รัฐสมัยใหม่ ดินแดนและอำนาจอธิปไตย ภาค 3/2560 ทำครั้งแรกโดย สมชาย ปรีชาศิลปกุล ทำซ้ำโดย กฤษณ์พชร โสมณวัตร
The creation of Adam
ความเป็นสมัยใหม่คืออะไร วิถีชีวิตสังคมหรือองค์กรสังคมที่เกิดขึ้นในยุโรปประมาณศตวรรษที่ 17 ซึ่งต่อมามีอิทธิพลไปทั่วโลกไม่มากก็น้อย (Giddens) สังคมสมัยใหม่แตกต่างจากสังคมเดิมอย่างน้อยสี่ด้าน วัฒนธรรม การปฏิวัติความรู้, การรู้แจ้ง, มนุษยนิยม การเมือง รัฐสมัยใหม่, ระบบราชการ, เขตอำนาจ และกฎหมาย เศรษฐกิจ การปฏิวัติอุตสาหกรรม ทุนนิยม มารกซิสต์ ฯลฯ สังคม จัดสังคมแบบฆราวาส, ปัจเจกชนนิยม, ความเป็นส่วนตัว
รัฐสมัยใหม่ <Modern State> อำนาจอธิปไตย ดินแดน อาณาเขต พลเมือง รัฐบาล เริ่มปรากฏร่องรอยให้เห็นตั้งแต่ ศ. 16 ในยุโรป
อำนาจอธิปไตยแห่งรัฐ <Sovereignty> เป็นอำนาจสูงสุดภายในรัฐในการใช้อำนาจรัฐ ไม่อยู่ภายใต้อำนาจของศาสนจักร เหนือกว่าอำนาจท้องถิ่นซึ่งในอดีตมีความเป็นอิสระ ไม่ได้ขึ้นตรงต่อรัฐทั้งหมด
อำนาจอธิปไตยในทางระหว่างประเทศ รัฐแต่ละรัฐอยู่ในสถานะที่เท่าเทียม เสมอภาคกัน ไม่มีใครมีอำนาจเหนือกว่าใคร ผู้ปกครองประเทศหนึ่งไม่สามารถสั่งผู้ปกครองอีกประเทศหนึ่งได้
United Nations
องค์กรโลกบาล intergovernmental organization มีอำนาจบางประการเหนืออธิปไตยของรัฐ บางกรณีมีสภาพบังคับ อำนาจ เช่น การออกกฎหมายภายในประเทศ (เอกนิยม-ทวินิยม) สภาพบังคับ เช่น คว่ำบาตร, ทำสงครามในนามองค์กรโลกบาล หลังวิกฤติเศรษฐกิจ 2540 (IMF) นโยบายตรึงอัตราดอกเบี้ยไว้ในระดับสูงกว่าร้อยละ 20 แปรรูปรัฐวิสาหกิจ (Privatization) ฯลฯ
ดินแดน อาณาเขตที่ชัดเจนแน่นอน เข้าใจกันโดยทั่วไปว่ารัฐต้องมีอาณาเขตที่บ่งชี้ได้ชัดเจนว่าบริเวณใดเป็นของรัฐใด ดินแดนของรัฐใดก็จะอยู่ภายใต้อำนาจอธิปไตยแห่งรัฐนั้นๆ
เพราะอะไรจึงทำให้พื้นที่ของแต่ละรัฐซ้อนทับกัน ทั้งที่อาจอยู่ในช่วงเวลาเดียวกัน คนทำแผนที่ประเทศอื่นขี้โกง คนไทยถูกต้อง
ก่อนรัฐสมัยใหม่บังเกิดขึ้นในเอเชีย ตอ./ใต้ รัฐเปรียบเสมือนแสงเทียน ขยายได้ หดได้ ขึ้นอยู่กับความสามารถของผู้นำ อาณาเขตชนิดที่ชัดเจน ลากเส้นแบ่งได้อย่างชัดเจน ยังไม่ปรากฏขึ้น รู้เพียงว่า “แถวนั้น” อยู่ภายใต้อิทธิพลของใคร และก็สามารถซ้อนทับกันได้ระหว่างสองรัฐ แม้ปัจจุบันก็ยังมีปัญหาเขตแดนอยู่
ใคร “เสีย” หรือใคร “ได้” ดินแดน จึงขึ้นอยู่กับว่าจะอาศัยจุดเริ่มต้น ณ ที่ใด มีจุดเริ่มต้นที่ยอมรับร่วมกันได้หรือไม่ หรือว่าเอาเข้าจริงแล้ว ต่างก็ไม่มีใครได้ใครเสียทั้งสิ้น เพราะเป็นการช่วงชิงกันในยามก่อตัวของรัฐชาติ ก่อนหน้านั้นไม่มีดินแดนที่ชัดเจนแน่นอนอยู่
อาณาเขตของรัฐสามารถเปลี่ยนแปลงได้ ปัจจัยที่อาจทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง การประกาศเป็นเอกราชของรัฐใหม่ เช่น สิงคโปร์ ติมอร์ตะวันออก การสลายตัวของรัฐขนาดใหญ่ เช่น สหภาพโซเวียต เกิดรัฐเป็นจำนวนมาก
“United States” of America
“สหรัฐฯ” ในช่วงสงครามกลางเมือง ค.ศ.1861- 1865
จาก “รัฐ” สู่ “สหรัฐฯ”
บางประเทศเคยรวมเป็นภูมินิเวศวัฒนธรรมเดียวกัน
ปัจจุบันเราพิจารณาไปอีกแบบหนึ่ง
ยุโรปในสงครามโลกครั้งที่สอง
พรมแดนเป็นเส้นสมมุติ รัฐๆ หนึ่งอาจเกินขึ้นและล่มสลายไปในเวลาเพียงช่วงชีวิตเดียว ในยุโรปกลาง บุคคลส่วนมากอยู่ในสถานะไม่ชัดเจน เช่น Austria, Liechtenstein, Slovenia, Czech Republic, Hungary, Poland, Slovakia, Croatia, Romania, Serbia, Ukraine
สหภาพยุโรป (2009) The European Union received the 2012 Nobel Peace Prize for having "contributed to the advancement of peace and reconciliation, democracy, and human rights in Europe."
Imagine
Imagine there's no countries It isn't hard to do Nothing to kill or die for And no religion too Imagine all the people living life in peace John Lennon, “Imagine”.
ราชาธิปไตยสู่ประชาธิปไตย ในระยะแรก การแยกตัวจากศาสนจักร กลายเป็นรัฐสมบูรณาญาสิทธิ์ (Absolute Monarchy) กษัตริย์เป็นผู้มีอำนาจสูงสุดในระบอบการเมือง เป็นเจ้าของรัฐ เจ้าของแผ่นดิน เจ้าชีวิต รัฐเป็นของกษัตริย์ การแต่งงานของกษัตริย์นำมาสู่การรวมดินแดนได้
ระบอบกษัตริย์แพร่หลายในยุโรป ไม่ว่าอังกฤษ ฝรั่งเศส เยอรมัน ปรัสเซีย ฯลฯ ในภายหลังเกิดการแยกตัวระหว่างรัฐในฐานะของสถาบันทางการเมืองกับผู้ปกครอง ทำให้รัฐมี “ตัวตน” เป็นของตนเอง ไม่ได้ขึ้นอยู่กับผู้ปกครอง มีความเปลี่ยนแปลงสำคัญเกิดขึ้นในปลาย ศ. 18 – ปัจจุบัน (USA 1776, Franc 1789)
อุดมการณ์สำคัญของระบอบราชาธิปไตย เชื่อในอำนาจศักดิ์สิทธิ์ของสถาบัน ชาติกำเนิดกำหนดสถานะทางสังคม การปกครองเป็นแบบอำนาจนิยม ไม่มีระบบถ่วงดุลย์อย่างเป็นทางการ ผู้ปกครองจะดำรงอยู่จนตาย หรือสืบทอดแก่บุคคลในตระกูล
At the beginning of 20th century
Changes during 20th century
ในศตวรรษที่ 20 ได้ทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลงอย่างสำคัญกับระบอบการปกครองในโลกนี้ การอ่อนแรงของระบอบราชาธิปไตย (Absolute Monarchy) >>>> ?????
ขึ้นครองราชย์เป็นจักรพรรดิเมื่ออายุ 2 ขวบ 10 เดือน เวลาเสด็จ ข้าราชบริพารต้องคุกเข่าคำนับจนกว่าจะเสด็จลับไปจากสายตา
สร้าง พ.ศ. 1949-1963 อาคาร 800 หลัง มีห้อง 9,999 ห้อง พื้นที่ 720,000 ตารางเมตร มีนางสนม 9,000 คน ขันที 70,000 คน
แต่ต้องเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงทางการเมือง จีนกลายเป็นสาธารณรัฐก่อนเป็นสาธารณรัฐประชาชนจีนในภายหลัง
ทำงานให้พรรคคอมมิวนิสต์โดยการเป็นคนสวนในสถาบันพฤกษศาสตร์ ทำงานเป็นบรรณาธิการแผนกวรรณกรรมที่สภาที่ปรึกษาการเมืองแห่งชาติ โดยมีรายได้ 100 หยวนต่อเดือน และเป็นที่ทำงานที่ทำจนวาระสุดท้ายของชีวิต
Marie Antoinette
สร้าง พ.ศ. 2204-2231 คนงาน 30,00 คน ใช้เงิน 500 ล้านฟรังซ์ ทำด้วยหินอ่อนทั้งหมด
กองทัพประชาชนบุกยึดและจับพระเจ้าหลุยส์ 16 และพระนางมารีประหาร เมื่อ 6 ตุลาคม 2332 หรือ ค.ศ. 1789
Guillotine
แต่เกิดความเปลี่ยนแปลงขึ้นอย่างสำคัญ มีอะไรเป็นเหตุผลที่ทำให้เกิดความเปลี่ยนแปลงเช่นนี้
เงื่อนไขแห่งความเปลี่ยนแปลง ด้านภายในของสถาบันกษัตริย์ การสืบทอดราชสมบัติที่ไม่ได้เป็นหลักประกันถึงการได้บุคคลที่มีความสามารถในการเข้าดำรงตำแหน่ง
ด้านภายนอกหรือบริบทแวดล้อมทางสังคม การโต้แย้งต่อฐานความคิดแบบเดิม อำนาจศักดิ์สิทธิ์ของสถาบัน >> อภิสิทธิ์ของชาติกำเนิด >> การปกครองเป็นแบบอำนาจนิยม >>
อุดมการณ์สำคัญของระบอบประชาธิปไตย อำนาจสูงสุดทางการเมืองมาจากประชาชน ความเสมอภาคระหว่างพลเมือง การใช้อำนาจมีการตรวจสอบควบคุม ผู้ปกครองมีระยะเวลาจำกัด ผ่านระบบการเลือกตั้งจากประชาชน
อุดมการณ์หลักเปลี่ยน >>> ความอ่อนแรงของระบอบราชาธิปไตย >>> เปลี่ยนโดยล้มสถาบันกษัตริย์ >>> เปลี่ยนโดยสถาบันกษัตริย์ยังคงดำรงอยู่ในสังคมต่อไป ตัวอย่างความเปลี่ยนแปลงในประเทศต่างๆ อังกฤษ ฝรั่งเศส สหรัฐอเมริกา ฯลฯ
แนวคิดรัฐธรรมนูญนิยม หลักการสำคัญคือ รัฐธรรมนูญเป็นกติกาสูงสุดในระบอบการปกครอง รัฐบาลโดยความยินยอมของประชาชน หลักการแบ่งแยกองค์กรผู้ใช้อำนาจ รับรองสิทธิเสรีภาพของประชาชน
ปรีดี พนมยงค์ ผู้นำการเปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อ 24 มิถุนายน 2475 จากระบอบราชาธิปไตยมาสู่กษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ
สรุป รัฐสมัยใหม่เป็นองค์กรทางการเมืองที่มาพร้อมกับสังคมสมัยใหม่ ในยุโรปประมาณตั้งแต่ศตวรรษที่ 17 มีองค์ประกอบสี่ประการ คือ อาณาเขต พลเมือง รัฐบาล อำนาจอธิปไตย หน้าที่ของรัฐสมัยใหม่ มาพร้อมกับอุดมการณ์ของโลกสมัยใหม่ คือ ความเชื่อมั่นในวิทยาศาสตร์/เหตุผล และมนุษยนิยมแบบเสรีนิยม ความสับสนเรื่องรัฐสมัยใหม่ เป็นเหตุให้เกิดข้อพิพาทเรื่องเขตแดน สิทธิของคนข้ามแดน ความคิดชาตินิยม ฯลฯ