งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การตอบข้อสอบอัตนัย 1. ตอบคำถาม 2. วิธีการให้เหตุผลในการตอบคำถาม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การตอบข้อสอบอัตนัย 1. ตอบคำถาม 2. วิธีการให้เหตุผลในการตอบคำถาม"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การตอบข้อสอบอัตนัย 1. ตอบคำถาม 2. วิธีการให้เหตุผลในการตอบคำถาม
3. การยกตัวอย่าง 4. การเขียน และอธิบายอย่างมีโครงสร้าง 10 Law and Globalization

2 ควรเพิ่มโทษไหม? เราจะเพิ่มโทษในคดีข่มขืน?
เพิ่มไม่เพิ่มไม่สำคัญ คำตอบต้องสอดคล้องกับ “เหตุ” ที่ นศ. อ้างขึ้น 1. ต้องบอกว่าคดีข่มขืนมีลักษณะพิเศษอย่างไร 2. ต้องบอกหลักการพิจารณาเรื่องเพิ่มโทษ Limit of Criminal Sanction วัตถุประสงค์การลงโทษ: แก้แค้น vs ฟื้นฟู ในทุกกระบวนการต้องยกตัวอย่าง 10 Law and Globalization

3 Globalization and the Law
กฎหมายในโลกสมัยใหม่และ ความเคลื่อนไหวของสังคมที่เป็นพลวัตร 10 Law and Globalization

4 ภาพรวม กฎหมาย รัฐ ความเชื่อศาสนา โลกาภิวัฒน์ เทคโนโลยี
กระบวนการยุติธรรม วัฒนธรรม เพศภาวะ จารีต ประเพณ๊ 10 Law and Globalization

5 ? 10 Law and Globalization

6 รู้จัก? 10 Law and Globalization

7 รู้จักไหม? 10 Law and Globalization

8 The Voice Thailand 10 Law and Globalization

9 The Voice USA 10 Law and Globalization

10 Popular Culture 10 Law and Globalization

11 Salmon? 10 Law and Globalization

12 เรากินไรกัน? 10 Law and Globalization

13 Bird Flu 10 Law and Globalization

14 ประเทศไทย 10 Law and Globalization

15 ? 10 Law and Globalization

16 อะไรคือGlobalization?
Count down around the world! เราดูหนัง ฟังเพลง บริโภคอะไรบ้าง? โลกาภิวัตน์ หมายความว่าอย่างไร? โลก + อภิวัฒน์ (อภิ + วัฒนา = การเปลี่ยนแปลงที่ยิ่งใหญ่) Alvin Toffler: The Third Wave I Green Revolution II Industrial Revolution III Information Technology Revolution 10 Law and Globalization

17 อะไรคือGlobalization?
ในปัจจุบันใช้ตัวสะกด โลกาภิวัตน์ การแผ่ถึงกันทั่วโลก การเข้าถึง โลก Globalization, localization, de-globalization! The 100 Miles Diet ระบบความสัมพันธ์ของคนในโลก (ข้ามพรมแดน) ทางด้านเศรษฐกิจ การเมือง สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม การติดต่อเชื่อมกัน นำมาซึ่งสิ่งที่ไม่ดี และดี เช่น โรคระบาด ยาเสพติด มาเฟียข้ามชาติ การค้า การเงินการลงทุน ทรัพยากร คุณค่าทางจริยธรรม 10 Law and Globalization

18 AEC 2015 ASEAN เป็นใคร? มีขึ้นเพื่ออะไร? ผลกระทบเป็นอย่างไร?
การรวมตัวของ AEAN จะมีผลบังคับได้อย่างที่คาดหวังไว้หรือไม่ ? อะไรคือปัญหาและอุปสรรคของ AEAN & AEC ? 10 Law and Globalization

19 ข้อพิพาทเกี่ยวกับเขาพระวิหาร
ข้อพิพาทเกี่ยวกับเขาพระวิหาร ? เหตุการณ์และการขึ้นศาลโลก ทำไมไทยจึงต้องยอมในตอนแรกที่ ฝรั่งเศสทำแผนที่? ผลบังคับของคำตัดสินของศาลโลกเป็นอย่างไร? หากตอนนี้ไทยจะไม่ยอมเชื่อคำตัดสินของศาลโลก จะทำได้หรือ? ทำไมเหตุการณ์ความรุนแรงที่ราชประสงค์ในปี 2553 จึงมีคนนำเรื่อง ไปฟ้องที่ศาลอาญาโลก? ศาลอาญาโลกจะรับเรื่องคำฟ้องนี้หรือไม่? 10 Law and Globalization

20 ปัญหาข้อพิพาทในทะเลจีนใต้
เกิดความขัดแย้งอะไรขึ้นที่ทะเลจีนใต้ ? สาเหตุของความขัดแย้งคืออะไร ? ผลกระทบจากความขัดแย้งนี้เป็น/จะเป็นอย่างไร? จะเข้ามาจัดการกับความขัดแย้งนี้ได้อย่างไร? ปัญหาในเรื่องการจัดการทรัพยากร เช่น ทะเล-มหาสมุทร เมื่อน้ำทะเล ร้อนขึ้น 1-2 องศา จะทำอย่างไร? เมื่อจีนสร้างเขื่อนกั้นแม่น้ำโขง แล้วลาว ไทย เวียตนาม กัมพูชา จะทำ อย่างไร? 10 Law and Globalization

21 สังคมโลกกำหนดกลไกขึ้นมาเป็นเครื่องมือกำหนด ความสัมพันธ์ระหว่างกัน
จากคำถามทั้งสามเรื่องข้างต้น สะท้อนให้เห็นถึงความ เคลื่อนไหวของสังคมสมัยใหม่ (สังคมโลก) ในการสร้าง เครื่องมือในการจัดระบบความสัมพันธ์ของคนในสังคม รวมไปถึงการจัดการสังคม และทรัพยากรในโลกสมัยใหม่ สังคมโลกกำหนดกลไกขึ้นมาเป็นเครื่องมือกำหนด ความสัมพันธ์ระหว่างกัน ทำไม? กลไกทางกฎหมายที่เป็นเครื่องมือนี้มีความเข้มแข็ง แตกต่างกัน 10 Law and Globalization

22 Conclusion: Definition
“โลกาภิวัฒน์เป็นกระบวนการที่พูดถึงการแผ่ขยายและ การทำให้เข้มข้นของความสัมพันธ์และจิตสำนึกซึ่งข้ มพ้นเวลาและพื้นที่ของโลก” “กระบวนการที่ทำให้ความสัมพันธ์ในระดับโลกมีความ เข้มแข็งมากขึ้น ซึ่งเชื่อมโยงพื้นที่ที่มีระยะห่างไกลกันใน ลักษณะที่เรื่องราวที่เกิดขึ้นในท้องถิ่นหนึ่งถูกกำหนด โดยเหตุการณ์ซึ่งเกิดขึ้นห่างไกลออกไป รวมถึงในทาง กลับกัน” 10 Law and Globalization

23 Globalization and the Law II
1 รูปแบบและวิธีการของการอภิวัฒน์ โลกและกฎหมาย 2 ผลกระทบของโลกาภิวัฒน์ 10 Law and Globalization

24 การอภิวัฒน์ของโลก การขยายอิทธิพลและกิจกรรมเข้าพรมแดนโดยอาศัย
อิทธิพลทางกายภาพ อิทธิพลทางโครงสร้าง อิทธิพลทางวัฒนธรรม 10 Law and Globalization

25 การขยายอิทธิพลและกิจกรรมโดยกลุ่มคน
คนส่วนน้อยครองงำคนส่วนมาก แบบจักรวรรดิ Empire ดินแดนที่พระอาทิตย์ไม่เคยตกดิน – British Empire 1897 10 Law and Globalization

26 การขยายอิทธิพลและกิจกรรมโดยกลุ่มคน
คนส่วนใหญ่ปฏิวัติจากเบื้องล่าง แบบมติมหาชนMultitude 10 Law and Globalization

27 11 Globalization and Law II
French Revolution 1789  07/01/2013 11 Globalization and Law II

28 11 Globalization and Law II
Russia Revolution February On February Lenin’s Lasting Reforms: The 1917 October Revolution and Reactions in Russia 07/01/2013 11 Globalization and Law II

29 11 Globalization and Law II
07/01/2013 11 Globalization and Law II

30 ผลกระทบจากโลกาภิวัตน์
ผลทางการเมือง รัฐชาติ องค์เหนือรัฐ ประชาสังคมข้ามชาติ ผลทางเศรษฐกิจ การค้า/สินค้า การลงทุนข้ามชาติ ทรัพย์สินทางปัญญา กิจกรรมของบรรษัทข้ามชาติ 10 Law and Globalization

31 บางประเทศเคยรวมเป็นภูมินิเวศวัฒนธรรมเดียวกัน

32 ปัจจุบันเราพิจารณาไปอีกแบบหนึ่ง

33 ยุโรปในสงครามโลกครั้งที่สอง

34 ผลกระทบจากโลกาภิวัตน์
ผลทางสังคม พรมแดน สัญชาติ สิทธิ-หน้าที่ของคนข้ามรัฐ สังคมของคนข้ามรัฐและพหุสังคม ผลทางวัฒนธรรม วัฒนธรรมเชิงเดี่ยวครอบงำโลก วัฒนธรรมป๊อบ วัฒนธรรมบริโภค ไร้ราก ไร้วัฒนธรรมของตนเองที่เป็นอัตลักษณ์ 10 Law and Globalization

35

36

37

38

39 พรมแดนเป็นเส้นสมมุติ
รัฐๆ หนึ่งอาจเกินขึ้นและล่มสลายไปในเวลาเพียงช่วง ชีวิตเดียว ในยุโรปกลาง บุคคลส่วนมากอยู่ในสถานะไม่ชัดเจน เช่น  Austria, Liechtenstein, Slovenia, Czech Republic, Hungary, Poland, Slovakia, Croatia, Romania, Serbia, Ukraine

40 สหภาพยุโรป (2009) The European Union received
the 2012 Nobel Peace Prize for having "contributed to the advancement of peace and reconciliation, democracy, and human rights in Europe."

41 ความเปลี่ยนแปลงของ โลกาภิวัตน์ที่กระทบต่อกฎหมาย
การล่าอาณานิคม เพื่อใช้ทรัพยากรของคนอื่น การกระจายตัวของประเทศ เจ้าอาณานิคมแบบจักรวรรดินิยม การปฏิวัติอุตสาหกรรม การสะสมทุนจนโตแล้วไปแตกที่อื่น สงครามมหาอำนาจโลกตะวันตก รัฐชาติ ชาตินิยม ชาติพันธุ์นิยม การกำเนิดสหประชาชาติ การปลดปล่อยอาณานิคมทางเศรษฐกิจ การเมือง สงครามเย็น ระหว่างอุดมการเศรษฐกิจการเมืองสองขั้ว ชัยชนะของวัฒนธรรมเสรีนิยมสมัยใหม่ โลกาภิวัตน์ การปฏิวัติคลื่นลูกที่ 3 10 Law and Globalization

42 อุดมการณ์โลกาภิวัตน์ กับการต่อสู้ทางเศรษฐกิจการเมือง
1 อุดมการณ์วัฒนธรรมสังคมนิยม ความเสมอภาคของปัจเจกชน ความเป็นธรรมของสังคม ยึดสังคมเป็นหลัก 2 อุดมการณ์วัฒนธรรมทุนนิยมเสรี เสรีภาพของปัจเจกชน ความมั่งคั่ง ปัจเจกชนนิยม 10 Law and Globalization

43 กฎหมายต่างๆที่สะท้อน กระแสโลกาภิวัตน์
กฎหมายระหว่างประเทศ จัดแบ่งตามความสัมพันธ์ออกเป็น 2 ประเภท คือ กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดี บุคคล และกฎหมายระหว่าง ประเทศแผนกคดีเมือง กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล คือ กฎหมายว่าด้วย ความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนกับเอกชน ที่มีมิติระหว่างประเทศเข้ามา เกี่ยวข้อง กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีเมือง คือกฎหมายว่าด้วย ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับรัฐ องค์การระหว่างประเทศและรัฐ-เอกชน การแบ่งประเภทของกฎหมายระหว่างประเทศอีกแบบซึ่งอยู่บนพื้นฐาน ของเนื้อหาสาระของกฎหมาย ได้แก่ กฎหมายสิทธิมนุษยชน กฎหมาย เศรษฐกิจระหว่างประเทศ กฎหมายการค้าระหว่างประเทศ 10 Law and Globalization

44 กฎหมายระหว่างประเทศ แผนกคดีบุคคล (1)
กฎหมายสัญชาติ ความเชื่อมโยงระหว่างรัฐกับคนชาติของรัฐนั้นๆ  หลักดินแดน และหลักสายโลหิต การมีสิทธิพลเมืองเชื่อมโยงไปสู่การมีอำนาจในการจัดการในรัฐนั้น เช่น ผู้มีสัญชาติของรัฐนั้นๆ มีสิทธิเลือกตั้ง ผู้มีสัญชาตินั้นมาเป็นระยะเวลาหนึ่ง มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้ง การดำรงตำแหน่งระดับสูงเช่น ประมุขของรัฐ หรือประมุขของฝ่าย บริหาร คณะรัฐมนตรี ต้องมีสัญชาติโดยการเกิด กำหนดห้ามพรรคการเมืองรับบริจาคจากคนต่างด้าว 10 Law and Globalization

45 กฎหมายระหว่างประเทศ แผนกคดีบุคคล (2)
กฎหมายขัดกัน เมื่อคนของรัฐหนึ่งไปเกี่ยวข้องกับ คน ของรัฐอื่นหรือเข้าไปในดินแดนของรัฐอื่น แล้วไปมี เหตุการที่ต้องเกี่ยวข้องกับกฎหมาย กฎหมาย “ขัดกัน” เพราะต้องตัดสินว่าต้องใช้กฎหมาย ของรัฐใดมาปรับใช้กับกรณีที่เกิดขึ้น ใช้จุดเกาะเกี่ยวของกฎหมายที่ใกล้ชิดที่สุดกับกรณี 10 Law and Globalization

46 กฎหมายระหว่างประเทศ แผนกคดีเมือง (1)
โลกาภิวัตน์ ทำให้รัฐต่างๆเข้ามีการติดต่อระหว่างกันมากขึ้น รัฐต่างมีอำนาจอิสระ (อำนาจอธิปไตย) ดังนั้นกฎหมายที่จะนำมาใช้ บังคับรัฐต่างๆได้จึงต้องอาศัยการยอมรับจากรัฐนั้นๆ สัญญาว่าจะ ปฏิบัติตามข้อตกลง  “Pacta Sunt Servanda” = agreement must be kept มีระดับต่างๆของกฎหมายระหว่างประเทศ สนธิสัญญา(treaty) อนุสัญญา(Convention) พิธีสาร (Protocol) กติกา(Covenant) ข้อตกลง(Agreement) บันทึก ข้อตกลง(Memorandum of Agreement)  ต้องดูว่ามี ผลผูกพันตามข้อบังคับอย่างไร 10 Law and Globalization

47 กฎหมายระหว่างประเทศ แผนกคดีเมือง (2)
นอกจากนี้ยังมี กฎเกณฑ์ที่กลายมาเป็นจารีตประเพณีระหว่างประเทศ มีการ ยกระดับของความเป็นกฎหมายที่รัฐต่างๆยอมรับว่ามีสถานะเป็น “กฎหมาย จารีตประเพณีระหว่างประเทศ” customary international law( แผนกคดีเมือง) เช่น war crime, crimes against humanity ที่แม้ ไม่ได้ลงนาม ก็ต้องปฏิบัติตาม เหตุใดจึงต้องมีกฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีเมือง? องค์กรใดจะเข้ามาเป็นผู้บังคับใช้กฎหมายนี้ได้? ใครจะอาจหาญเข้ามาทำ หน้าที่เป็นตำรวจโลก? การพัฒนาของกฎหมายระหว่างประเทศ และองค์กรโลกบาลหลังสงครามโลก องค์กรสหประชาชาติ 10 Law and Globalization

48 11 Globalization and Law II
07/01/2013 11 Globalization and Law II

49 United Nations

50 องค์กรโลกบาล intergovernmental organization
มีอำนาจบางประการเหนืออธิปไตยของรัฐ บางกรณีมีสภาพบังคับ อำนาจ เช่น การออกกฎหมายภายในประเทศ (เอกนิยม-ทวินิยม) สภาพบังคับ เช่น คว่ำบาตร, ทำสงครามในนามองค์กรโลกบาล หลังวิกฤติเศรษฐกิจ 2540 (IMF) นโยบายตรึงอัตราดอกเบี้ยไว้ในระดับสูงกว่าร้อยละ 20 แปรรูปรัฐวิสาหกิจ (Privatization) ฯลฯ

51 Globalization and the Law III
1 Actors บุคคลในกฎหมายระหว่างประเทศ State and non-state actors 2 ภาวะของโลกาภิวัตน์ในโลกปัจจุบัน 10 Law and Globalization

52 Actors in International Law
บุคคลในกฎหมายระหว่างประเทศ – รัฐ ความเคลื่อนไหวข้ามพรมแดน(มองในมิติของผู้กระทำ) ทั้งรัฐ กับรัฐ เอกชนกับเอกชน เอกชนกับรัฐ ในมิติทั้ง 4 ด้าน เศรษฐกิจ การเมือง สังคมและวัฒนธรรม เหตุผลที่บุคคลต่างๆใช้กฎหมายระหว่างประเทศเป็นเครื่องมือ - เมื่อเครื่องมือที่มีกฎหมายภายในไม่ได้ผล 10 Law and Globalization

53 องค์กรระหว่างประเทศ การเกิดขึ้นขององค์กรระหว่างประเทศต่างๆ
มักอยู่บนพื้นฐานของข้อตกลงระหว่างรัฐ พหุภาคี หรือทวิภาคี United Nations GATT (General Agreement on Tariffs and Trade)  WTO (World Trade Organization) IMF, World Bank, ADB ASEAN FTA 10 Law and Globalization

54 สหประชาชาติ หรือ ยูเอ็น (United Nations - UN)
ก่อตั้งขึ้นอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ หลัง สิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่สอง เป็นองค์การระหว่างประเทศที่ กำเนิดขึ้นเป็นองค์การที่สองต่อจากสันนิบาตชาติ (The League of Nations) มีสมาชิกถาวรในคณะมนตรีความมั่นคงอยู่ 5 ประเทศ อัน ประกอบด้วย สาธารณรัฐประชาชนจีน (แทนที่สาธารณรัฐจีน) ฝรั่งเศส รัสเซีย (แทนที่สหภาพโซเวียต) สหราชอาณาจักร และ สหรัฐอเมริกา 10 Law and Globalization

55 สหประชาชาติ หรือ ยูเอ็น (United Nations - UN)
มีการแบ่งเป็น 6 องค์กรหลัก สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมแห่งสหประชาชาติ คณะมนตรีภาวะทรัสตีแห่งสหประชาชาติ สำนักงานเลขาธิการแห่งสหประชาชาติ ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ นอกจากนี้ยังมีองค์กรอื่น ๆ อีกเช่น WHO UNESCO UNICEF UNEP UNDP UNHCR ILO 10 Law and Globalization

56 การรวมตัวกันขององค์กระหว่างประเทศ
เพื่อรักษาความสงบสุขของโลก เพื่อสร้างหลักประกันสิทธิและเสรีภาพ  สิทธิพลเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สร้างกติกาที่เป็นธรรมในการแข่งขันทางการค้า รักษาและฟื้นฟูทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมโลก 10 Law and Globalization

57 Non-State Actors ความเคลื่อนไหวของ non-state actors เช่น องค์กรด้านสิทธิมนุษยชน สิ่งแวดล้อม Green Peace, Human Rights Watch, Red Cross, OXFEM ปัญหาของการยอมรับในทางกฎหมาย – มีอำนาจฟ้อง คดีสู่องค์กรระหว่างประเทศหรือไม่? ประเด็นหลักอยู่ที่เป็นผู้เสียหายโดยตรงหรือไม่ 10 Law and Globalization

58 Non-State Actors ความเคลื่อนไหวของ non-state actors เช่น องค์กรด้านสิทธิมนุษยชน สิ่งแวดล้อม Green Peace, Human Rights Watch, Red Cross ปัญหาของการยอมรับในทางกฎหมาย – มีอำนาจฟ้อง คดีสู่องค์กรระหว่างประเทศหรือไม่? ประเด็นหลักอยู่ที่เป็นผู้เสียหายโดยตรงหรือไม่ 10 Law and Globalization

59 กลไกในการบังคับใช้กติการะหว่างประเทศ
การเข้าร่วมเป็นภาคี การให้สัตยาบันในข้อตกลงระหว่างประเทศ การนำมาบังคับใช้ภายในรัฐ การทำรายงานและการติดตามผลการปฏิบัติตามข้อตกลง ระหว่างประเทศ การจัดการกับข้อพิพาท จบ ☃ 10 Law and Globalization


ดาวน์โหลด ppt การตอบข้อสอบอัตนัย 1. ตอบคำถาม 2. วิธีการให้เหตุผลในการตอบคำถาม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google