งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ประชาคมอาเซียน(ASEAN Community)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ประชาคมอาเซียน(ASEAN Community)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แนวทางการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ อนุภูมิภาคสู่อาเซียน กองความร่วมมือการค้าและการลงทุน กรมการค้าต่างประเทศ

2 ประชาคมอาเซียน(ASEAN Community)
ปี 2558 (2015) กฎบัตรอาเซียน ประชาคม เศรษฐกิจ อาเซียน (AEC) ASEAN Charter ประชาคม ความมั่นคง อาเซียน (ASC) พิมพ์เขียว AEC AEC Blueprint ประชาคม สังคม-วัฒนธรรม อาเซียน (ASCC) ยกเว้นภาษีนำเข้าภายใต้ ATIGA สินค้า 8,300 รายการ

3 AEC ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ( ASEAN Economic Community: AEC )
1. เป็นตลาดและฐานการผลิตร่วม สร้างเสริมขีดความสามารถแข่งขัน e-ASEAN (พาณิชย์อิเลคทรอนิกส์) สินค้าเคลื่อนย้ายได้อย่างเสรี AEC นโยบายภาษี ทำธุรกิจบริการได้อย่างเสรี นโยบายการแข่งขัน ไปลงทุนได้อย่างเสรี สิทธิทรัพย์สินทางปัญญา แรงงานมีฝีมือไปทำงานได้อย่างเสรี การคุ้มครองผู้บริโภค เงินทุนเคลื่อนย้ายได้อย่างเสรีมากขึ้น ปี 2558 (2015) พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน 3. การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค 4. การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก ลดช่องว่างการพัฒนาระหว่างสมาชิก ปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจ สร้างเครือข่ายการผลิต จำหน่าย สนับสนุนการพัฒนาวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อม SMEs จัดทำ FTA กับประเทศนอกอาเซียน

4 สมรรถนะหลักอาชีพด้านการท่องเที่ยว 32 ตำแหน่งงาน
เปิดเสรีธุรกิจบริการจำนวน 12 สาขาหลัก ให้อาเซียนสามารถเข้ามาถือหุ้นได้ ร้อยละ 70 ลงนาม MRA สมรรถนะหลักอาชีพด้านการท่องเที่ยว 32 ตำแหน่งงาน

5 70% 51% 70% 70% 51% แผนงานในพิมพ์เขียว AEC เคลื่อนย้ายบริการเสรี
อนุญาตให้ผู้ประกอบกิจการบริการของอาเซียน ไปทำธุรกิจ โดยถือหุ้นได้อย่างน้อยถึง 70 % โดยมีลำดับดำเนินการ คือ ปี 2553 70% ปี 2556 70% 70% ปี 2558 สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) / สุขภาพ / ท่องเที่ยว / การขนส่งทางอากาศ 2551(2008)2553(2010)2556(2013)2558(2015)สัดส่วนถือหุ้นของอาเซียนในสาขา PIS*4 สาขา(ICT, สุขภาพ, ท่องเที่ยว, การบิน)ไม่น้อยกว่า51%ไม่น้อยกว่า70%PIS เพิ่มสาขา โลจิสติกส์ 49%51%70%สาขาอื่นๆ49%51%-70% โลจิสติกส์ 51% สาขาอื่นๆ ที่เหลือทั้งหมด 51% 5 5 5

6 ธุรกิจบริการ (จำแนกโดย WTO)
บริการสื่อสาร และโทรคมนาคม บริการนันทนาการ บริการการศึกษา บริการการเงิน บริการวิชาชีพ วิศวกรรม สถาปนิก กฎหมาย บริการท่องเที่ยว บริการขนส่ง การค้าบริการในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา มีการเจริญเติบโตค่อนข้างมาก ทั้งมูลค่าตลาด จำนวนผู้ประกอบการ และประเภทธุรกิจ ในแต่ละสาขาบริการได้มีการแตกกิจกรรมย่อยออกไปอีกหลากหลายมากขึ้น อย่างไรก็ตาม ในการเจรจาเพื่อเปิดตลาดการค้าบริการระหว่างกันจำเป็นต้องมีความชัดเจนในสาขาบริการต่าง ๆ ดังนั้น เพื่อให้เกิดความเข้าใจที่ตรงกันในระหว่างประเทศสมาชิก WTO จึงได้กำหนดสาขาบริการออกเป็น 12 สาขา ซึ่งในแต่ละสาขายังจำแนกออกเป็นสาขาย่อยหรือกิจกรรมต่าง ๆ ลงไปอีกโดยให้สอดคล้องกับที่ United Nation (U.N.) กำหนดตาม Provisional Central Product Classification (CPC) บริการขนส่งเป็นสาขาที่ครอบคลุมธุรกิจบริการอย่างกว้างขวาง ครอบคลุมทั้งการขนส่งทางน้ำระหว่างประเทศ ในประเทศ บก อากาศ (อวกาศ และอื่น ๆ) ซึ่งมีลักษณะเฉพาะแตกต่างกันไป สำหรับในอาเซียน ประเทศสมาชิกได้ตกลงกันให้ธุรกิจบริการโลจีสติกส์เป็น 1 ในสาขาเร่งรัดการรวมกลุ่ม หรือ PIS เป็นสาขาบริการที่บูรณาการบริการหลายสาขาไว้ด้วยกัน เช่น บริการขนส่ง สื่อสาร จัดจำหน่าย และบริการธุรกิจ ในปัจจุบัน แม้แต่ภายใต้ WTO ก็ยังไม่ได้กำหนดขอบเขตของบริการนี้ที่แน่นอน ทั้งนี้ ในปัจจุบันยังอยู่ระหว่างการปรับปรุงรายการให้ครอบคลุมสาขา/กิจกรรมย่อยให้มากขึ้น บริการก่อสร้าง บริการจัดจำหน่าย บริการสิ่งแวดล้อม บริการสุขภาพ

7 “ภาคบริการ” VS “การลงทุน” ในความตกลงการค้าเสรีอาเซียน
7 ภ ภาคบริการ(ถือหุ้น51-70%) บริการด้านธุรกิจ/วิชาชีพ ( แพทย์ วิศวกร ทนายความ นักบัญชี ฯลฯ) 2. บริการด้านสื่อสาร/ โทรคมนาคม 3. บริการด้านการก่อสร้าง 4. บริการด้านการจัดจำหน่าย 5. บริการด้านการศึกษา 6. บริการด้านสิ่งแวดล้อม 7. บริการด้านการเงิน 8. บริการด้านสุขภาพ 9. บริการด้านการท่องเที่ยว บริการด้านนันทนาการ บริการด้านการขนส่ง 12. บริการอื่นๆ ภาคการลงทุน(ถือหุ้น49%) 1. การเกษตร 2. การประมง 3. ป่าไม้ 4. เหมืองแร่ 5. ภาคการผลิต(อุตสาหกรรม) และธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องกับ 5 สาขา ต้องปฏิบัติกับนักลงทุนอาเซียนเช่นเดียวกับนักลงทุนตนเอง เปิดเสรี คุ้มครองการลงทุน ส่งเสริมการลงทุน อำนวยความสะดวกการลงทุน 7

8 ความสามารถในการแข่งขันของประเทศสมาชิกอาเซียน
ใน The Global Competitiveness Index ranking ประเทศ สิงคโปร์ 2 มาเลเซีย 21 25 24 20 ไทย 39 38 37 31 อินโดนีเซีย 46 50 34 ฟิลิปปินส์ 65 59 52 เวียดนาม 75 70 68 ลาว n.a. 81 93 กัมพูชา 97 85 88 95 พม่า 139 134 บรูไน 146 ที่มา : World Economic Forum

9 ศักยภาพของไทยในภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้
ศูนย์กลางการคมนาคมขนส่งทางบก ศูนย์กลางของความร่วมมือทางเศรษฐกิจในภูมิภาค BIMSTEC ASEAN IMT-GT GMS ACMECS R9 1.ศักยภาพของไทยในอาเซียตะวันออกเฉียงใต้ Ministry of Commerce

10 กรอบความร่วมมือต่างๆ ที่ส่งเสริมการค้าชายแดนและผ่านแดน
ให้สามารถใช้ประโยชน์จาก AEC ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตลาดขนาดใหญ่ ความริเริ่มแห่งอ่าวเบงกอลสำหรับความร่วมมือหลากหลายสาขาทางวิชาการและเศรษฐกิจ (Bay of Bengal Initiative Multi-Sectoral Technical and Economic Cooperation BIMS-TEC) ประกอบด้วย  บังคลาเทศ ศรีลังกา อินเดีย ไทย เมียนมาร์ เนปาล ภูฎาน โครงการพัฒนาความร่วมมือทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง (Greater Mekong Sub region: GMS) ประกอบด้วย กัมพูชา สปป.ลาว เมียนมาร์ ไทย เวียดนาม จีนตอนใต้ โครงการความร่วมมือเขตเศรษฐกิจสามฝ่าย อินโดนีเซีย-มาเลเซีย-ไทย (Indonesia-Malaysia-Thailand Growth Triangle:IMT-GT) ประกอบด้วย อินโดนีเซีย มาเลเซีย ไทย ยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ อิรวดี เจ้าพระยา แม่โขง Aeyawadee-Chaopraya-Mekong Economic Cooperation: ACMECS) ประกอบด้วย ไทย เมียนมาร์ สปป.ลาว กัมพูชา เวียดนาม  15/2/2013

11 สถิติการค้าต่างประเทศของอาเซียน
หน่วย : ล้านเหรียญสหรัฐ ประเทศ 2555 2556 ส่งออก นำเข้า ดุลการค้า สิงคโปร์ 409,772 380,987 28,785 410,250 373,016 37,234 ไทย 229,524 247,778 -18,254 228,730 249,517 -20,787 มาเลเซีย 227,387 196,615 30,772 228,276 205,985 22,290 อินโดนีเซีย 190,032 191,689 -1,657 182,552 186,629 -4,077 เวียดนาม 114,511 113,282 1,229 132,664 132,110 554 ฟิลิปปินส์ 51,995 65,386 -13,391 53,978 65,131 -11,153 บรูไน 13,182 3,674 9,508 11,445 3,612 7,833 พม่า 7,510 6,526 984 11,,436 12,009 -573 กัมพูชา 7,435 11,229 -3,794 9,148 9,176 -28 ลาว 2,655 3,503 -848 2,583 3,292 -709 รวม 1,254,003 1,220,670 33,333 1,271,073 1,240,476 30,597 ที่มา : สำนักงานเลขาธิการ ASEANรอาเซียน

12 สถิติการค้าภายในระหว่างประเทศอาเซียน
หน่วย : ล้านเหรียญสหรัฐ ประเทศ 2555 2556 ส่งออก นำเข้า ดุลการค้า สิงคโปร์ 130,235 80,087 50,148 128,787 77,885 50,902 มาเลเซีย 60,952 55,078 5,874 64,043 55,063 8,980 ไทย 56,499 40,349 16,150 59,320 44,348 14,972 อินโดนีเซีย 41,831 53,823 - 11,992 40,631 54,031 -13,400 เวียดนาม 17,446 20,875 - 3,429 18,179 21,353 -3,174 ฟิลิปปินส์ 9,804 14,954 - 5,150 8,615 14,171 -5,556 พม่า 2,639 2,879 -240 5,625 4,244 1,381 บรูไน 1,737 1,603 134 2,644 1,844 800 กัมพูชา 1,170 1,167 3 1,301 2,818 -1,517 ลาว 990 4,152 -3,162 1,234 2,495 -1,261 รวม 323,306 274,968 48,338 330,379 278,253 52,126 ที่มา : สำนักงานเลขาธิการ ASEANรอาเซียน

13

14 อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของอาเซียน ปี 2556-2558
ที่มา : IMF

15 สถิติการลงทุนต่างประเทศในอาเซียน ปี 2555-2557
มูลค่า : ล้านเหรียญสหรัฐฯ ที่มา : ASEAN sec

16 จุดผ่านแดนทางการค้าไทย - ประเทศเพื่อนบ้าน
จังหวัด จุดผ่านแดนถาวร* จุดผ่านแดนชั่วคราว* จุดผ่อนปรน* รวม กัมพูชา ลาว เมียนมาร์ มาเลเซีย 6 19 5 9 - 1 11 29 14 17 48 20 39 54 94

17 จุดผ่านแดนทางการค้าไทยด้านมาเลเซีย
จังหวัด จุดผ่านแดนถาวร จุดผ่านแดนชั่วคราว จุดผ่อนปรน รวม ยะลา นราธิวาส สงขลา สตูล 1 3 2 - 9

18 จุดผ่านแดนทางการค้าไทยด้านสหภาพพม่า
จังหวัด จุดผ่านแดนถาวร จุดผ่านแดนชั่วคราว จุดผ่อนปรน รวม เชียงราย เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน ตาก กาญจนบุรี ประจวบฯ ระนอง 2 - 1 5 7 14 20

19 สถิติการค้าระหว่างประเทศของไทย สถิติการค้าชายแดนของไทย

20 มาเลเซีย พื้นที่ : 329,847 ตารางกิโลเมตร ประชากร : 30.07 ล้านคน
พื้นที่ : 329,847 ตารางกิโลเมตร ประชากร : ล้านคน ส่งออก :มูลค่า พันล้าน USD (1) สิงคโปร์13.6%(2) จีน12.6%(3) ญี่ปุ่น 11.8 %(4)สหรัฐฯ 8.7 % (5) ไทย 5.4 % สินค้าส่งออก :สินค้าอีเล็กทรอนิกส์ น้ำมันปาลม์ น้ำมันดิบ ก๊าซธรรมชาติ ไม้ นำเข้า : มูลค่า พันล้าน USD (1)จีน15.1 %(2) สิงคโปร์13.3 %(3) ญี่ปุ่น 10.3% (4) สหรัฐฯ 8.1 % (5) ไทย 6.0%สินค้านำเข้า : สินค้าอีเล็กทรอนิกส์ เครื่องจักร น้ำมันเชื้อเพลิง พลาสติก ยานยนต์

21 เปรียบเทียบการค้าทวิภาคีกับการค้าชายแดนไทย-มาเลเซีย
สถิติการค้าระหว่างไทย-มาเลซีย สถิติการค้าชายแดนไทย - มาเลเซีย ล้านบาท ล้านบาท ความสามารถในการแข่งขันทางการค้าชายแดนของไทย การค้าชายแดนเป็นรูปแบบการค้าที่ประเทศไทยมีความสามารถในการแข่งขันสูง โดยมีปัจจัยที่สนับสนุน ได้แก่ 1) เป็นการค้าข้ามพรมแดนซึ่งมีต้นทุนค่าขนส่งต่ำ 2) ประชาชนในประเทศเพื่อนบ้านนิยมบริโภคสินค้าไทยเนื่องจากเห็นว่าสินค้าไทยเป็นสินค้าที่มีคุณภาพ 3) รสนิยมการบริโภคของประชาชนในประเทศเพื่อนบ้านคล้ายคลึงกับคนไทยเนื่องจากได้รับอิทธิพล จากสื่อของไทย ดังจะเห็นได้ว่ามูลค่าการค้าชายแดนของไทยได้เปรียบดุลการค้าทุกปี โดยเฉลี่ยปีละประมาณ 200,000 ล้านบาท และมีอัตราเติบโตย้อนหลัง 5 ปี ( ) เฉลี่ยปีละ 6% เมื่อเทียบกับการค้าระหว่างไทยกับทั่วโลก ซึ่งในปี 2556 ไทยขาดดุลการค้าสูงถึง 747,604 ล้านบาท สำหรับในปี 2557 กระทรวงพาณิชย์ได้ตั้งเป้าหมายการค้าชายแดนรวม 1.05 ล้านล้านบาท เพิ่มขึ้น % ดังนั้นหากการค้าชายแดนได้รับการสนับสนุนจากทั้งภาครัฐและภาคเอกชนอย่างเต็มที่ก็จะช่วยเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันและเพิ่มมูลค่าการค้าได้มากขึ้น

22 สินค้าส่งออก สินค้านำเข้า .
สินค้าส่งออกและนำเข้า การค้าชายแดนไทย-มาเลเซีย สินค้าส่งออก สินค้านำเข้า . ยางพารา ,325 ล้านบาท เครื่องคอมพิวเตอร์ 25,851 ล้านบาท ผลิตภัณฑ์ยาง ,420 ล้านบาท ไม้ยางพารา ,820 ล้านบาท รถยนตร์และอะไหล่ 9,381 ล้านบาท สื่อบันทึกข้อมูล ภาพ เสียง 23,557 ล้านบาท เทปและจานแม่เหล็ก ,536 ล้านบาท เครื่องคอมพิวเตอร์ ,280 ล้านบาท ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ 18,417 ล้านบาท เครื่องจักรอุตสาหกรรม ,648 ล้านบาท

23 สัดส่วนการค้าชายแดนของไทยกับมาเลเซีย(รายจังหวัด) ปี 2557 มูลค่า 507,655.46 ล้านบาท

24 เมียนมา พื้นที่ : 676,578 ตารางกิโลเมตร ประชากร : 51.74 ล้านคน
ส่งออก : มูลค่า พันล้าน USD (1) ไทย 40.7% (2) อินเดีย 14.8% (3) จีน 14.3% (4) ญี่ปุ่น 7.4% สินค้าส่งออก : ก๊าซธรรมชาติ ไม้ ถั่ว ข้าว สัตว์น้ำ อัญมณี นำเข้า : มูลค่า พันล้าน USD (1) จีน 36.9% (2) ไทย 20.2% (3) สิงคโปร์ 8.7% (4) เกาหลีใต้ % (5) ญี่ปุ่น 8.2% สินค้านำเข้า : ผ้าผืน น้ำมันเชื้อเพลิง พลาสติก ปุ๋ย ยานยนต์

25 เปรียบเทียบการค้าทวิภาคีกับการค้าชายแดนไทย-เมียนมา
สถิติการค้าระหว่างไทย-เมียนมา สถิติการค้าชายแดนไทย - เมียนมา ล้านบาท ล้านบาท ความสามารถในการแข่งขันทางการค้าชายแดนของไทย การค้าชายแดนเป็นรูปแบบการค้าที่ประเทศไทยมีความสามารถในการแข่งขันสูง โดยมีปัจจัยที่สนับสนุน ได้แก่ 1) เป็นการค้าข้ามพรมแดนซึ่งมีต้นทุนค่าขนส่งต่ำ 2) ประชาชนในประเทศเพื่อนบ้านนิยมบริโภคสินค้าไทยเนื่องจากเห็นว่าสินค้าไทยเป็นสินค้าที่มีคุณภาพ 3) รสนิยมการบริโภคของประชาชนในประเทศเพื่อนบ้านคล้ายคลึงกับคนไทยเนื่องจากได้รับอิทธิพล จากสื่อของไทย ดังจะเห็นได้ว่ามูลค่าการค้าชายแดนของไทยได้เปรียบดุลการค้าทุกปี โดยเฉลี่ยปีละประมาณ 200,000 ล้านบาท และมีอัตราเติบโตย้อนหลัง 5 ปี ( ) เฉลี่ยปีละ 6% เมื่อเทียบกับการค้าระหว่างไทยกับทั่วโลก ซึ่งในปี 2556 ไทยขาดดุลการค้าสูงถึง 747,604 ล้านบาท สำหรับในปี 2557 กระทรวงพาณิชย์ได้ตั้งเป้าหมายการค้าชายแดนรวม 1.05 ล้านล้านบาท เพิ่มขึ้น % ดังนั้นหากการค้าชายแดนได้รับการสนับสนุนจากทั้งภาครัฐและภาคเอกชนอย่างเต็มที่ก็จะช่วยเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันและเพิ่มมูลค่าการค้าได้มากขึ้น

26 สินค้าส่งออก สินค้านำเข้า
สินค้าส่งออกและนำเข้า การค้าชายแดนไทย-พม่า สินค้าส่งออก สินค้านำเข้า ก๊าซธรรมชาติ ,003 ล้านบาท โค กระบือ ,672 ล้านบาท ไม้ ล้านบาท สัตว์น้ำ ล้านบาท พืชน้ำมัน ล้านบาท น้ำมันดีเซล ,011 ล้านบาท เครื่องดื่มมีแอลกอฮอลล์ 6,874 ล้านบาท น้ำมันเบนซิน ,524 ล้านบาท เครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอลล์ 4,445 ล้านบาท ผ้าผืนและด้าย ,376 ล้านบาท

27 สัดส่วนการค้าชายแดนไทยกับเมียนมา(รายจังหวัด)ปี 2557
มูลค่า 214, ล้านบาท

28 สินค้าไทย ในพม่า

29

30 การค้าผ่านแดนไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน ปี 2557
มูลค่ารวม : 155,533 ส่งออก : 68,378 นำเข้า : 87,155 ดุลการค้า : -18,776 จีนตอนใต้ เวียดนาม มูลค่ารวม : 47,141 ส่งออก : 21,913 นำเข้า : 25,228 ดุลการค้า : -3,315 มูลค่ารวม : 45 , 218 ส่งออก : 21 , 121 นำเข้า : 24, 097 ดุลการค้า : -2,976 สิงคโปร์ มูลค่ารวม : 63,174 ส่งออก : 25,344 นำเข้า : 37,829 ดุลการค้า : -12,485

31 สัดส่วนการค้าผ่านแดนของไทยปี 2557 มูลค่า 155,533.37 ล้านบาท
สัดส่วนการค้าผ่านแดนของไทยปี มูลค่า 155, ล้านบาท

32 เปรียบเทียบการค้าทวิภาคีกับการค้าผ่านแดนไทย-จีน
สถิติการค้าระหว่างไทย-จีน สถิติการค้าผ่านแดนไทย - จีน ล้านบาท ล้านบาท ความสามารถในการแข่งขันทางการค้าชายแดนของไทย การค้าชายแดนเป็นรูปแบบการค้าที่ประเทศไทยมีความสามารถในการแข่งขันสูง โดยมีปัจจัยที่สนับสนุน ได้แก่ 1) เป็นการค้าข้ามพรมแดนซึ่งมีต้นทุนค่าขนส่งต่ำ 2) ประชาชนในประเทศเพื่อนบ้านนิยมบริโภคสินค้าไทยเนื่องจากเห็นว่าสินค้าไทยเป็นสินค้าที่มีคุณภาพ 3) รสนิยมการบริโภคของประชาชนในประเทศเพื่อนบ้านคล้ายคลึงกับคนไทยเนื่องจากได้รับอิทธิพล จากสื่อของไทย ดังจะเห็นได้ว่ามูลค่าการค้าชายแดนของไทยได้เปรียบดุลการค้าทุกปี โดยเฉลี่ยปีละประมาณ 200,000 ล้านบาท และมีอัตราเติบโตย้อนหลัง 5 ปี ( ) เฉลี่ยปีละ 6% เมื่อเทียบกับการค้าระหว่างไทยกับทั่วโลก ซึ่งในปี 2556 ไทยขาดดุลการค้าสูงถึง 747,604 ล้านบาท สำหรับในปี 2557 กระทรวงพาณิชย์ได้ตั้งเป้าหมายการค้าชายแดนรวม 1.05 ล้านล้านบาท เพิ่มขึ้น % ดังนั้นหากการค้าชายแดนได้รับการสนับสนุนจากทั้งภาครัฐและภาคเอกชนอย่างเต็มที่ก็จะช่วยเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันและเพิ่มมูลค่าการค้าได้มากขึ้น

33 สัดส่วนการค้าชายแดนไทย – จีน(รายจังหวัด) ปี 2557
มูลค่า 45, ล้านบาท

34 เปรียบเทียบการค้าทวิภาคีกับการค้าผ่านแดนไทย-เวียดนาม
สถิติการค้าระหว่างไทย-เวียดนาม สถิติการค้าชายแดนไทย - เวียดนาม ล้านบาท ล้านบาท ความสามารถในการแข่งขันทางการค้าชายแดนของไทย การค้าชายแดนเป็นรูปแบบการค้าที่ประเทศไทยมีความสามารถในการแข่งขันสูง โดยมีปัจจัยที่สนับสนุน ได้แก่ 1) เป็นการค้าข้ามพรมแดนซึ่งมีต้นทุนค่าขนส่งต่ำ 2) ประชาชนในประเทศเพื่อนบ้านนิยมบริโภคสินค้าไทยเนื่องจากเห็นว่าสินค้าไทยเป็นสินค้าที่มีคุณภาพ 3) รสนิยมการบริโภคของประชาชนในประเทศเพื่อนบ้านคล้ายคลึงกับคนไทยเนื่องจากได้รับอิทธิพล จากสื่อของไทย ดังจะเห็นได้ว่ามูลค่าการค้าชายแดนของไทยได้เปรียบดุลการค้าทุกปี โดยเฉลี่ยปีละประมาณ 200,000 ล้านบาท และมีอัตราเติบโตย้อนหลัง 5 ปี ( ) เฉลี่ยปีละ 6% เมื่อเทียบกับการค้าระหว่างไทยกับทั่วโลก ซึ่งในปี 2556 ไทยขาดดุลการค้าสูงถึง 747,604 ล้านบาท สำหรับในปี 2557 กระทรวงพาณิชย์ได้ตั้งเป้าหมายการค้าชายแดนรวม 1.05 ล้านล้านบาท เพิ่มขึ้น % ดังนั้นหากการค้าชายแดนได้รับการสนับสนุนจากทั้งภาครัฐและภาคเอกชนอย่างเต็มที่ก็จะช่วยเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันและเพิ่มมูลค่าการค้าได้มากขึ้น

35 มูลค่าการค้าผ่านแดนไทย - เวียดนาม (รายจังหวัด) ปี 2557 รวมทั้งหมด 47,141.06 ล้านบาท

36 เปรียบเทียบการค้าทวิภาคีกับการค้าผ่านแดนไทย-สิงคโปร์
สถิติการค้าระหว่างไทย-สิงคโปร์ สถิติการค้าชายแดนไทย - สิงคโปร์ ล้านบาท ล้านบาท ความสามารถในการแข่งขันทางการค้าชายแดนของไทย การค้าชายแดนเป็นรูปแบบการค้าที่ประเทศไทยมีความสามารถในการแข่งขันสูง โดยมีปัจจัยที่สนับสนุน ได้แก่ 1) เป็นการค้าข้ามพรมแดนซึ่งมีต้นทุนค่าขนส่งต่ำ 2) ประชาชนในประเทศเพื่อนบ้านนิยมบริโภคสินค้าไทยเนื่องจากเห็นว่าสินค้าไทยเป็นสินค้าที่มีคุณภาพ 3) รสนิยมการบริโภคของประชาชนในประเทศเพื่อนบ้านคล้ายคลึงกับคนไทยเนื่องจากได้รับอิทธิพล จากสื่อของไทย ดังจะเห็นได้ว่ามูลค่าการค้าชายแดนของไทยได้เปรียบดุลการค้าทุกปี โดยเฉลี่ยปีละประมาณ 200,000 ล้านบาท และมีอัตราเติบโตย้อนหลัง 5 ปี ( ) เฉลี่ยปีละ 6% เมื่อเทียบกับการค้าระหว่างไทยกับทั่วโลก ซึ่งในปี 2556 ไทยขาดดุลการค้าสูงถึง 747,604 ล้านบาท สำหรับในปี 2557 กระทรวงพาณิชย์ได้ตั้งเป้าหมายการค้าชายแดนรวม 1.05 ล้านล้านบาท เพิ่มขึ้น % ดังนั้นหากการค้าชายแดนได้รับการสนับสนุนจากทั้งภาครัฐและภาคเอกชนอย่างเต็มที่ก็จะช่วยเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันและเพิ่มมูลค่าการค้าได้มากขึ้น

37 มูลค่าการค้าผ่านแดนไทย- สิงคโปร์ (รายจังหวัด) ปี 2557 รวมทั้งหมด 63,174.02 ล้านบาท

38 เครือข่ายเส้นทางคมนาคมไทย-ประเทศเพื่อนบ้าน
ไทย-สหภาพพม่า-อินเดีย 1) แม่สอด-ผาอัน-ย่างกุ้ง-มัณฑะเลย์-ทามูระยะทาง 1,360 กม. ไทย-สหภาพพม่า-จีน ) แม่สาย-เชียงตุง-ต้าหลั่ว ระยะทาง กม. ไทย-สปป.ลาว-จีน ) เชียงของ-หลวงน้ำทา-บ่อหานระยะทาง กม. 4) ห้วยโกร๋น-ปากแบ่ง-บ่อหาน ระยะทาง กม. ไทย-สปป.ลาว-เวียดนาม 5) บึงกาฬ-บอลิคำไซ-ฮาตินห์ ระยะทาง กม. 6) นครพนม-คำม่วน-กว่างบินห์ ระยะทาง กม. 7) มุกดาหาร-สะหวันนะเขต-ลาวบาวระยะทาง 210 กม. 8) อุบลราชธานี-จำปาสัก-ดั๊กโธ ระยะทาง กม. ไทย-กัมพูชา-เวียดนาม 9) อรัญประเทศ-พนมเปญ-โฮจิมินห์ ระยะทาง 604 กม. 10) ตราด-สแรอัมปึล-ฮาเตียน ระยะทาง กม. ไทย-มาเลเซีย-สิงคโปร์ 11) สะเดา-กัวลาลัมเปอร์-สิงคโปร์ระยะทาง กม.

39 แนวทางปฎิบัติการขนส่งผ่านแดน
MOUs ว่าด้วยการขนส่งสินค้าเน่าเสียง่ายผ่านแดนมาเลเซียไปยังสิงคโปร์มาเลเซีย แนวทางปฎิบัติการขนส่งผ่านแดน ประเภทสินค้า สินค้าเน่าเสียง่าย ปริมาณ ไม่เกิน 30,000ตัน/ปี จำนวนรถ ไทย องค์การ รสพ. 60 คัน องค์การห้องเย็น 30 คัน มาเลเซีย ไม่จำกัด เส้นทาง ถนนมอเตอร์เวย์เหนือ-ใต้ ระยะทาง 833 กิโลเมตร ด่านเข้า/ออก ไทย/มาเลเซีย : ด่านสะเดา/บูกิต กายู ฮิตัม มาเลเซีย/สิงคโปร์ : ยะโฮว์บารู(มาเลเซีย) /วู๊ดแลนด์(สิงคโปร์)

40 ความตกลงว่าด้วยการขนส่งทางถนนระหว่างไทยกับ สปป.ลาว (2)
แนวทางปฎิบัติการขนส่งผ่านแดน 1 ไทย ลาว บึงกาฬ ปากซัน/บอลิคำไซ สะพานแม่น้ำเหือง/เลย แก่นท้าว/ไชยบุรี คกไผ่/เลย เมืองสานะคาม/ไชยบุรี ปากแซง/อุบลราชธานี ปากตะพาน/สาละวัน เส้นทาง 1.เส้นทาง R 3 ห้วยทราย-หลวงน้ำทา/จีนเส้นทางR1หลวงน้ำทา-อุดมไซ-เดียนเบียนฟู 2.เส้นทาง R13 อุดมไซ-หลวงพระบาง-เวียงจันทน์-สะหวันนะเขต-จำปาสัก/กัมพูชา 3.เส้นทาง R8 บอลิคำไซ-น้ำพาว/เวียดนาม 4.เส้นทาง R9 สะหวันนะเขต-แดนสะหวัน/เวียดนาม 5.เส้นทาง R10 วังเต่า-ปากเซ 6.เส้นทางR 12 ท่าแขก-น้ำพร้าว-จะลอ/เวียดนาม 7.เส้นทางR13, R18 ปากเซ-อัดตะปือ/เวียดนาม 2 3 6 4 5 7

41 แนวทางปฎิบัติการขนส่งผ่านแดน
MOUs เกี่ยวกับการเริ่มใช้ความตกลงว่าด้วยการขนส่งข้ามพรมแดนในอนุ๓มิภาคลุ่มแม่น้ำโขง แนวทางปฎิบัติการขนส่งผ่านแดน ประเภทและปริมาณสินค้า ไม่จำกัด จำนวนรถ ประเทศละ 40 คัน ไทย รถบรรทุก 30 คัน รถโดยสาร 10 คัน กัมพูชา รถบรรทุก 10 คัน รถโดยสาร 30 คัน ไปกรุงเทพฯ รถที่จะผ่านแดน จะต้องอยู่ในโควต้า 40 คันและขึ้นทะเบียนรถขนส่งระหว่างประเทศกับกรมการขนส่งทางบกและทำPassport รถเพื่อแสดงต่อศุลกากรไทยและกัมพูชา เส้นทาง กรุงเทพ-พนมเปญ ระยะทาง 644 กิโลเมตร ด่านเข้า/ออก ไทย/กัมพูชา : คลองลึก อรัญประเทศ/ ปอยเปต

42 เส้นทางเชื่อมโยงการขนส่งทางถนนกับกลุ่มประเทศอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง
ภายใต้ความตกลงว่าด้วยการขนส่งข้ามพรมแดนในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง 42

43 เส้นทางเชื่อมโยงการขนส่งทางถนนกับประเทศเพื่อนบ้าน
กรอบความตกลงอาเซียนว่าด้วยการอำนวยความสะดวกในการขนส่งสินค้าผ่านแดน

44 ที่มา: สำนักงานคณะกรรมการสภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

45 บทบาทกรมการค้าต่างประเทศต่อการส่งเสริมการค้าชายแดน
การนำระบบ National Single Window (NSW) และระบบ ASEAN Single Window (ASW) มาใช้สำหรับการรองรับระบบทางการค้าที่ไร้เอกสาร (paperless) การรับรองถิ่นกำเนิดสินค้าด้วยตนเองของผู้ส่งออก (Self Certification) การมอบอำนาจให้ผู้ว่าราชการจังหวัด 78 จังหวัด ในการออกหนังสือรับรองแหล่งกำเนิดสินค้า ฟอร์ม D(ATIGA) ฟอร์ม A และฟอร์ม C การจัดตั้งสำนักงานการค้าต่างประเทศในภูมิภาค เพื่อส่งเสริมและอำนวยความสะดวกการค้าระหว่างประเทศและการค้าชายแดนแก่ผู้ประกอบการในภูมิภาค

46 คณะกรรมการส่งเสริมการค้าชายแดนและการลงทุนกับประเทศเพื่อนบ้าน
(คำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรี ที่ ๖๕ / ๒๕๕๘ ลงวันที่ ๒๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘) องค์ประกอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ประธานกรรมการ ปลัดกระทรวงพาณิชย์ รองประธานกรรมการ อธิบดีกรมการค้าต่างประเทศ กรรมการ อธิบดีกรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ อธิบดีกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ อธิบดีกรมการค้าภายใน อธิบดีกรมพัฒนาธุรกิจการค้า หน่วยงานที่เกี่ยวขอ้งกับการค้าชายแดน การค้าผ่านแดน และการลงทุนกับประเทศเพื่อนบ้านทั้งภาครัฐและภาคเอกชน จำนวน ๒๑ หน่วยงาน รองอธิบดีกรมการค้าต่างประเทศ (รองอดุลย์ โชตินิสากรณ์) กรรมการและเลขานุการ รองอธิบดีกรมศุลกากร กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ

47 คณะกรรมการส่งเสริมการค้าชายแดนและการลงทุนกับประเทศเพื่อนบ้าน
(คำสั่งสำนักนายกรัฐมนตรี ที่ ๖๕ / ๒๕๕๘ ลงวันที่ ๒๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘) อำนาจหน้าที่ ๑. กำหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ มาตรการ และแนวทางการดำเนินการพัฒนาเพื่อส่งเสริมการค้าชายแดน และการลงทุน กับประเทศ เพื่อนบ้าน ๒. พิจารณา ทบทวนกฎหมาย และระเบียบปฏิบัติ ที่เกี่ยวข้อง ให้สามารถส่งเสริมและสนับสนุนการปฏิบัติงานให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ๓. ติดตามผลการดำเนินงานของส่วนราชการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการค้าชายแดนและการลงทุนกับประเทศเพื่อนบ้าน เพื่อให้เป็นไปตามนโยบายและยุทธศาสตร์ ๔. ส่งเสริมสนับสนุนภาคเอกชนและภาคประชาชนให้มีส่วนร่วมในการส่งเสริมการค้าการลงทุนและขยายการค้าชายแดนกับประเทศเพื่อนบ้านมากขึ้น ๕. แต่งตั้งคณะอนุกรรมการ คณะทำงานเพื่อช่วยเหลือการปฎิบัติงานได้ตามความเหมาะสม ๖. เชิญเจ้าหน้าที่ บุคคล หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมาให้ข้อมูล ข้อเท็จจริง และความเห็น รวมทั้งส่งหลักฐานที่เกี่ยวข้องมาเพื่อประกอบการพิจารณาได้ตามความจำเป็น

48 คณะกรรมการส่งเสริมการค้าชายแดนและการลงทุนกับประเทศเพื่อนบ้าน
ยุทธศาสตร์การส่งเสริมการค้าชายแดนและการลงทุนกับประเทศเพื่อนบ้าน ยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาขีดความสามารถ ในการแข่งขันของไทย ยุทธศาสตร์ที่ 2 การเสริมสร้างขีดความสามารถของบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการค้าชายแดน ยุทธศาสตร์ที่ 3 การส่งเสริมการลงทุน ในประเทศเพื่อนบ้าน ยุทธศาสตร์ที่ 4 การเร่งรัดการแก้ไขปัญหาและใช้ ประโยชน์จากความร่วมมือในอนุภูมิภาค ภารกิจที่ 1 การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานบริเวณชายแดนเพื่อสนับสนุนการค้า การลงทุน และโลจิสติก 7 โครงการ ภารกิจที่ 1 การเสริมสร้างขีดความสามารถของผู้ประกอบการ 6 โครงการ ภารกิจที่ 1 การเชื่อมโยง ฐานการผลิตระหว่างไทย กับประเทศเพื่อนบ้าน ภารกิจที่ 1 การเจรจาในระดับทวิภาคี ภารกิจที่ 2 เจรจาในระดับ อนุภูมิภาค ภูมิภาค และระดับพหุภาคี ภารกิจที่ 2 การแสวงหา แหล่งวัตถุดิบจากประเทศเพื่อนบ้าน ภารกิจที่ 2 การพัฒนาด้านการตลาดเพื่อส่งเสริมผู้ประกอบการไทยสามารถเพิ่มมูลค่าการค้าชายแดนและการค้าผ่านแดนมากขึ้น 2 โครงการ ภารกิจที่ 2 การพัฒนาระสิทธิภาพบุคลากรภาครัฐที่เกี่ยวข้องกับการค้าชายแดน 3 โครงการ ภารกิจที่ 3 การพัฒนากฎ/ระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการค้า การลงทุนชายแดน 5 โครงการ ภารกิจที่ 3 การส่งเสริมผู้ประกอบการเข้าไปลงทุนพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของประเทศเพื่อนบ้าน ภารกิจที่ 3 การพัฒนานวัตกรรมทางการค้าเพื่อ เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันทางการค้า ของประเทศไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน 2 โครงการ ภารกิจที่ 4 การส่งเสริมธุรกิจบริการของไทยในประเทศเพื่อนบ้าน 5 โครงการ ภารกิจที่ 4 การพัฒนานวัตกรรมทางการค้าเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันทางการค้าของ ประเทศไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน 2 โครงการ

49 เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ 5 พื้นที่ ระยะที่ 1
ผลการประชุม กนพ. ครั้งที่ 1/2557 วันที่ 15 ก.ค. 2557 ผลการประชุม กนพ. ครั้งที่ 2/2557 วันที่ 17 พ.ย. 2557 เห็นชอบขอบเขตพื้นที่เป้าหมายจัดตั้งเป็นเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษระยะแรก 5 พื้นที่ จังหวัด อำเภอ ตำบล พื้นที่ ตาก อ.แม่สอด อ.พบพระ อ.แม่ระมาด 14 1, ตร.กม. 886,875 ไร่ สระแก้ว อ.อรัญประเทศ อ.วัฒนานคร 4 ตร.กม. 207,500 ไร่ ตราด อ.คลองใหญ่ 3 50.2 ตร.กม. 31,375 ไร่ มุกดาหาร อ.เมือง อ.หว้านใหญ่ อ.ดอนตาล 11 ตร.กม. 361,542 ไร่ สงขลา อ.สะเดา ตร.กม. 345,187 ไร่

50 เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ระยะที่ 2
ตามประกาศ กนพ. ทื่ 2/2558 ลงวันที่ 24 เม.ย 58 เรื่อง กำหนดพื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ระยะที่ 2 ผลการประชุม กนพ. 2/2558 วันที่ 16 มี.ค. 58 เห็นชอบขอบเขตพื้นที่เป้าหมายการจัดตั้งเขตพัฒนา เศรษฐกิจพิเศษ ระยะที่ 2 ใน 5 พื้นที่ ใน 5 พื้นที่ ชายแดนเป้าหมาย รวม 54 ตำบล 13 อำเภอ ดังนี้ (1) จ.หนองคาย อำเภอเมือง สระใคร (2) จ.กาญจนบุรี อำเภอเมือง (3) จ.เชียงราย อำเภอแม่สาย เชียงแสน เชียงของ (4) จ.นครพนม อำเภอเมือง ท่าอุเทน (5) จ.นราธิวาส อำเภอเมือง สุไหง-โกลก ตากใบ แว้ง ยี่งอ จังหวัด อำเภอ ตำบล พื้นที่ หนองคาย เมือง สระใคร 13 ตร.กม. 296,042 ไร่ นราธิวาส เมือง ตากใบ สุไหง-โกลก แว้ง ยี่งอ 5 ตร.กม. 246,747 ไร่ เชียงราย แม่สาย เชียงแสน เชียงของ 21 ตร.กม. 477,030 ไร่ นครพนม ท่าอุเทน ตร.กม. 465,493ไร่ กาญจนบุรี 2 ตร.กม. 162,993 ไร่

51 สถิติการค้าชายแดนและการค้าผ่านแดนในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ปี 2557
หน่วย : ล้านบาท จังหวัด การค้าชายแดน การค้าผ่านแดน รวมการค้าชายแดนและผ่านแดน ส่งออก นำเข้า รวม ดุลการค้า สงขลา 270,396 230,829 25,344 37,829 564,398 295,740 268,685 27,055 กาญจนบุรี 1,431 115,122 - 116,553 -113,690 สระแก้ว 59,508 15,263 470 12 75,253 59,978 15,275 44,7003 นครพนม 4,205 219 21,401 42,816 68,641 25,606 43,035 -17,429 ตาก 59,839 2,682 62,521 57,156 หนองคาย 58,631 1,497 60,128 57,133 มุกดาหาร 16,771 22,553 10,738 844 49,218 27,509 21,709 4,112 เชียงราย 26,663 643 9,839 5,568 42,713 36,502 6,211 30,291 ตราด 27,555 2,081 29,636 15,474 นราธิวาส 1,069 2,036 3,105 -967 466,560 392,925 67,792 87,069 1,072,193 593,860 478,333 115,527

52 คณะอนุกรรมการด้านการตลาดและประชาสัมพันธ์
(คำสั่งคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ที่ ๒ / ๒๕๕๘ ลงวันที่ ๓ เมษายน ๒๕๕๘) องค์ประกอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ ประธานอนุกรรมการ ปลัดกระทรวงพาณิชย์ รองประธานกรรมการ อธิบดีกรมการค้าต่างประเทศ อนุกรรมการ อธิบดีกรมเศรษฐกิจระหว่างประเทศ อธิบดีกรมประชาสัมพันธ์ เลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน ผู้ว่าการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ประธานกรรมการหอการค้าไทย ประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ประธานสมาคมธนาคารไทย ผู้แทนกรมการค้าต่างประเทศ (รองอธิบดีอดุลย์ โชตินิสากรณ์) อนุกรรมการและเลขานุการ ผู้แทนสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน อนุกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ ผู้แทนกรมประชาสัมพันธ์

53 คณะอนุกรรมการด้านการตลาดและประชาสัมพันธ์
(คำสั่งคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ที่ ๒ / ๒๕๕๘ ลงวันที่ ๓ เมษายน ๒๕๕๘) อำนาจหน้าที่ ๑. พิจารณาให้ข้อเสนอแนะทางการตลาดที่สนับสนุนการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษต่อคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ๒. ดำเนินการเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ จัดสัมมนา เพื่อเชิญชวนนักลงทุนในประเทศและต่างประเทศให้เข้ามาลงทุนในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษและจัดทำข้อมูลการประชาสัมพันธ์และคู่มือสำหรับนักลงทุน ๓. แต่งตั้งคณะทำงานเพื่อช่วยเหลือการปฎิบัติงานได้ตามความเหมาะสม ๔. ปฎิบัติภารกิจอื่นใดตามที่คณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษมอบหมาย ๕. รายงานผลการปฏิบัติงานต่อคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษมอบหมาย


ดาวน์โหลด ppt ประชาคมอาเซียน(ASEAN Community)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google