ระบบการตรวจสอบถ่วงดุลอำนาจทางการเมือง โดย ศาสตราจารย์ ดร.สมคิด เลิศไพฑูรย์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
สมบูรณาญาสิทธิราชย์อำนาจเบ็ดเสร็จเด็ดขาด ระบบเดิม K สมบูรณาญาสิทธิราชย์อำนาจเบ็ดเสร็จเด็ดขาด อำนาจนิติบัญญัติ อำนาจบริหาร อำนาจตุลาการ
ไม่ให้ใครมีอำนาจเบ็ดเสร็จเด็ดขาด ระบบใหม่ ทฤษฎีแบ่งแยกอำนาจ Montesquieu ไม่ให้ใครมีอำนาจเบ็ดเสร็จเด็ดขาด อำนาจนิติบัญญัติ อำนาจบริหาร อำนาจตุลาการ สภา ครม. ศาล
ที่เกิดจากการแบ่งอำนาจ ระบบการปกครอง ที่เกิดจากการแบ่งอำนาจ ระบบประธานาธิบดี ระบบรัฐสภา ประมุขของประเทศกับหัวหน้าฝ่ายบริหารเป็นคนเดียวกัน แบ่งแยกเด็ดขาด ไม่ค่อยสัมพันธ์กัน ประมุขของประเทศกับหัวหน้าฝ่ายบริหารเป็นคนละคนกัน แบ่งแยก ไม่เด็ดขาด
การคานกันและกันในระบบรัฐสภา ฝ่ายนิติบัญญัติ ฝ่ายบริหาร ฝ่ายตุลาการ ออกกฎหมายให้ฝ่ายบริหารและตุลาการปฏิบัติ อภิปรายไม่ไว้วางใจนายก + รมต.ได้ จัดสรรงบประมาณ ยุบสภาได้ ตัดสินคดีให้ฝ่ายบริหารและนิติบัญญัติรับผิดได้
รัฐธรรมนูญกับ การสร้างระบบคานกัน รัฐธรรมนูญกับ การสร้างระบบคานกัน 2540 2550 เห็นว่าระบบรัฐสภาแบบเดิมฝ่ายนิติบัญญัติและศาลคุมฝ่ายบริหารได้น้อย สร้างองค์กรประเภทที่ 4 คือ องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ สร้างศาลประเภทใหม่ คือ ศาลปกครองและศาลรัฐธรรมนูญ เห็นว่าฝ่ายบริหารมีอำนาจมากไป เห็นว่าองค์กรประเภทที่ 4 ยังทำงานไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอ เห็นว่าที่มาของศาลโดยเฉพาะศาลรัฐธรรมนูญมีปัญหา
มาตรการตามรัฐธรรมนูญ 2550 เพื่อมุ่งเน้นไปที่การควบคุมฝ่ายบริหาร
1. เพิ่มอำนาจให้กับฝ่ายนิติบัญญัติ ส.ส. และประชาชน ออกกฎหมาย ได้ง่ายขึ้น ส.ส. ไม่ต้อง ฟังมติพรรค ส.ว. ผสมผสาน เพื่อให้เป็นองค์กร ถ่วงดุลได้
2. ปรับอำนาจฝ่ายบริหารให้เหมาะสม เป็น รมต. แล้ว ไม่ต้องหลุดจาก ส.ส. ห้ามแทรกแซง การแต่งตั้ง โยกย้าย, การแสวงหาประโยชน์ การตีความ สนธิสัญญา
3. ปรับปรุงที่มาและอำนาจหน้าที่ของศาล โดยเฉพาะ การได้มาซึ่ง ศาลรัฐธรรมนูญ เพิ่มที่มาของ การฟ้องร้องศาล ให้มากขึ้น เช่น จากประชาชน โดยตรง, จาก กรรมการสิทธิ์ เพิ่มอำนาจศาล ในการวินิจฉัย สนธิสัญญา
4. ปรับปรุงที่มาและอำนาจหน้าที่ขององค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ ให้หยิบยก เรื่องได้ ให้ยื่นเรื่อง ถอดถอนได้ ง่ายขึ้น ให้ผู้ตรวจการ แผ่นดินมี อำนาจในเรื่อง คุณธรรม จริยธรรม ให้อัยการ เป็นองค์กร ตามรัฐธรรมนูญ
ข้อสังเกต เรามาถูกทางที่ไม่ควรให้ใครมีอำนาจมาก ระบบการตรวจสอบถ่วงดุลควรจะเข้มข้นมากกว่านี้ ระบบการตรวจสอบถ่วงดุลมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับที่มา ระบบตรวจสอบถ่วงดุลแปรผันตามผู้มีอำนาจในแต่ละคณะแต่ละกลุ่ม ระบบตรวจสอบที่ทำโดยประชาชนยังล้มเหลว