เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ วาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
ภารกิจของกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ที่ตอบสนองต่อนโยบายรัฐบาลและ Road Map ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ข้อ 6 : การเพิ่มศักยภาพ ทางเศรษฐกิจ ของประเทศ ข้อ 6.4 : ดูแลเกษตรกรให้มีรายได้ ที่เหมาะสม ข้อ 6.15 : (1) ปรับโครงสร้างการผลิตสินค้าเกษตรให้สอดคล้องกับความต้องการ (2) สนับสนุนให้สหกรณ์เพิ่มบทบาทในฐานะผู้ซื้อพืชผลจนถึงการแปรรูป และการส่งออก
ความสอดคล้องนโยบายรัฐบาล ข้อ 6.4 ดูแลเกษตรกรให้มีรายได้ที่เหมาะสมด้วยวิธีการต่างๆ เช่น การลดต้นทุนการผลิต การช่วยเหลือในเรื่องปัจจัยการผลิต การช่วยเหลือเกษตรกรรายย่อย การใช้กลไกตลาดดูแลสินค้าเกษตร โครงการสร้าง รายได้และพัฒนา การเกษตรแก่ชุมชน เพื่อบรรเทา ปัญหาภัยแล้ง ก่อนดำเนินโครงการ ให้คำแนะนำแก่เจ้าหน้าที่ของ ศบกต. และกลุ่ม/องค์กรเกษตรกร เกี่ยวกับการจัดทำบัญชีและรายงานการปฏิบัติงานตามโครงการ กรณี ศบกต. และกลุ่ม/องค์กรเกษตรกรมีปัญหาเกี่ยวกับการจัดทำ บัญชีและการรายงานตามโครงการ ให้สำนักงานเกษตรจังหวัด ประสานความร่วมมือกับ สตส. ในพื้นที่ เพื่อให้คำแนะนำและร่วมกัน แก้ไขปัญหาอย่างทันท่วงที ระหว่าง การดำเนินโครงการ ตรวจสอบบัญชีและเอกสารหลักฐานการเบิกจ่ายเงินโครงการ ของ ศบกต. และกลุ่ม/องค์กรเกษตรกร เมื่อสำนักงานเกษตรจังหวัด แจ้งต่อ สตส. ในพื้นที่ว่าพร้อมให้ตรวจสอบ แจ้งผลการตรวจสอบให้สำนักงานเกษตรจังหวัดทราบ ภายใน 15 วัน หลังการตรวจสอบ ดำเนินโครงการ เสร็จสิ้น 3
ความสอดคล้องนโยบายรัฐบาล ข้อ 6.15 ด้านเกษตรกรรมดำเนินการ 2 เรื่อง คือ (1) ปรับโครงสร้างการผลิตสินค้าเกษตรให้สอดคล้องกับความต้องการ (2) สนับสนุนให้สหกรณ์เพิ่มบทบาทในฐานผู้ซื้อพืชผลจนถึงการแปรรูปและส่งออก แผนการปรับโครงสร้างการผลิตสินค้าเกษตร จัดทำคำแนะนำวิธีปฏิบัติในการจัดทำบัญชี การดำเนินธุรกิจรวบรวมยางพาราของสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร และวิสาหกิจชุมชนที่ได้รับสินเชื่อ ตามโครงการฯ จำนวน 674 แห่ง (56 จังหวัด) วางระบบบัญชีและระบบการควบคุมภายใน กำกับแนะนำการจัดทำบัญชี รายงานความก้าวหน้าผลการปฏิบัติงานโครงการฯ 1. โครงการ สนับสนุน สินเชื่อสถาบันเกษตรกร ภายใต้แนวทาง การพัฒนายางพารา ทั้งระบบ (1) โครงการสนับสนุนสินเชื่อสถาบันเกษตรกร เป็นทุนหมุนเวียน เพื่อรวบรวมยางพารา (สินเชื่อ 10,000 ลบ.) จัดทำคำแนะนำวิธีปฏิบัติในการจัดทำบัญชี การดำเนินธุรกิจรวบรวมยางพาราของสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกรที่ได้รับสินเชื่อตามโครงการฯ จำนวน 204 แห่ง (36 จังหวัด) วางระบบบัญชีและระบบการควบคุมภายใน กำกับแนะนำการจัดทำบัญชี รายงานความก้าวหน้าผลการปฏิบัติงานโครงการฯ (2) โครงการสนับสนุนสินเชื่อสถาบันเกษตรกร เพื่อแปรรูปยางพารา (สินเชื่อ 5,000 ลบ.) 4
ความสอดคล้องนโยบายรัฐบาล ข้อ 6.15 ด้านเกษตรกรรมดำเนินการ 2 เรื่อง คือ (1) ปรับโครงสร้างการผลิตสินค้าเกษตรให้สอดคล้องกับความต้องการ (2) สนับสนุนให้สหกรณ์เพิ่มบทบาทในฐานผู้ซื้อพืชผลจนถึงการแปรรูปและส่งออก แผนการปรับโครงสร้างการผลิตสินค้าเกษตร 2. การปรับโครงสร้างส่งเสริมการเกษตรให้เป็นแปลงใหญ่ โดยยึดระบบ Zoning ที่เหมาะสม อบรมสอนแนะการจัดทำบัญชีครัวเรือน และบัญชีต้นทุนประกอบอาชีพทำนา แก่เกษตรกรผู้ผลิตเมล็ดพันธ์ข้าวคุณภาพดี เป้าหมายจัดตั้งธนาคารเมล็ดพันธ์ข้าวชุมชน จำนวน 15 แห่ง อบรมสอนแนะการจัดทำบัญชีครัวเรือน และบัญชีต้นทุนประกอบอาชีพ แก่เกษตรกรผู้เลี้ยงไหม 3. การจัดตั้ง ตลาดกลาง เส้นไหม 5
ความสอดคล้องนโยบายรัฐบาล ข้อ 6.15 ด้านเกษตรกรรมดำเนินการ 2 เรื่อง คือ (1) ปรับโครงสร้างการผลิตสินค้าเกษตรให้สอดคล้องกับความต้องการ (2) สนับสนุนให้สหกรณ์เพิ่มบทบาทในฐานผู้ซื้อพืชผลจนถึงการแปรรูปและส่งออก แผนการพัฒนาสหกรณ์ (1) โครงการบริหารจัดการผลผลิตทางการเกษตร ในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษชายแดน วิเคราะห์ศักยภาพของสหกรณ์ในเขตเศรษฐกิจพิเศษ เพื่อเพิ่มศักยภาพ ในการบริหารจัดการและการลงทุน เป็นการแก้ไขปัญหาผลผลิตให้มีเสถียรภาพ ด้านราคา เพิ่มมูลค่า และขยายช่องทางการขนส่งไปยังประเทศเพื่อนบ้าน ดำเนินการนำร่องในเขตเศรษฐกิจพิเศษ 2 แห่ง คือ - เขตเศรษฐกิจพิเศษแม่สอด จังหวัดตาก - เขตเศรษฐกิจพิเศษอรัญประเทศ จังหวัดสระแก้ว จัดทำระบบบัญชีธุรกิจรวบรวมและแปรรูปผลผลิตในเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน (2) การสร้างความเชื่อมั่น ในระบบสหกรณ์ มาตรการเพิ่มประสิทธิภาพงานตรวจสอบบัญชีสหกรณ์ การสร้างธรรมาภิบาล การปรับรื้อระบบการตรวจสอบสหกรณ์ 6
ความสอดคล้องนโยบายรัฐบาล พระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. 2542 ข้อ 6.15 ด้านเกษตรกรรมดำเนินการ 2 เรื่อง คือ (1) ปรับโครงสร้างการผลิตสินค้าเกษตรให้สอดคล้องกับความต้องการ (2) สนับสนุนให้สหกรณ์เพิ่มบทบาทในฐานผู้ซื้อพืชผลจนถึงการแปรรูปและส่งออก แผนการแก้ไขปัญหา สหกรณ์อย่างยั่งยืน การปรับปรุง พระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. 2542 ส่วนที่เกี่ยวข้องกับกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ คือ การแก้ไขคำว่า “งบดุล” เป็น “งบการเงิน” เนื่องจากงบดุลเป็นส่วนหนึ่งของงบการเงิน ดำเนินการร่วมกับกรมส่งเสริมสหกรณ์ อยู่ระหว่างคณะกรรมการพัฒนาและปรับปรุงกฎหมายของกระทรวงฯ พิจารณาก่อนเสนอ รมว.กษ. เพื่อเสนอ ต่อ ครม. (กรมส่งเสริมสหกรณ์ เป็นผู้ดำเนินการ) 7