิภูติ
วัว ศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู ( Brahmanism – Hinduism )
วัว ถือเป็นสัตว์ศักดิ์สิทธิ์ของชาวฮินดูเพราะถือว่าวัวเป็นพาหนะของพระศิวะ(พระอิศวร) ดังนั้นในสังคมฮินดูจะไม่ทานเนื้อวัวแต่จะนำไปใช้แรงงานและกินนมเท่านั้น นอกจากนี้ในสังคมทั่วไปในอินเดียก็จะเห็นวัวได้ง่ายและพบได้ทั่วไปตามท้องถนนหรือที่ต่าง ๆ โดยชาวฮินดูก็จะให้ความเคารพ
วัว ถือเป็นสัตว์ศักดิ์สิทธิ์ของชาวฮินดูเพราะถือว่าวัวเป็นพาหนะของพระศิวะ(พระอิศวร) ดังนั้นในสังคมฮินดูจะไม่ทานเนื้อวัวแต่จะนำไปใช้แรงงานและกินนมเท่านั้น นอกจากนี้ในสังคมทั่วไปในอินเดียก็จะเห็นวัวได้ง่ายและพบได้ทั่วไปตามท้องถนนหรือที่ต่าง ๆ โดยชาวฮินดูก็จะให้ความเคารพ
วัว ถือเป็นสัตว์ศักดิ์สิทธิ์ของชาวฮินดูเพราะถือว่าวัวเป็นพาหนะของพระศิวะ(พระอิศวร) ดังนั้นในสังคมฮินดูจะไม่ทานเนื้อวัวแต่จะนำไปใช้แรงงานและกินนมเท่านั้น นอกจากนี้ในสังคมทั่วไปในอินเดียก็จะเห็นวัวได้ง่ายและพบได้ทั่วไปตามท้องถนนหรือที่ต่าง ๆ โดยชาวฮินดูก็จะให้ความเคารพ
ในสังคมฮินดูจะไม่ทานเนื้อวัวแต่จะนำไปใช้แรงงานและกินนมเท่านั้น
วัวถือเป็นสัตว์ศักดิ์สิทธิ์ของชาวฮินดู ในสังคมอินเดียก็จะเห็นวัวได้ง่ายและพบได้ทั่วไปตามท้องถนนหรือที่ต่าง ๆ โดยชาวฮินดูก็จะให้ความเคารพ
ในสังคมอินเดียก็จะเห็นวัวได้ง่ายและพบได้ทั่วไปตามท้องถนนหรือที่ต่าง ๆ
ในสังคมอินเดียก็จะเห็นวัวได้ง่ายและพบได้ทั่วไปตามท้องถนนหรือที่ต่าง ๆ
วัวถือเป็นสัตว์ศักดิ์สิทธิ์ของชาวฮินดู ในสังคมอินเดียก็จะเห็นวัวได้ง่ายและพบได้ทั่วไปตามท้องถนนหรือที่ต่าง ๆ โดยชาวฮินดูก็จะให้ความเคารพ
ในสังคมอินเดียก็จะเห็นวัวได้ง่ายและพบได้ทั่วไปตามท้องถนนหรือที่ต่าง ๆ
วัวถือเป็นสัตว์ศักดิ์สิทธิ์ของชาวฮินดู ในสังคมอินเดียจะเห็นวัวได้ง่ายและพบได้ทั่วไปตามท้องถนนหรือที่ต่าง ๆ โดยชาวฮินดูก็จะให้ความเคารพ
วัวถือเป็นสัตว์ศักดิ์สิทธิ์ของชาวฮินดู ในสังคมอินเดียจะเห็นวัวได้ง่ายและพบได้ทั่วไปตามท้องถนนหรือที่ต่าง ๆ โดยชาวฮินดูก็จะให้ความเคารพ
วัวถือเป็นสัตว์ศักดิ์สิทธิ์ของชาวฮินดู ในสังคมอินเดียจะเห็นวัวได้ง่าย และพบได้ทั่วไปตามท้องถนนหรือที่ต่าง ๆ โดยชาวฮินดูก็จะให้ความเคารพ
วัวถือเป็นสัตว์ศักดิ์สิทธิ์ของชาวฮินดู ในสังคมอินเดียจะเห็นวัวได้ง่าย และพบได้ทั่วไปตามท้องถนนหรือที่ต่าง ๆ โดยชาวฮินดูก็จะให้ความเคารพ