ศักยภาพของไทยในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กองก่อสร้างโครงการย่อย กองก่อสร้างโครงการกลาง กองก่อสร้างโครงการใหญ่
Advertisements

แนวทางการจัดทำบัญชีสมดุลผลไม้
รายงานประเทศอาเซียน จัดทำโดย
ความรู้เรื่องประชาคมอาเซียน
สถานการณ์ข้าวไทยเชียงใหม่ สำนักงานพาณิชย์จังหวัดเชียงใหม่
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 14 พนักงาน ราชการ 65 ลูกจ้าง 66 รวม 26 อัตราว่าง - มาช่วย ราชการ นักวิเคราะห์ผังเมืองชำนาญการ ช่วยราชการสำนักงาน โยธาธิการและผังเมืองจังหวัดพิษณุโลก.
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ประชาคมอาเซียน.
สำนักประสานและติดตามนโยบาย สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
การวิเคราะห์ข้อมูล เขตพัฒนาเศรษฐกิจ พิเศษ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์ จังหวัด จังหวัด นราธิวาส 1.
ประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน. 2 ผลการดำเนินงานที่สำคัญสู่ AEC 2015 การลดภาษีศุลกากรขาเข้าลดเหลือ 0% เกือบทุกรายการ การอำนวยความสะดวกทางการค้า เช่น - การจัดทำระบบศุลกากรหน้าต่าง.
แผนงานประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ภายหลังปี 2558 ( ) ประเด็น / มาตรการปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 การศึกษาการเปิดเสรีภาคบริการในสาขาอื่นๆ.
การมอบนโยบายแนวทาง การปฏิรูปที่ดินประจำปี 2559 โดย นายสรรเสริญ อัจจุตมานัส เลขาธิการ ส. ป. ก.
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวน ยุทธศาสตร์จังหวัด จังหวัดบึง กาฬ 1.
แนวทางการบริหารจัดการเขต พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษโดย สหกรณ์ นายเชิดชัย พรหมแก้ว ผู้อำนวยการกองพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตร และกลุ่มเกษตรกร กรมส่งเสริมสหกรณ์ วันที่
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
วันศุกร์ที่ 3 มิถุนายน 2559 เวลา น. ณ ห้องบัญชาการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยแห่งชาติ อาคาร 3 ชั้น 5 กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย การประชุมกองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสา.
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
การสัมมนาวิชาการ สมาคมนักวิจัยและเพาะเห็ดหอมแห่งประเทศไทย เรื่อง เห็ดไทย ... กับการก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน วันศุกร์ที่ 11 พฤษภาคม 2555 ณ โรงแรมเอเชียแอร์พอร์ต.
FTA.
Design by Agri - Map สำนักงานชลประทานที่ ๘.
หลักสูตรอาเซียน เพื่อสร้างประชาคมอาเซียน ให้เป็นประชาคมที่มุ่งเน้น การปฏิสัมพันธ์กับต่างประเทศ มีความมั่นคง มีสันติภาพ และมีความมั่งคั่ง.
การดำเนินงานเพื่อแก้ปัญหา และพัฒนางานสาธารณสุขชายแดน
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
ยินดีต้อนรับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน (พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์) และคณะ ในโอกาสตรวจเยี่ยมจังหวัดตาก วันที่ กรกฎาคม 2558.
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
แผนการขายลูกค้า SMEs พื้นที่ บน.3.1 ขบน ก.พ
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
ขีดความสามารถในการรองรับได้ของแหล่งท่องเที่ยว
กลุ่มเกษตรกร.
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
การประชุมคณะกรรมการความร่วมมือด้านการลงทุนของอาเซียน (CCI) ครั้งที่ ๖๔
แผนการตลาดสำหรับ [ชื่อผลิตภัณฑ์]
SMS News Distribute Service
สถิติการค้าภายในระหว่างประเทศอาเซียน
โรคใบด่างมันสำปะหลัง
นายนิยม ไวยรัชพานิช “บทบาทเอกชนในการขับเคลื่อนเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ”
การเตรียมการป้องกันและแก้ปัญหาภัยแล้ง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
บทบาทขององค์การความร่วมมือทางเศรษฐกิจในภูมิภาคต่าง ๆ
ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยว
แนวทางการแก้ไขปัญหาก๊าซ LPG
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
การจัดการความรู้ Knowledge Management
นโยบายของรัฐด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม สมุดปกขาว BCG in Action การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมของประเทศไทย เพื่อเศรษฐกิจชีวภาพ.
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
การเตรียมตัวสู่ประชาคมอาเซียน
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
ประชาคมอาเซียน(ASEAN Community)
กิจกรรมส่งเสริมเกษตรทฤษฎีใหม่
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
การประชุมผู้บริหารระดับสูง
“อนาคตการสื่อสารไทย โฉมหน้าใหม่ กสทช. ในร่างรัฐธรรมนูญ”
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การค้าชายแดน และการค้าผ่านแดน กองความร่วมมือการค้าและการลงทุน กรมการค้าต่างประเทศ

ศักยภาพของไทยในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ ศูนย์กลางการคมนาคมขนส่งทางบก ประเทศศูนย์กลางของความร่วมมือทางเศรษฐกิจในภูมิภาค BIMSTEC ASEAN IMT-GT GMS ACMECS R9 1.ศักยภาพของไทยในอาเซียตะวันออกเฉียงใต้ Ministry of Commerce

ความสามารถในการแข่งขันของประเทศสมาชิกอาเซียน ใน The Global Competitiveness Index ranking ประเทศ 2554-2555 2555-2556 2556-2557 2557-2558 สิงคโปร์ 2 มาเลเซีย 21 25 24 20 ไทย 39 38 37 31 อินโดนีเซีย 46 50 34 ฟิลิปปินส์ 65 59 52 เวียดนาม 75 70 68 ลาว n.a. 81 93 กัมพูชา 97 85 88 95 พม่า 139 134 บรูไน 146 ที่มา : World Economic Forum

สถิติการค้าต่างประเทศของอาเซียน หน่วย : ล้านเหรียญสหรัฐ ประเทศ 2555 2556 ส่งออก นำเข้า ดุลการค้า สิงคโปร์ 409,772 380,987 28,785 410,250 373,016 37,234 ไทย 229,524 247,778 -18,254 228,730 249,517 -20,787 มาเลเซีย 227,387 196,615 30,772 228,276 205,985 22,290 อินโดนีเซีย 190,032 191,689 -1,657 182,552 186,629 -4,077 เวียดนาม 114,511 113,282 1,229 132,664 132,110 554 ฟิลิปปินส์ 51,995 65,386 -13,391 53,978 65,131 -11,153 บรูไน 13,182 3,674 9,508 11,445 3,612 7,833 พม่า 7,510 6,526 984 11,,436 12,009 -573 กัมพูชา 7,435 11,229 -3,794 9,148 9,176 -28 ลาว 2,655 3,503 -848 2,583 3,292 -709 รวม 1,254,003 1,220,670 33,333 1,271,073 1,240,476 30,597 ที่มา : สำนักงานเลขาธิการ ASEANรอาเซียน

สถิติการค้าภายในระหว่างประเทศอาเซียน หน่วย : ล้านเหรียญสหรัฐ ประเทศ 2555 2556 ส่งออก นำเข้า ดุลการค้า สิงคโปร์ 130,235 80,087 50,148 128,787 77,885 50,902 มาเลเซีย 60,952 55,078 5,874 64,043 55,063 8,980 ไทย 56,499 40,349 16,150 59,320 44,348 14,972 อินโดนีเซีย 41,831 53,823 - 11,992 40,631 54,031 -13,400 เวียดนาม 17,446 20,875 - 3,429 18,179 21,353 -3,174 ฟิลิปปินส์ 9,804 14,954 - 5,150 8,615 14,171 -5,556 พม่า 2,639 2,879 -240 5,625 4,244 1,381 บรูไน 1,737 1,603 134 2,644 1,844 800 กัมพูชา 1,170 1,167 3 1,301 2,818 -1,517 ลาว 990 4,152 -3,162 1,234 2,495 -1,261 รวม 323,306 274,968 48,338 330,379 278,253 52,126 ที่มา : สำนักงานเลขาธิการ ASEANรอาเซียน

สถิติการใช้สิทธิพิเศษทางการค้าของไทยกับอาเซียน หน่วย : ล้านเหรียญสหรัฐฯ ประเทศ 2555 2556 ส่งออก ใช้สิทธิ สัดส่วน(%) มาเลเซีย 12,425 2,860 23.02 13,015 3,514 27.00 สิงคโปร์ 10,836 395 3.64 11,236 417 3.71 อินโดนีเซีย 11,209 6,056 54.03 10,873 7,079 65.11 เวียดนาม 6,483 2,749 42.40 7,182 3,679 51.22 ฟิลิปปินส์ 4,861 2,361 48.57 5,042 2,977 59.04 กัมพูชา 3,778 137 3.63 4,256 225 5.29 ลาว 3,588 131 3.65 3,758 142 3.78 พม่า 3,127 85 2.72 3,789 256 6.76 บรูไน 191 20 10.47 166 19 11.44 อาเซี่ยน 56,499 14,794 26.18 59,318 18,310 30.87 ที่มา : กรมการค้าต่างประเทศ , กรมศุลกากร

จุดผ่านแดนทางการค้าไทย - ประเทศเพื่อนบ้าน จังหวัด จุดผ่านแดนถาวร* จุดผ่านแดนชั่วคราว* จุดผ่อนปรน* รวม กัมพูชา ลาว เมียนมาร์ มาเลเซีย 6 19 5 9 - 1 11 29 14 17 48 20 39 54 94

จุดผ่านแดนทางการค้าไทยด้านกัมพูชา จังหวัด จุดผ่านแดนถาวร จุดผ่านแดนชั่วคราว จุดผ่อนปรน รวม ศรีสะเกษ* สุรินทร์ สระแก้ว จันทบุรี ตราด อุบลราชธานี บุรีรัมย์ 1 2 - 3 4 5 6 11 17 หมายเหตุ: * 1 จุดผ่อนปรนเพื่อการท่องเที่ยว 1 จุด ที่ จ.ศรีสะเกษ

จุดผ่านแดนทางการค้าไทยด้านลาว จังหวัด จุดผ่านแดนถาวร จุดผ่านแดนชั่วคราว จุดผ่อนปรน รวม เชียงราย น่าน นครพนม มุกดาหาร พะเยา เลย บึงกาฬ หนองคาย อุตรดิตถ์ อำนาจเจริญ อุบลราชธานี 4 1 2 - 5 9 3 6 19 29 49

จุดผ่านแดนทางการค้าไทยด้านสหภาพพม่า จังหวัด จุดผ่านแดนถาวร จุดผ่านแดนชั่วคราว จุดผ่อนปรน รวม เชียงราย เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน ตาก กาญจนบุรี ประจวบฯ ระนอง 2 - 1 5 4 7 13 19

จุดผ่านแดนทางการค้าไทยด้านมาเลเซีย จังหวัด จุดผ่านแดนถาวร จุดผ่านแดนชั่วคราว จุดผ่อนปรน รวม ยะลา นราธิวาส สงขลา สตูล 1 3 2 - 9

สถิติการค้าระหว่างประเทศของไทย สถิติการค้าชายแดนของไทย

สัดส่วนการค้าชายแดนของไทยปี 2557 มูลค่า 987,572 ล้านบาท สัดส่วนการค้าชายแดนของไทยปี 2557 มูลค่า 987,572 ล้านบาท กัมพูชา 11.59% ลาว 15.30 % มาเลเซีย 51.40% เมียนมา 21.71%

มาเลเซีย พื้นที่ : 329,847 ตารางกิโลเมตร ประชากร : 30.07 ล้านคน พื้นที่ : 329,847 ตารางกิโลเมตร ประชากร : 30.07 ล้านคน ส่งออก :มูลค่า 230.7 พันล้าน USD (1) สิงคโปร์13.6%(2) จีน12.6%(3) ญี่ปุ่น 11.8 %(4)สหรัฐฯ 8.7 % (5) ไทย 5.4 % . สินค้าส่งออก :สินค้าอีเล็กทรอนิกส์ น้ำมันปาลม์ น้ำมันดิบ ก๊าซธรรมชาติ ไม้ นำเข้า : มูลค่า 192.9 พันล้าน USD (1)จีน15.1 %(2) สิงคโปร์13.3 %(3) ญี่ปุ่น 10.3% (4) สหรัฐฯ 8.1 % (5) ไทย 6.0%สินค้านำเข้า : สินค้าอีเล็กทรอนิกส์ เครื่องจักร น้ำมันเชื้อเพลิง พลาสติก ยานยนต์

เปรียบเทียบการค้าทวิภาคีกับการค้าชายแดนไทย-มาเลเซีย สถิติการค้าระหว่างไทย-มาเลซีย สถิติการค้าชายแดนไทย - มาเลเซีย ล้านบาท ล้านบาท ความสามารถในการแข่งขันทางการค้าชายแดนของไทย การค้าชายแดนเป็นรูปแบบการค้าที่ประเทศไทยมีความสามารถในการแข่งขันสูง โดยมีปัจจัยที่สนับสนุน ได้แก่ 1) เป็นการค้าข้ามพรมแดนซึ่งมีต้นทุนค่าขนส่งต่ำ 2) ประชาชนในประเทศเพื่อนบ้านนิยมบริโภคสินค้าไทยเนื่องจากเห็นว่าสินค้าไทยเป็นสินค้าที่มีคุณภาพ 3) รสนิยมการบริโภคของประชาชนในประเทศเพื่อนบ้านคล้ายคลึงกับคนไทยเนื่องจากได้รับอิทธิพล จากสื่อของไทย ดังจะเห็นได้ว่ามูลค่าการค้าชายแดนของไทยได้เปรียบดุลการค้าทุกปี โดยเฉลี่ยปีละประมาณ 200,000 ล้านบาท และมีอัตราเติบโตย้อนหลัง 5 ปี (2552-2556) เฉลี่ยปีละ 6% เมื่อเทียบกับการค้าระหว่างไทยกับทั่วโลก ซึ่งในปี 2556 ไทยขาดดุลการค้าสูงถึง 747,604 ล้านบาท สำหรับในปี 2557 กระทรวงพาณิชย์ได้ตั้งเป้าหมายการค้าชายแดนรวม 1.05 ล้านล้านบาท เพิ่มขึ้น 13.60 % ดังนั้นหากการค้าชายแดนได้รับการสนับสนุนจากทั้งภาครัฐและภาคเอกชนอย่างเต็มที่ก็จะช่วยเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันและเพิ่มมูลค่าการค้าได้มากขึ้น

สินค้าส่งออก สินค้านำเข้า . สินค้าส่งออกและนำเข้า การค้าชายแดนไทย-มาเลเซีย สินค้าส่งออก สินค้านำเข้า . ยางพารา 91,325 ล้านบาท เครื่องคอมพิวเตอร์ 25,851 ล้านบาท ผลิตภัณฑ์ยาง 16,420 ล้านบาท ไม้ยางพารา 14,820 ล้านบาท รถยนตร์และอะไหล่ 9,381 ล้านบาท สื่อบันทึกข้อมูล ภาพ เสียง 23,557 ล้านบาท เทปและจานแม่เหล็ก 22,536 ล้านบาท เครื่องคอมพิวเตอร์ 20,280 ล้านบาท ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ 18,417 ล้านบาท เครื่องจักรอุตสาหกรรม 17,648 ล้านบาท

สัดส่วนการค้าชายแดนของไทยกับมาเลเซีย(รายจังหวัด) ปี 2557 มูลค่า 507,655.46 ล้านบาท

เมียนมา พื้นที่ : 676,578 ตารางกิโลเมตร ประชากร : 51.74 ล้านคน ส่งออก : มูลค่า 9.043 พันล้าน USD ไทย 40.7% (2) อินเดีย 14.8% (3) จีน 14.3% (4) ญี่ปุ่น 7.4% สินค้าส่งออก : ก๊าซธรรมชาติ ไม้ ถั่ว ข้าว สัตว์น้ำ อัญมณี นำเข้า : มูลค่า 10.11 พันล้าน USD (1) จีน 36.9% (2) ไทย 20.2% (3) สิงคโปร์ 8.7% (4) เกาหลีใต้ 8.7% (5) ญี่ปุ่น 8.2% สินค้านำเข้า : ผ้าผืน น้ำมันเชื้อเพลิง ปุ๋ย พลาสติก ยานยนต์

เปรียบเทียบการค้าทวิภาคีกับการค้าชายแดนไทย-เมียนมา สถิติการค้าระหว่างไทย-เมียนมา สถิติการค้าชายแดนไทย - เมียนมา ล้านบาท ล้านบาท ความสามารถในการแข่งขันทางการค้าชายแดนของไทย การค้าชายแดนเป็นรูปแบบการค้าที่ประเทศไทยมีความสามารถในการแข่งขันสูง โดยมีปัจจัยที่สนับสนุน ได้แก่ 1) เป็นการค้าข้ามพรมแดนซึ่งมีต้นทุนค่าขนส่งต่ำ 2) ประชาชนในประเทศเพื่อนบ้านนิยมบริโภคสินค้าไทยเนื่องจากเห็นว่าสินค้าไทยเป็นสินค้าที่มีคุณภาพ 3) รสนิยมการบริโภคของประชาชนในประเทศเพื่อนบ้านคล้ายคลึงกับคนไทยเนื่องจากได้รับอิทธิพล จากสื่อของไทย ดังจะเห็นได้ว่ามูลค่าการค้าชายแดนของไทยได้เปรียบดุลการค้าทุกปี โดยเฉลี่ยปีละประมาณ 200,000 ล้านบาท และมีอัตราเติบโตย้อนหลัง 5 ปี (2552-2556) เฉลี่ยปีละ 6% เมื่อเทียบกับการค้าระหว่างไทยกับทั่วโลก ซึ่งในปี 2556 ไทยขาดดุลการค้าสูงถึง 747,604 ล้านบาท สำหรับในปี 2557 กระทรวงพาณิชย์ได้ตั้งเป้าหมายการค้าชายแดนรวม 1.05 ล้านล้านบาท เพิ่มขึ้น 13.60 % ดังนั้นหากการค้าชายแดนได้รับการสนับสนุนจากทั้งภาครัฐและภาคเอกชนอย่างเต็มที่ก็จะช่วยเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันและเพิ่มมูลค่าการค้าได้มากขึ้น

สินค้าส่งออก สินค้านำเข้า สินค้าส่งออกและนำเข้า การค้าชายแดนไทย-พม่า สินค้าส่งออก สินค้านำเข้า ก๊าซธรรมชาติ 115,003 ล้านบาท โค กระบือ 1,672 ล้านบาท ไม้ 858 ล้านบาท สัตว์น้ำ 604 ล้านบาท พืชน้ำมัน 415 ล้านบาท น้ำมันดีเซล 8,011 ล้านบาท เครื่องดื่มมีแอลกอฮอลล์ 6,874 ล้านบาท น้ำมันเบนซิน 5,524 ล้านบาท เครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอลล์ 4,445 ล้านบาท ผ้าผืนและด้าย 4,376 ล้านบาท

สัดส่วนการค้าชายแดนไทยกับเมียนมา(รายจังหวัด)ปี 2557 มูลค่า 214,387.23 ล้านบาท

สินค้าไทย ในพม่า

สปป.ลาว พื้นที่ : 236,800 ตารางกิโลเมตร ประชากร : 6.80 ล้านคน พื้นที่ : 236,800 ตารางกิโลเมตร ประชากร : 6.80 ล้านคน ส่งออก : มูลค่า 2,313 ล้าน USD ไทย 34% (2) จีน 21.5% (3) เวียดนาม 12.2% สินค้าส่งออก : ทองแดง ไม้ กาแฟ ไฟฟ้า มันสำปะหลัง นำเข้า : มูลค่า 3,238 ล้าน USD (1) ไทย 62.1% (2) จีน 16.2% (3) เวียดนาม 7.3% สินค้านำเข้า : เครื่องจักร ยานยนต์ น้ำมันเชื้อเพลิง สินค้าอุปโภคบริโภค

เปรียบเทียบการค้าทวิภาคีกับการค้าชายแดนไทย-สปป.ลาว สถิติการค้าระหว่างไทย-สปป.ลาว สถิติการค้าชายแดนไทย – สปป.ลาว ล้านบาท ล้านบาท ความสามารถในการแข่งขันทางการค้าชายแดนของไทย การค้าชายแดนเป็นรูปแบบการค้าที่ประเทศไทยมีความสามารถในการแข่งขันสูง โดยมีปัจจัยที่สนับสนุน ได้แก่ 1) เป็นการค้าข้ามพรมแดนซึ่งมีต้นทุนค่าขนส่งต่ำ 2) ประชาชนในประเทศเพื่อนบ้านนิยมบริโภคสินค้าไทยเนื่องจากเห็นว่าสินค้าไทยเป็นสินค้าที่มีคุณภาพ 3) รสนิยมการบริโภคของประชาชนในประเทศเพื่อนบ้านคล้ายคลึงกับคนไทยเนื่องจากได้รับอิทธิพล จากสื่อของไทย ดังจะเห็นได้ว่ามูลค่าการค้าชายแดนของไทยได้เปรียบดุลการค้าทุกปี โดยเฉลี่ยปีละประมาณ 200,000 ล้านบาท และมีอัตราเติบโตย้อนหลัง 5 ปี (2552-2556) เฉลี่ยปีละ 6% เมื่อเทียบกับการค้าระหว่างไทยกับทั่วโลก ซึ่งในปี 2556 ไทยขาดดุลการค้าสูงถึง 747,604 ล้านบาท สำหรับในปี 2557 กระทรวงพาณิชย์ได้ตั้งเป้าหมายการค้าชายแดนรวม 1.05 ล้านล้านบาท เพิ่มขึ้น 13.60 % ดังนั้นหากการค้าชายแดนได้รับการสนับสนุนจากทั้งภาครัฐและภาคเอกชนอย่างเต็มที่ก็จะช่วยเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันและเพิ่มมูลค่าการค้าได้มากขึ้น

สินค้าส่งออก สินค้านำเข้า สินค้าส่งออกและนำเข้า การค้าชายแดนไทย-สปป.ลาว สินค้าส่งออก สินค้านำเข้า น้ำมันดีเซล 19,846 ล้านบาท รถยนต์ 15,471 ล้านบาท เหล็กและเหล็กกล้า 11,687 ล้านบาท น้ำมันเบนซิน 6,732 ล้านบาท เนื้อไก่ 3,711 ล้านบาท ทองแดง 16,799 ล้านบาท โทรศัพท์/โทรทัศน์ 4,577 ล้านบาท ไม้แปรรูป 1,140 ล้านบาท มันสำปะหลัง 1,072 ล้านบาท ปุ๋ย 365 ล้านบาท

สัดส่วนการค้าชายแดนไทยกับสปป.ลาว(รายจังหวัด) ปี 2557 มูลค่า 151,063.69 ล้านบาท

กัมพูชา พื้นที่ : 181,035 ตารางกิโลเมตร ประชากร : 15.46 ล้านคน พื้นที่ : 181,035 ตารางกิโลเมตร ประชากร : 15.46 ล้านคน ส่งออก : มูลค่า 6,782 ล้าน USD สหรัฐ 32.6% (2) สหราชอาณาจักร 8.3% (3) เยอรมัน 7.7% (4) คานาดา 7.7% (5) สิงคโปร์ 6.6% ไทย 3.7% สินค้าส่งออก : เสื้อผ้าสำเร็จรูป ยางพารา ไม้ ข้าว สัตว์น้ำ นำเข้า : มูลค่า 8,895 ล้าน USD (1) ไทย 27.1% (2) เวียดนาม 20.3% (3) จีน 19.5% (4) สิงคโปร์ 7.1% (5) ฮ่องกง 5.8% สินค้านำเข้า : ยานยนต์ น้ำมันเชื้อเพลิง บุหรี่ ทอง วัสดุก่อสร้าง

เปรียบเทียบการค้าทวิภาคีกับการค้าชายแดนไทย-กัมพูชา สถิติการค้าระหว่างไทย-กัมพูชา สถิติการค้าชายแดนไทย - กัมพูชา ล้านบาท ล้านบาท ความสามารถในการแข่งขันทางการค้าชายแดนของไทย การค้าชายแดนเป็นรูปแบบการค้าที่ประเทศไทยมีความสามารถในการแข่งขันสูง โดยมีปัจจัยที่สนับสนุน ได้แก่ 1) เป็นการค้าข้ามพรมแดนซึ่งมีต้นทุนค่าขนส่งต่ำ 2) ประชาชนในประเทศเพื่อนบ้านนิยมบริโภคสินค้าไทยเนื่องจากเห็นว่าสินค้าไทยเป็นสินค้าที่มีคุณภาพ 3) รสนิยมการบริโภคของประชาชนในประเทศเพื่อนบ้านคล้ายคลึงกับคนไทยเนื่องจากได้รับอิทธิพล จากสื่อของไทย ดังจะเห็นได้ว่ามูลค่าการค้าชายแดนของไทยได้เปรียบดุลการค้าทุกปี โดยเฉลี่ยปีละประมาณ 200,000 ล้านบาท และมีอัตราเติบโตย้อนหลัง 5 ปี (2552-2556) เฉลี่ยปีละ 6% เมื่อเทียบกับการค้าระหว่างไทยกับทั่วโลก ซึ่งในปี 2556 ไทยขาดดุลการค้าสูงถึง 747,604 ล้านบาท สำหรับในปี 2557 กระทรวงพาณิชย์ได้ตั้งเป้าหมายการค้าชายแดนรวม 1.05 ล้านล้านบาท เพิ่มขึ้น 13.60 % ดังนั้นหากการค้าชายแดนได้รับการสนับสนุนจากทั้งภาครัฐและภาคเอกชนอย่างเต็มที่ก็จะช่วยเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันและเพิ่มมูลค่าการค้าได้มากขึ้น

สินค้าส่งออก สินค้านำเข้า สินค้าส่งออกและนำเข้า การค้าชายแดนไทย-กัมพูชา สินค้าส่งออก สินค้านำเข้า รถยนต์ และยานพาหนะอื่นๆ 8,392 ล้านบาท เครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอลล์ 4,933 ล้านบาท เครื่องยนต์สันดาบภายใน 4,158 ล้านบาท รถจักรยานยนต์ 3,335 ล้านบาท น้ำมันเบนซิน 3,220 ล้านบาท โทรศัพท์/โทรทัศน์ 6,172 ล้านบาท เครื่องจักรกล 2,656 ล้านบาท ลวดเละสายเคเบิล 2,200 ล้านบาท มันสำปะหลัง 2,073 ล้านบาท อลูมิเนียม 1,070 ล้านบาท

สัดส่วนการค้าชายแดนไทยกับกัมพูชา (รายจังหวัด) ปี 2557 มูลค่า 114,465.84 ล้านบาท

สถิติการค้าผ่านแดนของไทยกับจีน เวียดนามและสิงคโปร์

สัดส่วนการค้าผ่านแดนของไทยปี 2557 มูลค่า 155,533.37 ล้านบาท สัดส่วนการค้าผ่านแดนของไทยปี 2557 มูลค่า 155,533.37 ล้านบาท

จีน พื้นที่ : 9.6 ล้านตารางกิโลเมตร ประชากร : 1,355.69 ล้านคน พื้นที่ : 9.6 ล้านตารางกิโลเมตร ประชากร : 1,355.69 ล้านคน  ส่งออก:มูลค่า 2,210,000 ล้านUSD (1) ฮ่องกง 17.9% (2) สหรัฐ 16.7% (3) ญี่ปุ่น 6.8% (4) เกาหลีใต้ 4.1% ไทย 1.7 %สินค้าส่งออก : เครื่องจักร โทรศัพท์ คอมพิวเตอร์ แผงวงจรไฟฟ้า สิ่งทอ นำเข้า:มูลค่า 1,950,000 ล้านUSD (1) เกาหลีใต้ 9.4%(2) ญี่ปุ่น 8.3% (3) ไต้หวัน 8% (4) สหรัฐอเมริกา 7.8% (5) ออสเตรเลีย 5% ไทย 1.5 % สินค้านำเข้า : เครื่องจักร สินแร่ น้ำมันเชื้อเพลิง ยานยนต์ ถั่วเหลือง

เปรียบเทียบการค้าทวิภาคีกับการค้าผ่านแดนไทย-จีน สถิติการค้าระหว่างไทย-จีน สถิติการค้าผ่านแดนไทย - จีน ล้านบาท ล้านบาท ความสามารถในการแข่งขันทางการค้าชายแดนของไทย การค้าชายแดนเป็นรูปแบบการค้าที่ประเทศไทยมีความสามารถในการแข่งขันสูง โดยมีปัจจัยที่สนับสนุน ได้แก่ 1) เป็นการค้าข้ามพรมแดนซึ่งมีต้นทุนค่าขนส่งต่ำ 2) ประชาชนในประเทศเพื่อนบ้านนิยมบริโภคสินค้าไทยเนื่องจากเห็นว่าสินค้าไทยเป็นสินค้าที่มีคุณภาพ 3) รสนิยมการบริโภคของประชาชนในประเทศเพื่อนบ้านคล้ายคลึงกับคนไทยเนื่องจากได้รับอิทธิพล จากสื่อของไทย ดังจะเห็นได้ว่ามูลค่าการค้าชายแดนของไทยได้เปรียบดุลการค้าทุกปี โดยเฉลี่ยปีละประมาณ 200,000 ล้านบาท และมีอัตราเติบโตย้อนหลัง 5 ปี (2552-2556) เฉลี่ยปีละ 6% เมื่อเทียบกับการค้าระหว่างไทยกับทั่วโลก ซึ่งในปี 2556 ไทยขาดดุลการค้าสูงถึง 747,604 ล้านบาท สำหรับในปี 2557 กระทรวงพาณิชย์ได้ตั้งเป้าหมายการค้าชายแดนรวม 1.05 ล้านล้านบาท เพิ่มขึ้น 13.60 % ดังนั้นหากการค้าชายแดนได้รับการสนับสนุนจากทั้งภาครัฐและภาคเอกชนอย่างเต็มที่ก็จะช่วยเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันและเพิ่มมูลค่าการค้าได้มากขึ้น

สินค้าส่งออก สินค้านำเข้า สินค้าส่งออกและนำเข้า การค้าผ่านแดนไทย-จีนตอนใต้ สินค้าส่งออก สินค้านำเข้า เครื่องคอมพิวเตอร์ 7,680 ล้านบาท น้ำมันดีเซล 2,382 ล้านบาท เครื่องกำเนิดไฟฟ้า 2,160 ล้านบาท ผลไม้ 1,854 ล้านบาท ยางพารา 1,132 ล้านบาท 1. เครื่องคอมพิวเตอร์ 14,062 ล้านบาท 2. โทรศัพท์/โทรทัศน์และ 2,347 ล้านบาท เครื่องรับส่งสัญญาณ 3. วงจรพิมพ์ 1,786 ล้านบาท 4. ผัก 1 ,545 ล้านบาท 5. ผลไม้ 830 ล้านบาท

สัดส่วนการค้าชายแดนไทย – จีน(รายจังหวัด) ปี 2557 มูลค่า 45,218.29 ล้านบาท

เวียดนาม พื้นที่ : 331,690 ตารางกิโลเมตร ประชากร : 93.4 ล้านคน ส่งออก:มูลค่า 128.9 พันล้าน USD สหรัฐ 17.8% (2) ญี่ปุ่น 11.8% (3) จีน 11.2% (4) เกาหลีใต้ 5% (5) มาเลเซีย 4.1% ไทย 2.6 % สินค้าส่งออก : สิ่งทอ รองเท้า โทรศัพท์ สัตว์น้ำ น้ำมันดิบ นำเข้า:มูลค่า 121.4 พันล้าน USD (1)จีน 25.8% (2)เกาหลีใต้ 13.9% (3) ญี่ปุ่น 10.4% (4) สิงคโปร์ 6%, (5) ไทย 5.2% สินค้านำเข้า : เครื่องจักร น้ำมันเชื้อเพลิง เหล็ก ผ้าผืน พลาสติก ยานยนต์

เปรียบเทียบการค้าทวิภาคีกับการค้าผ่านแดนไทย-เวียดนาม สถิติการค้าระหว่างไทย-เวียดนาม สถิติการค้าชายแดนไทย - เวียดนาม ล้านบาท ล้านบาท ความสามารถในการแข่งขันทางการค้าชายแดนของไทย การค้าชายแดนเป็นรูปแบบการค้าที่ประเทศไทยมีความสามารถในการแข่งขันสูง โดยมีปัจจัยที่สนับสนุน ได้แก่ 1) เป็นการค้าข้ามพรมแดนซึ่งมีต้นทุนค่าขนส่งต่ำ 2) ประชาชนในประเทศเพื่อนบ้านนิยมบริโภคสินค้าไทยเนื่องจากเห็นว่าสินค้าไทยเป็นสินค้าที่มีคุณภาพ 3) รสนิยมการบริโภคของประชาชนในประเทศเพื่อนบ้านคล้ายคลึงกับคนไทยเนื่องจากได้รับอิทธิพล จากสื่อของไทย ดังจะเห็นได้ว่ามูลค่าการค้าชายแดนของไทยได้เปรียบดุลการค้าทุกปี โดยเฉลี่ยปีละประมาณ 200,000 ล้านบาท และมีอัตราเติบโตย้อนหลัง 5 ปี (2552-2556) เฉลี่ยปีละ 6% เมื่อเทียบกับการค้าระหว่างไทยกับทั่วโลก ซึ่งในปี 2556 ไทยขาดดุลการค้าสูงถึง 747,604 ล้านบาท สำหรับในปี 2557 กระทรวงพาณิชย์ได้ตั้งเป้าหมายการค้าชายแดนรวม 1.05 ล้านล้านบาท เพิ่มขึ้น 13.60 % ดังนั้นหากการค้าชายแดนได้รับการสนับสนุนจากทั้งภาครัฐและภาคเอกชนอย่างเต็มที่ก็จะช่วยเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันและเพิ่มมูลค่าการค้าได้มากขึ้น

สินค้าส่งออก สินค้านำเข้า สินค้าส่งออกและนำเข้า การค้าผ่านแดนไทย-เวียดนาม สินค้าส่งออก สินค้านำเข้า เครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอลล์ 7,967 ล้านบาท ผลไม้ 7,244 ล้านบาท แบตเตอรี่ 3,305 ล้านบาท เหล็กและเหล็กกล้า 1,126 ล้านบาท เครื่องรับวิทยุโทรทัศน์ 339 ล้านบาท โทรศัพท์/โทรทัศน์ 21,540 ล้านบาท คอมพิวเตอร์ 1,805 ล้านบาท เครื่องกำเนิดไฟฟ้า 430 ล้านบาท เครื่องรับส่งโทรศัพท์/โทรทัศน์ 188 ล้านบาท วงจรพิมพ์ 166 ล้านบาท

มูลค่าการค้าผ่านแดนไทย - เวียดนาม (รายจังหวัด) ปี 2557 รวมทั้งหมด 47,141.06 ล้านบาท

สิงคโปร์ พื้นที่ : 697.0ตารางกิโลเมตร ประชากร : 5.6 ล้านคน ส่งออก :มูลค่า 410.3 พันล้าน USD มาเลเซีย 12.3% (2) ฮ่องกง 10.9% (3) จีน 10.8% (4) อินโดนีเซีย10.6% (5) สหรัฐ 5.5% ไทย 2.0% สินค้าส่งออก : เครื่องจักร ยา เคมีภัณฑ์ น้ำมันเชื้อเพลิง อาหารและเครื่องดื่ม นำเข้า : มูลค่า 373.0 พันล้าน USD (1) มาเลเซีย 10.6% (2) จีน10.3% (3) สหรัฐ 10.2% (4) เกาหลีใต้ 6.8% (5) ญี่ปุ่น 6.2% ไทย 3.0% สินค้านำเข้า : เครื่องจักร น้ำมันดิบ เคมีภัณฑ์ อาหาร สินค้าอุปโภคบริโภค

เปรียบเทียบการค้าทวิภาคีกับการค้าผ่านแดนไทย-สิงคโปร์ สถิติการค้าระหว่างไทย-สิงคโปร์ สถิติการค้าชายแดนไทย - สิงคโปร์ ล้านบาท ล้านบาท ความสามารถในการแข่งขันทางการค้าชายแดนของไทย การค้าชายแดนเป็นรูปแบบการค้าที่ประเทศไทยมีความสามารถในการแข่งขันสูง โดยมีปัจจัยที่สนับสนุน ได้แก่ 1) เป็นการค้าข้ามพรมแดนซึ่งมีต้นทุนค่าขนส่งต่ำ 2) ประชาชนในประเทศเพื่อนบ้านนิยมบริโภคสินค้าไทยเนื่องจากเห็นว่าสินค้าไทยเป็นสินค้าที่มีคุณภาพ 3) รสนิยมการบริโภคของประชาชนในประเทศเพื่อนบ้านคล้ายคลึงกับคนไทยเนื่องจากได้รับอิทธิพล จากสื่อของไทย ดังจะเห็นได้ว่ามูลค่าการค้าชายแดนของไทยได้เปรียบดุลการค้าทุกปี โดยเฉลี่ยปีละประมาณ 200,000 ล้านบาท และมีอัตราเติบโตย้อนหลัง 5 ปี (2552-2556) เฉลี่ยปีละ 6% เมื่อเทียบกับการค้าระหว่างไทยกับทั่วโลก ซึ่งในปี 2556 ไทยขาดดุลการค้าสูงถึง 747,604 ล้านบาท สำหรับในปี 2557 กระทรวงพาณิชย์ได้ตั้งเป้าหมายการค้าชายแดนรวม 1.05 ล้านล้านบาท เพิ่มขึ้น 13.60 % ดังนั้นหากการค้าชายแดนได้รับการสนับสนุนจากทั้งภาครัฐและภาคเอกชนอย่างเต็มที่ก็จะช่วยเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันและเพิ่มมูลค่าการค้าได้มากขึ้น

สินค้าส่งออก สินค้านำเข้า สินค้าส่งออกและนำเข้า การค้าผ่านแดนไทย-สิงคโปร์ สินค้าส่งออก สินค้านำเข้า เครื่องตัดต่อวงจรไฟฟ้า 6,328 ล้านบาท เครื่องยนต์ 3,360 ล้านบาท แผงวงจรไฟฟ้า 3,040 ล้านบาท เครื่องคอมพิวเตอร์ 2,685 ล้านบาท ผลิตภัณฑ์เหล็ก 1,617 ล้านบาท เทป, จานแม่เหล็ก 16,825 ล้านบาท แผงวงจรไฟฟ้า 5,375 ล้านบาท เครื่องจักร 3,865 ล้านบาท ผลิตภัณฑ์เหล็ก 887 ล้านบาท เครื่องพักกระแสไฟฟ้า 874 ล้านบาท

มูลค่าการค้าผ่านแดนไทย- สิงคโปร์ (รายจังหวัด) ปี 2557 รวมทั้งหมด 63,174.02 ล้านบาท

ปัญหาการค้าชายแดน ข้อจำกัดด่านการค้าชายแดน ด่านการค้าชายแดนระหว่างไทยกับประเทศเพื่อนบ้านมีไม่เพียงพอ เพื่อรองรับปริมาณการค้าที่เพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องทุกปี ข้อจำกัดด่านการค้าชายแดน ขาดการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรของประเทศเพื่อนบ้านได้อย่างเต็มที่ ขาดความไว้เนื้อเชื่อใจระหว่างหว่างผู้ประกอบการของไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน ขาดข้อมูลประกอบการตัดสินในในการทำการค้าการลงทุนกับประเทศเพื่อนบ้าน ขาดการเชื่อมโยงฐานการผลิตการค้ากับประเทศเพื่อนบ้าน ผู้ประกอบการค้าชายแดนส่วนใหญ่เป็นผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดเล็กขาดองค์ความรู้ที่เกี่ยวเนื่องกับการค้าชายแดน เช่น กฏ ระเบียบการนำเข้า-ส่งออก ของไทยและประเทศเพื่อนบ้าน ข้อมูลการตลาด ไม่สามารถเข้าถึงระบบการชำระค่าสินค้าระหว่างประเทศเ ป็นต้น ผู้ประกอบการขาดความรู้ในการทำการค้าชายแดน ระบบโลจิสติกส์บริเวณแนวชายแดนระหว่างไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน ถนน และสิ่งอำนวยความสะดวกบริเวณด่านชายแดนยังไม่พร้อม ความตกลงขนส่งสินค้าผ่านแดนระหว่างไทยกับประเทศต่างๆในภูมิภาคยังไม่มีผลในทางปฎิบัติ ระบบโลจิสติกส์ยังไม่เอื้ออำนวย กฎหมายหรือกฎระเบียบข้อบังคับต่างๆ ของไทยและประเทศเพื่อนบ้าน บางส่วนส่งผลกระทบต่อการค้าบริเวณแนวชายแดน ปัญหากฏระเบียบที่ไม่เอื้ออำนวย 1. เพิ่มช่องทางการส่งออกของไทย การรวมตัวเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนจะทำให้ขนาดเศรษฐกิจของอาเซียนมีขนาดใหญ่เป็นลำดับ 3 ของโลกรองจากเขตการค้าเสรีอเมริกาเหนือและสหภาพยุโรป ในขณะที่ประเทศทั่วโลกต่างได้รับผลกระทบจากวิกฤตเศรษฐกิจอย่างมากโดยเฉพาะประเทศในกลุ่ม G 3 อย่างสหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป และญี่ปุ่น ที่ถือเป็นตลาดส่งออกหลักของไทย ดังนั้น การรวมตัวของอาเซียนในการลดภาษีและอุปสรรคทางการค้าที่มิใช่ภาษีจึงเป็นความหวังของผู้ส่งออก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การรวมตัวกันทำก่อให้เกิดตลาดขนาดใหญ่ซึ่งประกอบด้วยประชากรมากกว่า 560 ล้านคน รวมทั้งการผ่อนคลายกฎระเบียบและการอำนวยความสะดวกทางการค้าด้านต่างๆ เช่น การลด/ยกเลิกภาษีที่ที่เป็นภาษีและมิใช่ภาษี กฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า การอำนวยความสะดวกด้านการค้า ความร่วมมือด้านมาตรฐานสินค้า (MRA) ย่อมทำให้ผู้ส่งออกเกิดความมั่นใจและมีช่องทางในการส่งออกมากขึ้น การค้าของไทยกับอาเซียน ภาคการส่งออกของไทยได้ประโยชน์จากการเปิดเสรีทางการค้าภายใต้กรอบ AFTA มาตั้งแต่ปี 2536 ปัจจุบันอาเซียนเป็นตลาดส่งออกสินค้าอันดับ 1 ของไทยคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 22.5 ของมูลค่าการส่งออกทั้งหมด คาดว่า หลังจากที่ประเทศสมาชิกเดิม 6 ประเทศ(คือไทย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย สิงคโปร์และบรูไน) ยกเลิกภาษีสินค้าเกือบทั้งหมดในปี 2553 จะช่วยขยายมูลค่าการค้าระหว่างไทยกับอาเซียนมากขึ้น ทั้งนี้ มูลค่าการส่งออกของไทยเพิ่มขึ้นกว่าร้อยละ 20 ขณะที่การนำเข้าจะขยายตัวสูงกว่าร้อยละ 30 ในช่วงปี 2551-2558 สินค้าและบริการของไทยที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์ กลุ่มสินค้าและบริการที่ผู้ประกอบการไทยค่อนข้างมีความได้เปรียบด้านการแข่งขันและอาจจะได้รับประโยชน์จากการลด/ยกเลิกภาษีของอาเซียน ได้แก่ ประเภทสินค้า เช่น สินค้าเกษตร ประมง ไม้ ยางพารา ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ประเภทบริการ เช่น ธุรกิจแฟรนไชส์ อาหาร โลจิสติกส์ สิ่งพิมพ์ บริการสุขภาพและธุรกิจรักษาพยาบาล ผู้ประกอบการสามารถใช้จากการลดภาษีภายใต้ AFTA สำหรับสินค้าที่อยู่ในความตกลง โดยสินค้าจะต้องมีแหล่งกำเนิดในอาเซียน (รายละเอียดเกี่ยวกับการลดภาษี และแหล่งกำเนิดสินค้าสามารถติดต่อสอบถามเพิ่มเติมจากกรมศุลกากรและกรมการค้าต่างประเทศ) 2. เพิ่มขีดความสามารถในการเป็นแหล่งดึงดูดการลงทุน การรวมตัวเป็นประชาคมอาเซียนจะช่วยดึงดูดความสนใจของนักลงทุนต่างชาติให้เข้ามาลงทุนในอาเซียน (รวมถึงไทย) มากขึ้น หลังจากที่นักลงทุนต่างชาติแห่แหนเข้าไปลงทุนในจีนและอินเดียเป็นจำนวนมาก การเปิดเสรีการลงทุนของอาเซียนที่ลด/ยกเลิกเงื่อนไขและกฎระเบียบด้านการลงทุนจะเปิดโอกาสให้นักลงทุนอาเซียนและนักลงทุนต่างชาติที่มีธุรกิจในประเทศอาเซียนสามารถเข้ามาลงทุนทางตรง (FDI) และลงทุนในหลักทรัพย์ (portfolio) ภายในประเทศอาเซียนได้สะดวกขึ้น ทั้งนี้ อาเซียนมีเป้าหมายที่จะเป็นฐานการผลิตในอุตสาหกรรมยานยนต์ อุตสาหกรรมปิโตรเคมีและอุตสาหกรรมเหล็กของโลก ซึ่งจะช่วยให้นักลงทุนอาเซียนและต่างชาติที่มีธุรกิจในอาเซียนเข้ามาลงทุนในประเทศไทยมากขึ้นโดยเฉพาะการลงทุนในภาคการผลิตที่ไทยมีความได้เปรียบสูงอย่างอุตสาหกรรมยานยนต์ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การเปิดเสรีด้านการลงทุนอาเซียนอาจจะเอื้อประโยชน์ให้กับนักลงทุนต่างชาติที่ตั้งฐานการผลิตในกลุ่มอาเซียนมาเป็นเวลานานอย่างญี่ปุ่น ที่กำลังอาศัยใช้ประโยชน์จากความตกลง FTA ของอาเซียนกับตลาดใหม่อย่างจีน อินเดีย ออสเตรเลีย-นิวซีแลนด์ในการเข้าไปตั้งฐานการผลิตในประเทศเหล่านี้ เห็นได้จากบริษัทรถยนต์ของญี่ปุ่นที่มีฐานการผลิตรถยนต์และชิ้นส่วนในอาเซียนมีแผนจะเข้าไปลงทุนในอินเดียโดยนำชิ้นส่วนจากอาเซียนเข้าไปประกอบรถยนต์ในอินเดีย เป็นต้น 3. ประโยชน์ด้านการท่องเที่ยว ความตกลงของอาเซียนที่ครอบคลุมถึงการเปิดเสรีภาคบริการ โดยเฉพาะด้านการท่องเที่ยวซึ่งมีวาระเร่งรัดผลักดันความร่วมมือด้านต่าง ๆ เพื่อให้การเดินทางท่องเที่ยวภายในภูมิภาค (Intra-ASEAN Travel and Tourism) มีความสะดวกรวดเร็วมากยิ่งขึ้น เช่น การเชื่อมโยงแหล่งท่องเที่ยวในภูมิภาคโดยเร่งพัฒนาเส้นทางคมนาคมและการขนส่ง การอำนวยความสะดวกในการข้ามพรมแดนของนักท่องเที่ยว รวมถึงการสร้างแรงจูงใจให้นักท่องเที่ยวอาเซียนหันมาเดินทางท่องเที่ยวในภูมิภาคมากขึ้น ปัจจัยเหล่านี้จะช่วยกระตุ้นให้อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวของไทยและอาเซียนขยายตัวเพิ่มขึ้นโดยเฉพาะในภาวะปัจจุบันที่นักท่องเที่ยวอาเซียนและต่างชาติได้รับ ผลกระทบจากวิกฤตเศรษฐกิจจึงปรับเปลี่ยนพฤติกรรมมาท่องเที่ยวในสถานที่ที่มีค่าใช้จ่ายไม่มากนัก นอกจากนี้ การเชื่อมโยงแหล่งท่องเที่ยวในภูมิภาคจะช่วยดึงดูดความสนใจของต่างชาติให้เข้ามาลงทุนในภาคการท่องเที่ยวของไทยมากขึ้น 4. ขยายโอกาสการส่งออกสินค้าไปยังประเทศเพื่อนบ้าน ได้แก่ กัมพูชา ลาว พม่า เวียดนาม (CLMV) แม้ว่าสิงคโปร์ มาเลเซียและอินโดนีเซีย จะเป็นตลาดส่งออกที่สำคัญของไทยในกลุ่มอาเซียน แต่ในปี 2551 ที่ผ่านมา การส่งออกสินค้าของไทยไปยังประเทศเพื่อนบ้านอย่างลาว เมียนมาร์ กัมพูชาและเวียดนาม (CLMV) ขยายตัวสูงถึงร้อยละ 30 สาเหตุส่วนหนึ่งมาจากการเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างรวดเร็วส่งผลให้ความต้องการสินค้าส่งออกจากไทยซึ่งมีพรมแดนติดต่อกันเพิ่มขึ้น อีกส่วนหนึ่งคือ ผู้บริโภคในประเทศเหล่านี้ ยอมรับในคุณภาพสินค้าของไทยเมื่อมีรายได้สูงขึ้นจึงปรับเปลี่ยนพฤติกรรมมาใช้สินค้าไทยซึ่งมีภาพลักษณ์ดีกว่า และในปี 2552 นี้มีแนวโน้มว่า กลุ่มประเทศ CLMV จะได้รับผลกระทบจากวิกฤตเศรษฐกิจน้อยกว่าประเทศอื่นในอาเซียนจึงน่าจะเป็นความหวังของภาคการส่งออกไทยในขณะนี้โดยเฉพาะสินค้าอุปโภคบริโภคและสินค้าขั้นกลาง ทั้งนี้ แม้ว่ากัมพูชา ลาว เมียนมาร์และเวียดนาม (CLMV) จะได้รับการขยายเวลาการยกเลิกภาษีตามข้อตกลงไปจนถึงวันที่ 1 มกราคม 2558 แต่มูลค่าการนำเข้าและการส่งออกระหว่างไทยกับกลุ่มCLMV ยังคงขยายตัวอย่างต่อเนื่อง และเมื่อกลุ่มประเทศ CLMV ยกเลิกภาษีในปี 2558 น่าจะทำให้การค้าของไทยกับอาเซียนขยายตัวได้เพิ่มขึ้น 5. เพิ่มอำนาจต่อรองของไทยและการขยายความร่วมมือกับประเทศนอกภูมิภาค อาเซียนวางเป้าหมายที่จะเชื่อมโยงการค้าการลงทุนกับนานาชาติเพื่อเข้าเป็นส่วนหนึ่งในระบบการค้าโลก โดยขยายความร่วมมือทางเศรษฐกิจให้กว้างขึ้นผ่านการลงนามในความตกลงการค้าเสรี (FTA) กับประเทศคู่เจรจานอกกลุ่มอาเซียน (ASEAN+1) อาทิ อาเซียน-ออสเตรเลีย-นิวซีแลนด์ อาเซียน-ญี่ปุ่น อาเซียน-เกาหลีใต้ อาเซียน-จีน อาเซียน-อินเดีย เป็น ซึ่งจะช่วยให้สินค้าและบริการของอาเซียนสามารถกระจายเข้าสู่ตลาดของประเทศคู่เจรจาเหล่านี้ได้มาก ซึ่งรวมถึงอุตสาหกรรมและสินค้าของไทยที่จะได้รับประโยชน์จากการลดอุปสรรคทางการค้าจากการลงนามในความตกลงกับประเทศคู่เจรจานอกอาเซียน ซึ่งจะทำให้สินค้าส่งออกของไทยสามารถเข้าสู่ตลาดเหล่านี้ได้มากขึ้นด้วย ผู้ประกอบการสามารถใช้สิทธิประโยชน์ภายเขตการค้าเสรีระหว่างอาเซียนกับประเทศคู่เจรจาต่างๆ ได้ ซึ่งขณะนี้ที่เจรจาแล้วเสร็จและสามารถขอรับสิทธิประโยชน์ได้แล้ว เช่น อาเซียน-จีน อาเซียน-ญี่ปุ่น และอาเซียน-เกาหลีใต้ (ตุลาคม 2552) และอาเซียน –ออสเตรเลีย-นิวซีแลนด์ (ต้นปี2553)

ยุทธศาสตร์การส่งเสริมการค้าการลงทุนด้านชายแดนและประเทศเพื่อนบ้าน ประโยชน์ ประเด็น/ปัญหา กลยุทธ์ แผนปฏิบัติการ ข้อจำกัดด่านการค้าชายแดนแออัด การพัฒนาด่านการค้าชายแดน ขยายเวลาการเปิด-ปิดจุดผ่านแดนถาวร - จัดตั้ง/ยกระดับจุดผ่านแดนถาวรแห่งใหม่ เพิ่มโอกาสและขีดความสามารถในการแข่งขันทางการค้า เชื่อมโยงฐานการผลิตและสิทธิประโยชน์ทางการค้าของประเทศเพื่อนบ้าน 2. การขยายการค้าและการลงทุนของไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน สร้างความสามารถในการแข่งขันสินค้าไทย เพื่อขยายตลาดการค้าเดิม หาตลาดใหม่และใช้สิทธิประโยชน์ทางการค้า จัดงานแสดงสินค้าไทย จัดคณะผู้แทนการค้าการลงทุนอุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานเข้มข้น ผู้ประกอบการการค้าชายแดนมีความรู้ความเข้าใจ โอกาศและสิทธิประโยชน์ 3. การพัฒนาศักยภาพของผู้ประกอบการด้านการค้าและการลงทุนด้านชายแดน - ให้ความรู้ / คำปรึกษาผู้ประกอบการ และพัฒนาผู้ประกอบการรุ่นใหม่ (Smart Exporters) เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการดำเนินการค้าสู่สากลมากยิ่งขึ้น 1. เพิ่มช่องทางการส่งออกของไทย การรวมตัวเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนจะทำให้ขนาดเศรษฐกิจของอาเซียนมีขนาดใหญ่เป็นลำดับ 3 ของโลกรองจากเขตการค้าเสรีอเมริกาเหนือและสหภาพยุโรป ในขณะที่ประเทศทั่วโลกต่างได้รับผลกระทบจากวิกฤตเศรษฐกิจอย่างมากโดยเฉพาะประเทศในกลุ่ม G 3 อย่างสหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป และญี่ปุ่น ที่ถือเป็นตลาดส่งออกหลักของไทย ดังนั้น การรวมตัวของอาเซียนในการลดภาษีและอุปสรรคทางการค้าที่มิใช่ภาษีจึงเป็นความหวังของผู้ส่งออก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การรวมตัวกันทำก่อให้เกิดตลาดขนาดใหญ่ซึ่งประกอบด้วยประชากรมากกว่า 560 ล้านคน รวมทั้งการผ่อนคลายกฎระเบียบและการอำนวยความสะดวกทางการค้าด้านต่างๆ เช่น การลด/ยกเลิกภาษีที่ที่เป็นภาษีและมิใช่ภาษี กฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า การอำนวยความสะดวกด้านการค้า ความร่วมมือด้านมาตรฐานสินค้า (MRA) ย่อมทำให้ผู้ส่งออกเกิดความมั่นใจและมีช่องทางในการส่งออกมากขึ้น การค้าของไทยกับอาเซียน ภาคการส่งออกของไทยได้ประโยชน์จากการเปิดเสรีทางการค้าภายใต้กรอบ AFTA มาตั้งแต่ปี 2536 ปัจจุบันอาเซียนเป็นตลาดส่งออกสินค้าอันดับ 1 ของไทยคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 22.5 ของมูลค่าการส่งออกทั้งหมด คาดว่า หลังจากที่ประเทศสมาชิกเดิม 6 ประเทศ(คือไทย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย สิงคโปร์และบรูไน) ยกเลิกภาษีสินค้าเกือบทั้งหมดในปี 2553 จะช่วยขยายมูลค่าการค้าระหว่างไทยกับอาเซียนมากขึ้น ทั้งนี้ มูลค่าการส่งออกของไทยเพิ่มขึ้นกว่าร้อยละ 20 ขณะที่การนำเข้าจะขยายตัวสูงกว่าร้อยละ 30 ในช่วงปี 2551-2558 สินค้าและบริการของไทยที่คาดว่าจะได้รับประโยชน์ กลุ่มสินค้าและบริการที่ผู้ประกอบการไทยค่อนข้างมีความได้เปรียบด้านการแข่งขันและอาจจะได้รับประโยชน์จากการลด/ยกเลิกภาษีของอาเซียน ได้แก่ ประเภทสินค้า เช่น สินค้าเกษตร ประมง ไม้ ยางพารา ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ประเภทบริการ เช่น ธุรกิจแฟรนไชส์ อาหาร โลจิสติกส์ สิ่งพิมพ์ บริการสุขภาพและธุรกิจรักษาพยาบาล ผู้ประกอบการสามารถใช้จากการลดภาษีภายใต้ AFTA สำหรับสินค้าที่อยู่ในความตกลง โดยสินค้าจะต้องมีแหล่งกำเนิดในอาเซียน (รายละเอียดเกี่ยวกับการลดภาษี และแหล่งกำเนิดสินค้าสามารถติดต่อสอบถามเพิ่มเติมจากกรมศุลกากรและกรมการค้าต่างประเทศ) 2. เพิ่มขีดความสามารถในการเป็นแหล่งดึงดูดการลงทุน การรวมตัวเป็นประชาคมอาเซียนจะช่วยดึงดูดความสนใจของนักลงทุนต่างชาติให้เข้ามาลงทุนในอาเซียน (รวมถึงไทย) มากขึ้น หลังจากที่นักลงทุนต่างชาติแห่แหนเข้าไปลงทุนในจีนและอินเดียเป็นจำนวนมาก การเปิดเสรีการลงทุนของอาเซียนที่ลด/ยกเลิกเงื่อนไขและกฎระเบียบด้านการลงทุนจะเปิดโอกาสให้นักลงทุนอาเซียนและนักลงทุนต่างชาติที่มีธุรกิจในประเทศอาเซียนสามารถเข้ามาลงทุนทางตรง (FDI) และลงทุนในหลักทรัพย์ (portfolio) ภายในประเทศอาเซียนได้สะดวกขึ้น ทั้งนี้ อาเซียนมีเป้าหมายที่จะเป็นฐานการผลิตในอุตสาหกรรมยานยนต์ อุตสาหกรรมปิโตรเคมีและอุตสาหกรรมเหล็กของโลก ซึ่งจะช่วยให้นักลงทุนอาเซียนและต่างชาติที่มีธุรกิจในอาเซียนเข้ามาลงทุนในประเทศไทยมากขึ้นโดยเฉพาะการลงทุนในภาคการผลิตที่ไทยมีความได้เปรียบสูงอย่างอุตสาหกรรมยานยนต์ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การเปิดเสรีด้านการลงทุนอาเซียนอาจจะเอื้อประโยชน์ให้กับนักลงทุนต่างชาติที่ตั้งฐานการผลิตในกลุ่มอาเซียนมาเป็นเวลานานอย่างญี่ปุ่น ที่กำลังอาศัยใช้ประโยชน์จากความตกลง FTA ของอาเซียนกับตลาดใหม่อย่างจีน อินเดีย ออสเตรเลีย-นิวซีแลนด์ในการเข้าไปตั้งฐานการผลิตในประเทศเหล่านี้ เห็นได้จากบริษัทรถยนต์ของญี่ปุ่นที่มีฐานการผลิตรถยนต์และชิ้นส่วนในอาเซียนมีแผนจะเข้าไปลงทุนในอินเดียโดยนำชิ้นส่วนจากอาเซียนเข้าไปประกอบรถยนต์ในอินเดีย เป็นต้น 3. ประโยชน์ด้านการท่องเที่ยว ความตกลงของอาเซียนที่ครอบคลุมถึงการเปิดเสรีภาคบริการ โดยเฉพาะด้านการท่องเที่ยวซึ่งมีวาระเร่งรัดผลักดันความร่วมมือด้านต่าง ๆ เพื่อให้การเดินทางท่องเที่ยวภายในภูมิภาค (Intra-ASEAN Travel and Tourism) มีความสะดวกรวดเร็วมากยิ่งขึ้น เช่น การเชื่อมโยงแหล่งท่องเที่ยวในภูมิภาคโดยเร่งพัฒนาเส้นทางคมนาคมและการขนส่ง การอำนวยความสะดวกในการข้ามพรมแดนของนักท่องเที่ยว รวมถึงการสร้างแรงจูงใจให้นักท่องเที่ยวอาเซียนหันมาเดินทางท่องเที่ยวในภูมิภาคมากขึ้น ปัจจัยเหล่านี้จะช่วยกระตุ้นให้อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวของไทยและอาเซียนขยายตัวเพิ่มขึ้นโดยเฉพาะในภาวะปัจจุบันที่นักท่องเที่ยวอาเซียนและต่างชาติได้รับ ผลกระทบจากวิกฤตเศรษฐกิจจึงปรับเปลี่ยนพฤติกรรมมาท่องเที่ยวในสถานที่ที่มีค่าใช้จ่ายไม่มากนัก นอกจากนี้ การเชื่อมโยงแหล่งท่องเที่ยวในภูมิภาคจะช่วยดึงดูดความสนใจของต่างชาติให้เข้ามาลงทุนในภาคการท่องเที่ยวของไทยมากขึ้น 4. ขยายโอกาสการส่งออกสินค้าไปยังประเทศเพื่อนบ้าน ได้แก่ กัมพูชา ลาว พม่า เวียดนาม (CLMV) แม้ว่าสิงคโปร์ มาเลเซียและอินโดนีเซีย จะเป็นตลาดส่งออกที่สำคัญของไทยในกลุ่มอาเซียน แต่ในปี 2551 ที่ผ่านมา การส่งออกสินค้าของไทยไปยังประเทศเพื่อนบ้านอย่างลาว เมียนมาร์ กัมพูชาและเวียดนาม (CLMV) ขยายตัวสูงถึงร้อยละ 30 สาเหตุส่วนหนึ่งมาจากการเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างรวดเร็วส่งผลให้ความต้องการสินค้าส่งออกจากไทยซึ่งมีพรมแดนติดต่อกันเพิ่มขึ้น อีกส่วนหนึ่งคือ ผู้บริโภคในประเทศเหล่านี้ ยอมรับในคุณภาพสินค้าของไทยเมื่อมีรายได้สูงขึ้นจึงปรับเปลี่ยนพฤติกรรมมาใช้สินค้าไทยซึ่งมีภาพลักษณ์ดีกว่า และในปี 2552 นี้มีแนวโน้มว่า กลุ่มประเทศ CLMV จะได้รับผลกระทบจากวิกฤตเศรษฐกิจน้อยกว่าประเทศอื่นในอาเซียนจึงน่าจะเป็นความหวังของภาคการส่งออกไทยในขณะนี้โดยเฉพาะสินค้าอุปโภคบริโภคและสินค้าขั้นกลาง ทั้งนี้ แม้ว่ากัมพูชา ลาว เมียนมาร์และเวียดนาม (CLMV) จะได้รับการขยายเวลาการยกเลิกภาษีตามข้อตกลงไปจนถึงวันที่ 1 มกราคม 2558 แต่มูลค่าการนำเข้าและการส่งออกระหว่างไทยกับกลุ่มCLMV ยังคงขยายตัวอย่างต่อเนื่อง และเมื่อกลุ่มประเทศ CLMV ยกเลิกภาษีในปี 2558 น่าจะทำให้การค้าของไทยกับอาเซียนขยายตัวได้เพิ่มขึ้น 5. เพิ่มอำนาจต่อรองของไทยและการขยายความร่วมมือกับประเทศนอกภูมิภาค อาเซียนวางเป้าหมายที่จะเชื่อมโยงการค้าการลงทุนกับนานาชาติเพื่อเข้าเป็นส่วนหนึ่งในระบบการค้าโลก โดยขยายความร่วมมือทางเศรษฐกิจให้กว้างขึ้นผ่านการลงนามในความตกลงการค้าเสรี (FTA) กับประเทศคู่เจรจานอกกลุ่มอาเซียน (ASEAN+1) อาทิ อาเซียน-ออสเตรเลีย-นิวซีแลนด์ อาเซียน-ญี่ปุ่น อาเซียน-เกาหลีใต้ อาเซียน-จีน อาเซียน-อินเดีย เป็น ซึ่งจะช่วยให้สินค้าและบริการของอาเซียนสามารถกระจายเข้าสู่ตลาดของประเทศคู่เจรจาเหล่านี้ได้มาก ซึ่งรวมถึงอุตสาหกรรมและสินค้าของไทยที่จะได้รับประโยชน์จากการลดอุปสรรคทางการค้าจากการลงนามในความตกลงกับประเทศคู่เจรจานอกอาเซียน ซึ่งจะทำให้สินค้าส่งออกของไทยสามารถเข้าสู่ตลาดเหล่านี้ได้มากขึ้นด้วย ผู้ประกอบการสามารถใช้สิทธิประโยชน์ภายเขตการค้าเสรีระหว่างอาเซียนกับประเทศคู่เจรจาต่างๆ ได้ ซึ่งขณะนี้ที่เจรจาแล้วเสร็จและสามารถขอรับสิทธิประโยชน์ได้แล้ว เช่น อาเซียน-จีน อาเซียน-ญี่ปุ่น และอาเซียน-เกาหลีใต้ (ตุลาคม 2552) และอาเซียน –ออสเตรเลีย-นิวซีแลนด์ (ต้นปี2553) มีระบบโลจิสติกส์ทางการค้าที่สนับสนุนการค้าชายแดนและการค้าผ่านแดนอย่างมีประสิทธิภาพ เร่งพัฒนาระบบโลจิสติกส์ และเส้นทางคมนาคม 4. การพัฒนาโลจิสติกส์และการอำนวยความสะดวกทางการค้า เจรจาแก้ไขปัญหาการขนส่งข้ามแดน และจัดตั้ง OSS และ SSI เพื่อแก้ไขปัญหาและอุปสรรคทางการค้าให้เกิดบรรยากาศเอื้อต่อการค้า การลงทุน การประชุมทวิภาคี /พหุภาคีภายใต้กรอบความร่วมมือ การส่งเสริม และขจัดอุปสรรคทางการค้า กฏระเบียบที่เป็นอุปสรรคต่อการค้าชายแดน 5. การพัฒนาด้านกฎระเบียบ

เครือข่ายเส้นทางคมนาคมไทย-ประเทศเพื่อนบ้าน ไทย-สหภาพพม่า-อินเดีย 1) แม่สอด-ผาอัน-ย่างกุ้ง-มัณฑะเลย์-ทามูระยะทาง 1,360 กม. ไทย-สหภาพพม่า-จีน 2) แม่สาย-เชียงตุง-ต้าหลั่ว ระยะทาง 248 กม. ไทย-สปป.ลาว-จีน 3) เชียงของ-หลวงน้ำทา-บ่อหานระยะทาง 254 กม. 4) ห้วยโกร๋น-ปากแบ่ง-บ่อหาน ระยะทาง 284 กม. ไทย-สปป.ลาว-เวียดนาม 5) บึงกาฬ-บอลิคำไซ-ฮาตินห์ ระยะทาง 240 กม. 6) นครพนม-คำม่วน-กว่างบินห์ ระยะทาง 230 กม. 7) มุกดาหาร-สะหวันนะเขต-ลาวบาวระยะทาง 210 กม. 8) อุบลราชธานี-จำปาสัก-ดั๊กโธ ระยะทาง 250 กม. ไทย-กัมพูชา-เวียดนาม 9) อรัญประเทศ-พนมเปญ-โฮจิมินห์ ระยะทาง 604 กม. 10) ตราด-สแรอัมปึล-ฮาเตียน ระยะทาง 236 กม. ไทย-มาเลเซีย-สิงคโปร์ 11) สะเดา-กัวลาลัมเปอร์-สิงคโปร์ระยะทาง 833 กม.

ความตกลงขนส่งสินค้าผ่านแดนในภูมิภาค 6 ฉบับ 1. บันทึกความเข้าใจระหว่างไทยกับมาเลเซียว่าด้วยการขนส่งสินค้าเน่าเสียง่ายผ่านแดนจากไทยผ่านแดนมาเลเซียไปยังสิงคโปร์ ลงนาม 24 ม.ค. 2522 ความตกลงว่าด้วยการขนส่งทางถนนระหว่างไทยกับ สปป.ลาว ลงนาม 5 มี.ค. 2542 กรอบความตกลงอาเซียนว่าด้วยการอำนวยความสะดวกในการขนส่งสินค้าผ่านแดน ลงนาม 16 ธ.ค. 2541 ความตกลงว่าด้วยการขนส่งข้ามพรมแดนในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง ลงนาม 26 พ.ย. 2542 MOUs เกี่ยวกับการเริ่มใช้ความตกลงว่าด้วยการขนส่งข้ามพรมแดนในอนุภูมิภาค ลุ่มแม่น้ำโขง 6. พระราชบัญญัติการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ พ.ศ. 2548

การลงทุนของไทยในประเทศเพื่อนบ้าน

ประเทศผู้ลงทุนรายใหญ่ในกลุ่มประเทศ CLMV หน่วย : ล้านเหรียญสหรัฐ

สัดส่วนการลงทุนของไทยใน CLMV รายประเทศ มูลค่า 20,887 ล้านเหรียญสหรัฐฯ

สหภาพพม่า : การลงทุนจากต่างประเทศ รายประเทศ(2531-ม.ค.2557) ลำดับที่ ประเทศ จำนวนโครงการ เงินลงทุน/ล้านเหรียญสหรัฐ 1 จีน 56 14,227.6 2 ไทย 70 9,995.1 3 ฮ่องกง 68 6,477.3 4 สิงคโปร์ 103 3,802.4 5 อังกฤษ 67 3,149.3 6 เกาหลีใต้ 86 3,047.3 7 มาเลเซีย 46 1,625.8 8 เวียดนาม 513.2 9 ฝรั่งเศส 474.4 10 อื่นๆ 149 1,925.4   รวม 655 45,237.8 ที่มา : MYANMAR INVESTMENT COMMISSION

สหภาพพม่า : การลงทุนจากต่างประเทศ รายสาขา(2531-ม. ค สหภาพพม่า : การลงทุนจากต่างประเทศ รายสาขา(2531-ม.ค.2557) มูลค่าการลงทุน 45,237.8 ล้านเหรียญสหรัฐ ที่มา : MYANMAR INVESTMENT COMMISSION

เวียดนาม : การลงทุนจากต่างประเทศ รายประเทศ(2532-มค.2557) ลำดับที่ ประเทศ จำนวนโครงการ เงินลงทุน/ล้านเหรียญสหรัฐ 1 ญี่ปุ่น 1,849 28,699.6 2 ไต้หวัน 2,234 27,129.1 3 สิงคโปร์ 1,119 24,875.3 4 เกาหลีใต้ 3,197 24,816.0 5 British Virgin 510 15,386.4 6 ฮ่องกง 705 11,966.7 7 สหรัฐ 648 10,507.2 8 มาเลเซีย 435 1,0196.4 9 ไทย 298 6,063.7 10 อื่นๆ 2,978 46,978.7   รวม 14,522 210,521.6 ที่มา : Foreign Investment Agency Ministry of Planning & Investment

เวียดนาม : การลงทุนจากต่างประเทศ รายสาขา(2531-ม. ค เวียดนาม : การลงทุนจากต่างประเทศ รายสาขา(2531-ม.ค.2557) มูลค่าการลงทุน 210,521.6 ล้านเหรียญสหรัฐ ที่มา : Foreign Investment Agency Ministry of Planning & Investment

กัมพูชา : การลงทุนจากต่างประเทศ รายประเทศ(2537-ก.ย.2554) ลำดับที่ ประเทศ เงินลงทุน/ล้านเหรียญสหรัฐ 1 จีน 8,866 2 เกาหลีใต้ 4,207 3 มาเลเซีย 2,609 4 อังกฤษ 2,378 5 สหรัฐ 1,285 6 ไต้หวัน 827 7 เวียดนาม 812 8 ไทย 746 9 สิงคโปร์ 636 10 อื่นๆ 841   รวม 23,027 ที่มา : CAMBODIA INVESTMENT BOARD

กัมพูชา : การลงทุนจากต่างประเทศ รายสาขา(2537-ก. ย กัมพูชา : การลงทุนจากต่างประเทศ รายสาขา(2537-ก.ย.2554) มูลค่าการลงทุน 23,027 ล้านเหรียญสหรัฐ ที่มา : CAMBODIA INVESTMENT BOARD

สปป.ลาว : การลงทุนจากต่างประเทศ รายประเทศ(2531-2555) ลำดับที่ ประเทศ จำนวนโครงการ เงินลงทุน/ล้านเหรียญสหรัฐ 1 เวียดนาม 429 4,913 2 ไทย 742 4,082 3 จีน 801 3,952 4 เกาหลีใต้ 287 748 5 ฝรั่งเศส 224 490 6 มาเลเซีย 99 430 7 ญี่ปุ่น 104 428 8 อินเดีย 21 161 9 สหรัฐ 113 150 10 อื่นๆ 227 6,597   รวม 3,097 21,951 ที่มา : กรมส่งเสริมและคุ้มครองการลงทุนภายในและต่างประเทศ สปป.ลาว

สปป.ลาว: การลงทุนจากต่างประเทศ รายสาขา(2531-2555) มูลค่าการลงทุน 21,951 ล้านเหรียญสหรัฐ ที่มา :กรมส่งเสริมและคุ้มครองการลงทุนภายในและต่างประเทศ สปป.ลาว

การจัดงานคณะผู้แทนการค้า การลงทุนไทยเยือนประเทศอาเซียน ลำดับ กำหนดการ เมือง/ประเทศ หน่วยงาน 1 15-18 ธค. 57 สิงขร-มะริด/เมียนมา(สำรวจเส้นทาง) สค. 2 มค. 58 นครโฮจิมินห์/เวียดนาม(วัสดุก่อสร้าง) 3 ลาว/จีน(สำรวจเส้นทาง R 3A) พค. 4 กพ. 58 กรุงพนมเปญ/กัมพูชา(รถบรรทุกและชิ้นส่วน) 5 กัมพูชา(ธุรกิจแฟรนไชส์) 6 มีค. 58 กรุงฮานอย/เวียดนาม(อะไหล่ยานยนต์) คต. 7 นครหลวงเวียงจันทน์/ลาว(สุขภาพ,สปา)) 8 กัมพูชา/เวียดนาม(สำรวจเส้นทาง R 10) ที่มา : กรมการค้าต่างประเทศ, กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า

การจัดงานคณะผู้แทนการค้า การลงทุนไทยเยือนประเทศอาเซียน ลำดับ กำหนดการ เมือง/ประเทศ หน่วยงาน 9 พค. 58 กรุงพนมเปญ/กัมพูชา (เครื่องสำอาง) คต. 10 เมียนมา(ธุรกิจแฟรนไชส์) พค. 11 มิย. 58 มัณฑะเลย์/เมียนมา(สินค้าอุปโภค บริโภค) 12 หนานหนิง/จีน(ผลไม้) 13 เมียนมา(สำรวจอัญมณี) สค. 14 กค. 58 กรุงพนมเปญ/กัมพูชา (เครื่องใช้ไฟฟ้า) 15 สค. 58 กัวลาลัมเปอร์/มาเลเซีย (อิเล็กทรอนิกส์,ยาง) 16 เวียดนาม(ธุรกิจแฟรนไชส์) ที่มา : กรมการค้าต่างประเทศ, กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า