เสวนา เรื่อง “ข้อพบเห็นจากงาน ภายใต้การกำกับดูแลที่เกี่ยวข้องกับ สอจ.” โดย นางสาวนิสากร จึงเจริญธรรม รองปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม วันพฤหัสบดีที่ 2 มิถุนายน 2559 ณ โรงแรมบุรีศรีภู บูติกโฮเต็ล จ.สงขลา นิสากร จึงเจริญธรรม
1. แผนงานตามยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี กระทรวงอุตสาหกรรม นิสากร จึงเจริญธรรม
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี วิสัยทัศน์ ยุทธศาสตร์ชาติ 1.ด้านความมั่นคง “ประเทศไทย” มีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” วิสัยทัศน์ ยุทธศาสตร์ชาติ ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี 1.ด้านความมั่นคง 2.ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน 3.ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน 4.ด้านการสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม 5.ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 6.ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ นิสากร จึงเจริญธรรม
แผนงานตามยุทธศาสตร์ชาติ กระทรวงอุตสาหกรรม (ปีพ.ศ. 2560-2579) ยุทธศาสตร์ อก. ยุทธศาสตร์ชาติ ที่ 2 ยุทธศาสตร์ชาติ ที่ 5 ยุทธศาสตร์ชาติ ที่ 6 นิสากร จึงเจริญธรรม
แผนงานตามยุทธศาสตร์ชาติ กระทรวงอุตสาหกรรม (ปีพ.ศ. 2560-2579) ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน 2.1 แผนงานยกระดับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) เข้าสู่ระบบ เศรษฐกิจโลก 2.2 แผนงานยกระดับการบริหารจัดการโลจิสติกส์และโช่อุปทานในภาคอุตสาหกรรม 2.3 แผนงานการพัฒนาศักยภาพอุตสาหกรรมในพื้นที่เขตพัฒนา เศรษฐกิจพิเศษ 2.4 แผนงานยกระดับประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางการมาตรฐานใน ASEAN 2.5 แผนงานพัฒนาอุตสาหกรรมศักยภาพและ คลัสเตอร์อุตสาหกรรมแห่งอนาคต 2.6.แผนงานยกระดับผลิตภาพการผลิตภาคอุตสาหกรรมเพื่อเพิ่ม ขีดความสามารถในการแข่งขันระดับโลก ยุทธศาสตร์ที่ 5 ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 5.1.แผนงานพัฒนาอุตสาหกรรมการผลิตสู่การเติบโตอย่างยั่งยืน ยุทธศาสตร์ที่ 6 ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ 6.1.แผนงานการพัฒนาระบบบริหารจัดการ นิสากร จึงเจริญธรรม
แผนงานตามยุทธศาสตร์ชาติ กระทรวงอุตสาหกรรม (ปีพ.ศ. 2560-2579) อุตสาหกรรมหุ่นยนต์และเครื่องจักรกล อัตโนม้ติ อุตสาหกรรมยานยนต์สมัยใหม่ อุตสาหกรรมแม่พิมพ์ 12 คลัสเตอร์อุตสาหกรรมแห่งอนาคต อุตสาหกรรม ปิโตรเคมีและเคมีภัณฑ์ อุตสาหกรรมเกษตรแปรรูป อุตสาหกรรมเหล็กและโลหะการ อุตสาหกรรมอ้อย น้ำตาลทราย และอุตสาหกรรมต่อเนื่อง อุตสาหกรรมการบินและ โลจิสติกส์ อุตสาหกรรมเซรามิก อุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ และอุปกรณ์โทรคมนาคม อุตสาหกรรมแฟชั่นและไลฟ์สไตล์ อุตสาหกรรมการแพทย์ครบวงจร นิสากร จึงเจริญธรรม
แผนงานตามยุทธศาสตร์ด้านที่ 2 (12 คลัสเตอร์อุตสาหกรรมแห่งอนาคต) สาขาอุตสาหกรรม ระยะที่ 1 (2560 - 2564) ระยะที่ 2 (2565 - 2569) ระยะที่ 3 (2570 - 2574) ระยะที่ 4 (2575 – 2579) 1. อุตสาหกรรมแม่พิมพ์ ลดการนำเข้าแม่พิมพ์จากต่างประเทศและลดต้นทุนการผลิตของอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้อง ประเทศไทยเป็นศูนย์กลาง Sourcing แม่พิมพ์ของอาเซียน อุตสาหกรรมแม่พิมพ์ไทยมีมาตรฐานและคุณภาพเป็นที่ยอมรับในระดับภูมิภาคเอเชีย อุตสาหกรรมแม่พิมพ์ไทยมีมาตรฐานและคุณภาพเป็นที่ยอมรับในระดับโลก 2. อุตสาหกรรมยานยนต์สมัยใหม่ มีศูนย์ทดสอบยานยนต์และยางล้อแห่งชาติ ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางการทดสอบยานยนต์ ชิ้นส่วนยานยนต์ และยางล้อ ของอาเซียน สามารถสร้างและพัฒนานวัตกรรมยานยนต์และชิ้นส่วน เป็นผู้นำในการผลิตและการส่งออกยานยนต์สมัยใหม่ในระดับโลก 3. อุตสาหกรรมหุ่นยนต์และเครื่องจักรกลอัตโนมัติ ส่งเสริมให้เกิดการลงทุนผลิตหุ่นยนต์และเครื่องจักรกลอัตโนมัติเพื่อลดการนำเข้า ส่งเสริมให้เกิดการผลิตหุ่นยนต์และเครื่องจักรกลอัตโนมัติเพื่อการส่งออก สามารถสร้างและพัฒนานวัตกรรมหุ่นยนต์และเครื่องจักรกลอัตโนมัติ เป็นผู้นำในการผลิตและการส่งออกหุ่นยนต์และเครื่องจักรกลอัตโนมัติ 4. อุตสาหกรรม ปิโตรเคมีและเคมีภัณฑ์ ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนา และการลงทุนด้านเทคโนโลยีการพัฒนาผลิตภัณฑ์พลาสติกชีวภาพ สนับสนุนการขยายตัวทางการค้าและการลงทุนอุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพในต่างประเทศ เป็นศูนย์กลางการผลิตและการลงทุนพลาสติกชีวภาพของอาเซียน เป็นผู้นำในการผลิตและการส่งออกพลาสติกชีวภาพระดับโลก นิสากร จึงเจริญธรรม
แผนงานตามยุทธศาสตร์ด้านที่ 2 (12 คลัสเตอร์อุตสาหกรรมแห่งอนาคต) สาขาอุตสาหกรรม ระยะที่ 1 (2560 - 2564) ระยะที่ 2 (2565 - 2569) ระยะที่ 3 (2570 - 2574) ระยะที่ 4 (2575 – 2579) 5. อุตสาหกรรมเกษตรแปรรูป ยกระดับผลิตภาพ มาตรฐาน ความปลอดภัย และนวัตกรรมในอุตสาหกรรมเกษตรแปรรูป สนับสนุนการขยายตัวทางการค้าและการลงทุนอุตสาหกรรมเกษตรแปรรูปในต่างประเทศ พัฒนา Country Brand Image ของอุตสาหกรรมเกษตร แปรรูป ประเทศไทยเป็นครัวของโลก(Kitchen to the World) 6. อุตสาหกรรมเหล็กและโลหะการ ปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตและนวัตกรรมในอุตสาหกรรมเหล็กและโลหะการ พัฒนาอุตสาหกรรมเหล็กต้นน้ำเพื่อสนับสนุนอุตสาหกรรมต่อเนื่อง วิจัยและพัฒนาการผลิตผลิตภัณฑ์โลหะคุณภาพสูง ผลิตภัณฑ์เหล็กและโลหะของไทยมีมาตรฐานและคุณภาพในระดับโลก 7. อุตสาหกรรมแฟชั่นและไลฟ์สไตล์ อุตสาหกรรมแฟชั่นและไลฟ์สไตล์ของไทยมีขีดความ สามารถในการแข่งขันเพิ่มขึ้น สนับสนุนการขยายตัวทางการค้าและการลงทุนอุตสาหกรรมแฟชั่นและไลฟ์สไตล์ ในต่างประเทศ พัฒนา Country Brand Image ของอุตสาหกรรมแฟชั่นและไลฟ์สไตล์ เป็นศูนย์กลางในการออกแบบและการผลิตผลิตภัณฑ์แฟชั่นและไลฟ์สไตล์ของเอเชีย 8. อุตสาหกรรมการแพทย์ครบวงจร ส่งเสริมให้เกิดการลงทุนในอุตสาหกรรมการแพทย์ครบวงจร พัฒนานวัตกรรมเครื่องมือและอุปกรณ์ทางการแพทย์ และการให้บริการทางการแพทย์ ประเทศไทยเป็น Medical Hub of ASEAN ประเทศไทยเป็น Medical Hub of the World นิสากร จึงเจริญธรรม
แผนงานตามยุทธศาสตร์ด้านที่ 2 (12 คลัสเตอร์อุตสาหกรรมแห่งอนาคต) สาขาอุตสาหกรรม ระยะที่ 1 (2560 - 2564) ระยะที่ 2 (2565 - 2569) ระยะที่ 3 (2570 - 2574) ระยะที่ 4 (2575 – 2579) 9. อุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าอิเลกทรอนิกส์ และอุปกรณ์โทรคมนาคม พัฒนาห้องทดสอบและรับรองอุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ครบวงจร พัฒนานวัตกรรมในอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าอิเลกทรอนิกส์ และอุปกรณ์โทรคมนาคม พัฒนา Country Brand Image ของอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าอิเลกทรอนิกส์ และอุปกรณ์โทรคมนาคม เป็นศูนย์กลางในการออกแบบและการผลิตเครื่องใช้ไฟฟ้า อิเลกทรอนิกส์ และอุปกรณ์โทรคมนาคม ของเอเชีย 10. อุตสาหกรรมการบินและโลจิสติกส์ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและปัจจัยสนับสนุนเพื่อรองรับอุตสาหกรรมซ่อมบำรุงด้านอากาศยานและโลจิสติกส์ พัฒนาการผลิตชิ้นส่วนอากาศยานและระบบโลจิสติกส์ เป็นศูนย์กลางซ่อมบำรุงด้านอากาศและโลจิสติกส์ของ ASEAN เป็นศูนย์กลางซ่อมบำรุงด้านอากาศและโลจิสติกส์ของโลก 11. อุตสาหกรรมอ้อย น้ำตาลทราย และอุตสาหกรรมต่อเนื่อง ยกระดับขีดความสามารถในการผลิตอ้อยและน้ำตาลทรายและส่งเสริมการใช้ Modern Farm ในการผลิตอ้อย ขยายเครือข่ายการผลิตอ้อยแบบ Modern Farm พัฒนานวัตกรรมในการผลิตน้ำตาลทรายมูลค่าสูง และการผลิตอุตสาหกรรมต่อเนื่อง อุตสาหกรรมอ้อยและน้ำตาลทรายมีศักยภาพในการผลิตเป็นที่ยอมรับของภูมิภาคเอเชีย เป็นศูนย์กลางในการผลิตและจำหน่ายน้ำตาลทราย และผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมต่อเนื่องในภูมิภาคต่าง ๆ ของโลก 12. อุตสาหกรรม เซรามิก ยกระดับความรู้ความสามารถของบุคลากรในอุตสาหกรรมเซรามิกสมัยใหม่ (Advanced Ceramic) ต่อยอดงานวิจัยและพัฒนา เซรามิกสมัยใหม่สู่เชิงพาณิชย์ พัฒนา Country Brand Image ของอุตสาหกรรม เซรามิกสมัยใหม่ เป็นศูนย์กลางในการออกแบบและการผลิตเซรามิกสมัยใหม่ของเอเชีย นิสากร จึงเจริญธรรม
แผนงานตามยุทธศาสตร์ชาติ กระทรวงอุตสาหกรรม แผนงานตามยุทธศาสตร์ชาติ กระทรวงอุตสาหกรรม แผนงานตามยุทธศาสตร์ด้านที่ 5 ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม แผนงาน เป้าประสงค์ ระยะที่ 1 (2560 - 2564) ระยะที่ 2 (2565 - 2569) ระยะที่ 3 (2570 - 2574) ระยะที่ 4 (2575 – 2579) 5.1 แผนงานพัฒนาอุตสาหกรรมการผลิตสู่การเติบโตอย่างยั่งยืน ภาคอุตสาหกรรมเข้าสู่การเป็นอุตสาหกรรมสีเขียว การเชื่อมโยงห่วง โช่อุปทาน สีเขียวของภาคอุตสาหกรรม (Green Supply chain) การเข้าสู่เมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ (Eco industry town) ประเทศไทยเข้าสู่สังคมคาร์บอนต่ำ (Low Carbon Society) นิสากร จึงเจริญธรรม
แผนงานตามยุทธศาสตร์ชาติ กระทรวงอุตสาหกรรม แผนงานตามยุทธศาสตร์ชาติ กระทรวงอุตสาหกรรม แผนงานตามยุทธศาสตร์ด้านที่ 6 ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ แผนงาน เป้าประสงค์ ระยะที่ 1 (2560 - 2564) ระยะที่ 2 (2565 - 2569) ระยะที่ 3 (2570 - 2574) ระยะที่ 4 (2575 – 2579) 6.1 แผนงานการพัฒนาระบบบริหารจัดการ พัฒนาบุคลากรและปรับโครงสร้างให้มีประสิทธิภาพ พัฒนาระบบบริหาร/การให้บริการสู่ระบบอัตโนมัติ (Automation) เป็นองค์กรแห่งนวัตกรรม เป็นองค์กรชั้นนำในการพัฒนาอุตสาหกรรมสู่ความยั่งยืน นิสากร จึงเจริญธรรม
2. การเร่งรัดการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี พ.ศ. 2559 ของสำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัด นิสากร จึงเจริญธรรม
การใช้จ่ายงบประมาณประจำปี พ.ศ.2559 (76 สอจ.) การใช้จ่ายงบประมาณประจำปี พ.ศ.2559 (76 สอจ.) นิสากร จึงเจริญธรรม
การใช้จ่ายงบประมาณประจำปี พ.ศ.2559 (76 สอจ.) การใช้จ่ายงบประมาณประจำปี พ.ศ.2559 (76 สอจ.) นิสากร จึงเจริญธรรม
การใช้จ่ายงบประมาณประจำปี พ.ศ.2559 (สอจ.14 จังหวัดภาคใต้) การใช้จ่ายงบประมาณประจำปี พ.ศ.2559 (สอจ.14 จังหวัดภาคใต้) นิสากร จึงเจริญธรรม
การใช้จ่ายงบประมาณประจำปี พ.ศ.2559 (สอจ.7 จังหวัดภาคตะวันออก) การใช้จ่ายงบประมาณประจำปี พ.ศ.2559 (สอจ.7 จังหวัดภาคตะวันออก) นิสากร จึงเจริญธรรม
การเบิกจ่ายงบประมาณประจำปี พ.ศ.2559 (25 สอจ.) การเบิกจ่ายงบประมาณประจำปี พ.ศ.2559 (25 สอจ.) จังหวัดพังงา (ลำดับที่ 2 จาก 76 สอจ.) จังหวัดยะลา (ลำดับที่ 5 จาก 76 สอจ.) จังหวัดชุมพร (ลำดับที่ 14 จาก 76 สอจ.) จังหวัดตรัง (ลำดับที่ 18 จาก 76 สอจ.) จังหวัดระนอง (ลำดับที่ 22 จาก 76 สอจ.) Top 5 นิสากร จึงเจริญธรรม
3. โครงสร้างอัตรากำลัง นิสากร จึงเจริญธรรม
แผนภูมิโครงสร้างและอัตรากำลัง สำนักงานปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม แผนภูมิโครงสร้างและอัตรากำลัง สำนักงานปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม แผนภูมิโครงสร้างและอัตรากำลัง สำนักงานปลัดกระทรวง อุตสาหกรรม สำนักงานปลัดกระทรวง อุตสาหกรรม 1,0 38 รองปลัดกระทรวง (นักบริหาร ระดับสูง) = 4 (ต.2,3,4,5) ผู้ตรวจราชการกระทรวง (นักบริหาร ระดับสูง) = 7 (ต.6,7,8,9,10,11,1081) ผู้ช่วยปลัดกระทรวง (นักบริหาร ระดับต้น) = 1 (ต.19) - ที่ปรึกษาด้านกฎหมาย (นิติกร ชช./ทว.) = 1 (ต.12) ปลัดกระทรวง (นักบริหาร ระดับสูง ต.1) กลุ่มตรวจสอบ ภายใน 5 กลุ่มพัฒนาระบบ บริหาร 4 ศูนย์ปฏิบัติการ ต่อต้านการทุจริต - ผู้ตรวจสอบภายในกระทรวง (นักวิชาการตรวจสอบภายใน) ต.15 นักวิเคราะห์นโยบายและ แผน ชช. (ต.21) รปอ. ที่ได้รับมอบหมายจาก ปกอ. สำนักบริหารกลาง 47 ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร 10 *สำนักงานที่ปรึกษาด้านอุตสาหกรรม ในต่างประเทศ (ญี่ปุ่น , ออสเตรีย) 2 ผู้อำนวยการสำนัก (ผู้อำนวยการ ระดับสูง) ต.25 ผู้อำนวยการศูนย์ (ผู้อำนวยการ ระดับสูง) ต.113 อัครราชทูตที่ปรึกษา (ฝ่ายอุตสาหกรรม) (ผู้อำนวยการ ระดับต้น) ต.123 (นักวิชาการอุตสาหกรรม ชพ.) ต.124 สำนักตรวจและ ประเมินผล 16 สำนักนโยบายและ ยุทธศาสตร์ 24 สำนักงานอุตสาหกรรม จังหวัด 877 ผู้อำนวยการสำนัก (ผู้อำนวยการ ระดับสูง) ต.125 ผู้อำนวยการสำนัก (ผู้อำนวยการ ระดับสูง) ต.140 อุตสาหกรรมจังหวัด (ผู้อำนวยการ ระดับสูง) = 75 อุตสาหกรรมจังหวัด (ผู้อำนวยการ ระดับต้น) = 1 สำนักกฎหมาย 1 2 สำนักบริหารและพัฒนา ทรัพยากรบุคคล 2 7 สำนักงานประสานการ พัฒนาพื้นที่ ในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ 1 9 ผู้อำนวยการสำนัก ผู้อำนวยการสำนัก ผู้อำนวยการ - ลูกจ้างประจำ = 218 อัตรา - พนักงานราชการ = 94 อัตรา หน่วยงานภายใน ข้อมูล ณ วันที่ 2 พฤษภาคม 2559
แผนภูมิโครงสร้างและอัตรากำลัง สำนักงานปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม แผนภูมิโครงสร้างและอัตรากำลัง สำนักงานปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัด 877 อุตสาหกรรมจังหวัด (ผู้อำนวยการ ระดับสูง) = 75 อุตสาหกรรมจังหวัด (ผู้อำนวยการ ระดับต้น) = 1 ฝ่ายนโยบายและแผน 328 ฝ่ายโรงงานอุตสาหกรรม 224 นักวิเคราะห์นโยบายและแผน ชพ. = 75 นักวิเคราะห์นโยบายและแผน ปก./ชก. = 78 เจ้าพนักงานการเงินและบัญชี ปง./ชง. = 89 เจ้าพนักงานธุรการ ปง./ชง. = 86 วิศวกร ชพ. = 15 วิศวกร ปก./ชก. = 159 เจ้าพนักงานตรวจโรงงาน ปง./ชง. = 50 ฝ่ายส่งเสริมอุตสาหกรรม 97 ฝ่ายอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ 152 วิศวกรเหมืองแร่ ปก./ชก. = 5 นักวิชาการทรัพยากรธรณี ชพ. = 7 นักวิชาการทรัพยากรธรณี ชก. = 9 - นักวิชาการทรัพยากรธรณี ปก./ชก. = 31 นายช่างรังวัด อว. = 5 นายช่างรังวัด ชง. = 6 นายช่างรังวัด ปง./ชง. = 45 นายช่างเหมืองแร่ ปง./ชง. = 7 เจ้าพนักงานทรัพยากรธรณี อว. = 2 เจ้าพนักงานทรัพยากรธรณี ชง. = 2 เจ้าพนักงานทรัพยากรธรณี ปง./ชง. = 33 นักวิชาการอุตสาหกรรม ปก./ชก. = 95 นายช่างเทคนิคอุตสาหกรรม อว. = 1 นายช่างเทคนิคอุตสาหกรรม ปง./ชง. = 1 อก. สปอ. สอจ. ข้อมูล ณ วันที่ 2 พฤษภาคม 2559
แผนภูมิโครงสร้างและอัตรากำลัง สำนักงานปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม แผนภูมิโครงสร้างและอัตรากำลัง สำนักงานปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม สำนักงานประสานการพัฒนาพื้นที่ ในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ 19 ผู้อำนวยการ นายวีรพงศ์ ไชยเพิ่ม (ผู้ว่าการนิคมแห่งประเทศไทย) รองผู้อำนวยการสำนักงาน - น.ส.จิดาภา มั่นในสัจธรรม (รองผู้ว่าการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย) - น.ส.สิริรัตน์ ไกรวณิช (ผู้ช่วยปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม)* ฝ่ายอำนวยการและ บริหารทั่วไป 4 ฝ่ายยุทธศาสตร์ 5 ผู้อำนวยการฝ่าย น.ส.พิชญา โทบุตร (ผู้อำนวยการกองกลาง ฝ่ายบริหารการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย) ผู้อำนวยการฝ่าย น.ส.ทัศนีย์ เกียรติภัทราภรณ์ (ผู้ช่วยผู้ว่าการการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย) (1) นางนิภา รุกขมธุ์ (ผู้อำนวยการฝ่ายยุทธศาสตร์ การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย) (2) น.ส.เรวดี แก้วมณี (นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ สศอ.)* (3) ว่าง (4) ว่าง (1) ว่าง (2) น.ส.ญาดา มะลิทอง (นักวิเคราะห์ 7 การนิคมแห่งประเทศไทย) (3) นางสุพรรณี ปิวาวัฒนพานิช (เจ้าพนักงานธุรการชำนาญงาน สปอ.) ฝ่ายการตลาด 3 ฝ่ายติดตามและประเมินผล 4 ผู้อำนวยการฝ่าย นางปนัดดา รุ่งเรืองศรี (ผู้เชี่ยวชาญ 11 การนิคมแห่งประเทศไทย) ผู้อำนวยการฝ่าย นายเดชา จาตุธนานันท์* ผู้อำนวยการสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สปอ.) (1) นายรังสรรค์ ธาดามงคลกุล (เศรษฐกร 8 การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย) (2) ว่าง (1) น.ส.ภัสราพร พลับเจริญสุข (นักวิทยาศาสตร์ชำนาญการพิเศษ กรมโรงงานอุตสาหกรรม) (2) นายอาทิตย์ พัฒนพงศ์ชัย (นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ สปอ.)* (3) น.ส.ทาริกา จันทร์แก้ว (นักบริหารทั่วไป 7 ฝ่ายบริหารการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย) * มีคำสั่งมอบหมายให้ปฏิบัติอีกหน้าที่หนึ่ง ข้อมูล ณ วันที่ 2 พฤษภาคม 2559
แผนภูมิโครงสร้างและอัตรากำลัง สำนักงานปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม แผนภูมิโครงสร้างและอัตรากำลัง สำนักงานปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม นิสากร จึงเจริญธรรม
2. การบูรณาการการทำงานของสำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัด กับหน่วยงานของ อก. นิสากร จึงเจริญธรรม