GROUP ‘2’ slide to unlock
Enterprise Resource Planning : ERP ระบบการบริหารเพื่อวางแผนและจัดการทรัพยากร ความหมาย ERP ลักษณะสำคัญระบบ การใช้ ERPให้สำเร็จ การบริหารในองค์กร โครงสร้างของ ERP ขั้นตอนการนำ ERPมาใช้ ระบบ ERP หมายถึง? อ้างอิง จากเว็บ การนำ ERP เข้ามาใช้
ERP Enterprise Resource Planning : ERP
ความหมาย Enterprise Resource Planning : ERP ERP ย่อมาจาก Enterprise Resource Planning หมายถึง การวางแผนทรัพยากรทางธุรกิจขององค์กรโดยรวม เพื่อให้เกิดการใช้ประโยชน์อย่างสูงสุดของทรัพยากรทางธุรกิจขององค์กร ERP จึงเป็นเครื่องมือที่นำมาใช้ในการบริหารธุรกิจเพื่อแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นภายในองค์กร อีกทั้งยังช่วยให้สามารถวางแผนการลงทุนและบริหารทรัพยากรขององค์กรโดยรวมได้อย่างมีประสิทธิภาพ ERP จะช่วยทำให้การเชื่อมโยงทางแนวนอนระหว่างการจัดซื้อจัดจ้าง การผลิต และการขายทำได้อย่างราบรื่นผ่านข้ามกำแพงระหว่างแผนก และทำให้สามารถบริหารองค์รวมเพื่อให้เกิดผลประโยชน์สูงสุด MENU
“ห่วงโซ่ของมูลค่า (value chain)” ห่วงโซ่ของกิจกรรมที่สร้างมูลค่าให้กับลูกค้า จากรูปแบ่งกิจกรรมออกเป็นส่วนสำคัญ 3 ส่วน - การจัดซื้อ – การผลิต - การขาย MENU
โครงสร้างการบริหารจัดการภายในองค์กร โดยปกติโครงสร้างการบริหารจัดการภายในองค์กรจะเป็นการแบ่งตามหน้าที่รับผิดชอบ ( Functional Organization ) เช่น แผนกบัญชี การเงิน แผนกการตลาด แผนกขาย แผนกการผลิต แผนกทรัพยากรบุคคล เป็นต้น ซึ่งการบริหารในแต่ ละแผนกจะมีการบริหารจัดการระบบฐานข้อมูลต่าง ๆ แยกอิสระต่อกัน ต่างคนต่างเก็บข้อมูลของตนเองเพื่อที่จะครอบคลุมรูปแบบการทำงานพิเศษของแผนกนั้น ๆ โดยเฉพาะระยะหลังการเก็บข้อมูลและการจัดการฐานข้อมูลต่าง ๆ จะใช้ คอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยในการจัดการ โดยมี Soft ware ที่เข้ามาช่วยจัดการเก็บข้อมูล ทำให้ผู้บริหารในแผนก ต่าง ๆ สามารถบริหารและวางแผนงานได้สะดวกยิ่งขึ้น แต่ปัญหาที่เกิดขึ้นตามมา NEXT
เพื่อให้แผนกอื่นที่เกี่ยวข้อง หรือที่ต้องทำงานต่อจากอีกแผนก ทำการตรวจสอบและวางแผนการทำงานได้ ทำให้องค์กรสูญเสียโอกาสในการทำกำไรเป็นจำนวนมาก ตัวอย่างเช่น ระบบรับคำสั่งซื้อจากลูกค้า ซึ่งโดยปกติ จะเริ่มในรูปแบบของกระดาษที่เดินทางจากตะกร้าของแผนกหนึ่งไปยังตะกร้าของอีกแผนกหนึ่งไปจนทั่วบริษัท ตลอดเส้นทางดังกล่าว มักจะต้องมีการพิมพ์ข้อมูล และคีย์ข้อมูลซ้ำลงในระบบคอมพิวเตอร์ของแผนกที่แตกต่างกัน รูปแบบดังกล่าวทำให้เกิดความล่าช้า มีโอกาสสูญหายของใบสั่งซื้อ และการพิมพ์ข้อมูลเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ที่แตกต่างกันมีโอกาสเกิดข้อผิดพลาดสูง ดังนั้นองค์กรมีความจำเป็นที่ต้องการระบบการจัดการเชื่อมต่อสื่อสารกันระหว่างระบบฐานข้อมูลแต่ละแผนกเข้าด้วยกัน ERP จึงเป็นผสานฟังก์ชันเหล่านี้ทั้งหมดเข้าเป็นโปรแกรมซอฟต์แวร์แบบอินทิเกรตตัวเดียวที่ทำงานบนฐานข้อมูลเดียว ดังนั้นแผนกแต่ละแผนกจะสามารถแชร์ข้อมูลและติดต่อสื่อสารระหว่างกันได้ง่ายขึ้น MENU
การนำ ERP เข้ามาใช้งานในโรงงาน จากการปรับ ERP เข้าสู่โรงงานนั้นจะเป็นขั้นตอนที่เรียกว่า การติดตั้ง (Implementation ) ซึ่งทุกฝ่ายในโรงงานจะได้รับการอบรมการใช้งานทั้งในส่วนของแผนกที่รับผิดชอบ และส่วนกลาง ซึ่งขั้นตอนนี้มีความสำคัญอย่างยิ่งเนื่องจากจะส่งผลต่อประสิทธิภาพการทำงานของระบบโดยตรง หากใช้งานไม่ถูกต้องแล้วอาจสร้างปัญหาร้ายแรง หรือก่อให้เกิดความผิดพลาดในการทำงานได้ อย่างไรก็ตาม การ Implement ระบบ ERP ไม่ได้จบลงแค่การติดตั้ง ERP เพียงอย่างเดียวเท่านั้น บริษัทยังจำเป็นต้องตระหนักว่า ERP เป็นระบบที่ต้องการการปรับเปลี่ยนอย่างสม่ำเสมอ ซึ่งอาจรวมถึงการกระทบกระเทือนต่อการเปลี่ยนแปลงแนวนโยบายหรือวัฒนธรรมขององค์กร บ่อยครั้งที่ผู้ใช้งานจะพบว่าระบบ ERP ที่ Implement ไปนั้นไม่ตอบสนองความต้องการในการทำงานได้ เช่น ไม่สามารถติดตามข้อมูลการผลิตหรือการจัดการสินค้าคงคลังได้อย่างถูกต้อง MENU
ลักษณะสำคัญของระบบ ERP คือ 2. รวมระบบงานแบบ real time ของระบบ ERP 3. ระบบ ERP มีฐานข้อมูล(database) แบบสมุดลงบัญชี MENU
1. การบูรณาการระบบงานต่างๆ ของระบบ ERP (material flow) และการไหลของข้อมูล (information flow) ERP ทำหน้าที่เป็นระบบการจัดการข้อมูล ซึ่งจะทำให้การบริหารจัดการงานในกิจกรรมต่างๆ ที่เชื่อมโยงกันให้ผลลัพธ์ออกมาดีที่สุด พร้อม กับสามารถรับรู้สถานการณ์และปัญหาของงานต่างๆ ได้ทันที ทำให้สามารถตัดสินใจแก้ปัญหาองค์กรได้อย่างรวดเร็ว MENU
2. รวมระบบงานแบบ Real time ของระบบ ERP การรวมระบบงานต่างๆ ของระบบ ERP จะเกิดขึ้นในเวลาจริง (real time) อย่างทันที เมื่อมีการใช้ระบบ ERP ช่วยให้สามารถทำการปิดบัญชีได้ทุกวัน เป็นรายวัน คำนวณ ต้นทุนและกำไรขาดทุนของบริษัทเป็นรายวัน MENU
การรวมระบบงานของ ERP แบบ Real Time MENU การรวมระบบงานของ ERP แบบ Real Time MENU
3.ระบบ ERP มีฐานข้อมูล(database) แบบสมุดลงบัญชี การที่ระบบ ERP สามารถรวมระบบงานต่าง ๆ เข้าเป็นระบบงานเดียว แบบ Real timeได้นั้น ก็เนื่องมาจากระบบ ERP มี database แบบสมุดลงบัญชี ซึ่งมีจุดเด่น คือ คุณสมบัติของการเป็น 1 Fact1 Place ซึ่งต่างจากระบบแบบเดิมที่มีลักษณะ 1 Fact Several Places ทำให้ระบบซ้ำซ้อน ขาดประสิทธิภาพ เกิดความผิดพลาดและขัดแย้งของข้อมูลได้ง่าย MENU
MENU
โครงสร้างของ ERP package MENU
ระบบ ERP หมายถึงอะไร MENU ERP ย่อมาจาก Enterprise Resource Planning หมายถึง การวางแผนทรัพยากรทางธุรกิจขององค์กรโดยรวม เพื่อให้เกิดการใช้ประโยชน์อย่างสูงสุดของทรัพยากรทางธุรกิจขององค์กรERP จึงเป็นเครื่องมือที่นำมาใช้ในการบริหารธุรกิจเพื่อแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นภายในองค์กร อีกทั้งยังช่วยให้สามารถวางแผนการลงทุนและบริหารทรัพยากรขององค์กรโดยรวมได้อย่างมีประสิทธิภาพ ERP จะช่วยทำให้การเชื่อมโยงทางแนวนอนระหว่างการจัดซื้อจัดจ้าง การผลิต และการขายทำได้อย่างราบรื่น ผ่านข้ามกำแพงระหว่างแผนก และทำให้สามารถบริหารองค์รวมเพื่อให้เกิดผลประโยชน์สูงสุด ระบบ ERP เป็นระบบสารสนเทศขององค์กรที่นำแนวคิดและวิธีการบริหารของ ERP มาท าให้เกิดเป็นระบบเชิงปฏิบัติในองค์กร ระบบ ERP สามารถบุราณการ (integrate)รวมงานหลัก (core business process) ต่างๆ ในบริษัททั้งหมด ได้แก่ การจัดจ้าง การผลิต การขาย การบัญชี และการบริหารบุคคล เข้าด้วยกันเป็นระบบที่สัมพันธ์กันและสามารถเชื่อมโยงกันอย่าง real time MENU
ทำอย่างไรที่จะทำให้การนำ ERP มาใช้ให้ประสบความสำเร็จ MENU
ขั้นตอนการวางแผนการนำ ERP มาใช้ MENU
MENU << BACK
MENU HOME
Human resource management ปัจจุบันเกิดการเปลี่ยนแนวความคิดใน “การบริหารจัดการคน” ให้สามารถตอบสนองต่อองค์กรได้ ซึ่งเชื่อว่า มนุษย์มีการเรียนรู้ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ที่จะนำไปสู่การพัฒนายกระดับผลผลิต ผลลัพธ์ สามารถสร้างมูลค่าเพิ่มให้องค์กรให้เกิดความแข็งแกร่ง และมีความได้เปรียบเหนือคู่แข่ง การบริหารคนให้สอดคล้องกับการบริหารงานประเภทอื่นๆ ขององค์กรในลักษณะนี้ ก่อให้เกิดแนวคิดของการบริหารทรัพยากรบุคคลเชิงกลยุทธ์ (Strategic Human Resource Management: SHRM) ซึ่งเป็นการบริหารทรัพยากรบุคคลที่มุ่งเน้น “สร้างและพัฒนา” ระดับขีดความสามารถของบุคลากร สร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน สามารถกำหนดทิศทางการบริหารทรัพยากร บุคคลให้มุ่งสู่เป้าหมายพันธ์กิจของ องค์กรนั้นๆ MENU
กับสภาวะการแข่งขันที่รุนแรงทัดเทียมกันมากยิ่งขึ้น เป็นเหตุ ให้องค์กรต้องเริ่มหันมาสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน (Competitive Advantage) ในแง่มุมต่างๆ มากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะด้านกาบริหารจัดการ “คน” เพราเนื่องจากว่า การสร้างหรือพัฒนา “คน” ขององค์กรเปรียบ เสมือนการพัฒนาทุนส่วนสำคัญขององค์กร อาจเรียกได้ว่า “ทุนมนุษย์ (Human Capital) จากสภาพแวดล้อม สังคม เศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว โลกก้าวเข้าสู่ยุคการบริหารที่เน้นองค์ความรู้ (Knowledge Economy) เป็นหลัก องค์กรต่างๆ ต่างเผชิญ HOME
Customer Relationship Management การบริหารความสัมพันธ์กับลูกค้า ซึ่งหมายถึงวิธีการที่เราจะบริหารให้ลูกค้ามีความรู้สึกผูกพันกับสินค้า ,บริการ หรือองค์กรของเรา เมื่อลูกค้าเค้ามีความผูกพันในทางที่ดีกับเรา แล้วก็ลูกค้านั้นไม่คิดที่จะเปลี่ยนใจไปจากสินค้าหรือบริการของเรา ทำให้เรามีฐานลูกค้าที่มั่นคง และนำมาซึ่งความมั่นคงของบริษัท ดังนั้น การที่จะรู้ซึ้งถึงสถานะความผูกพันกับลูกค้าได้นั้น เราก็ต้องอาศัยการสังเกตพฤติกรรมของลูกค้า แล้วนำมาวิเคราะห์หาความเกี่ยวข้องระหว่าง พฤติกรรมของลูกค้ากับกลยุทธ์ทางการตลาดของเรา MENU
- ประโยชน์ของ CRM ต่อธุรกิจ. 1 - ประโยชน์ของ CRM ต่อธุรกิจ 1.CRM ช่วยเพิ่มความสามารถในการให้บริการลูกค้าได้ดีขึ้น 2.CRM ช่วยพัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างบริษัทกับลูกค้าให้ดีขึ้น ช่วยให้บริษัทรู้ความสนใจ ความต้องการ และพฤติกรรมการซื้อของลูกค้า HOME
MENU Manufacturing RESOURCE PLANNING : MRP การใช้ระบบคอมพิวเตอร์เพื่อช่วยในการควบคุมวัสดุ และการ วางแผนการผลิต ระบบวางแผนความต้องการวัสดุจะพิจารณา ความต้องการวัสดุจนถึงระดับผลิตภัณฑ์โดยคำนวณความต้อง การส่วนประกอบของผลิตภัณฑ์ในแต่ละช่วงเวลาเพื่อจัดการสั่ง ผลิตหรือสั่งซื้อส่วนประกอบนั้นๆ นอกจากนี้ระบบวางแผนความ ต้องการวัสดุยังทำหน้าที่เป็นกลไกในการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง ตารางการผลิตเมื่อมีการทบทวนแผนงาน และเป็นระบบที่ใช้ใน งานบริหารการผลิตในธุรกิจประเภทอุตสาหกรรมการผลิต เป็นระบบที่ช่วยในการวางแผนเกี่ยวกับความต้องการใช้วัตถุดิบว่าใช้ในช่วงใดบ้าง ปริมาณเท่าใด นำไปใช้ในเงื่อนไขอะไร (ผลิต, ขาย) เพื่อให้ปริมาณสินค้าคงคลังอยู่ในระดับที่เหมาะสม (ไม่สูงหรือต่ำเกินไป) รวมไปถึงการจัดการเรื่อง เงินทุน แรงงาน และเครื่องจักร และ การจัดการวางแผน และ ควบคุมการผลิตในโรงงานอุตสาหกรรม ให้มีประสิทธิภาพสูงสุด MENU
HOME เครื่องมืออย่างหนึ่งที่จะช่วยจัดการกับปัญหาเหล่านี้ มันสามารถ ตอบคำถามให้แก่เราดังนี้ - อะไรคือความต้องการ - What items are required? - ปริมาณเท่าไรที่ต้องการ - How many are required? - เมื่อไรที่ต้องการ - When are they required?
Supply Chain Management : SCM กล่าวคือ ตั้งแต่การรับวัตถุดิบมาจาก Suppliesแล้วเปลี่ยนวัตถุดิบนั้นให้เป็นสินค้าขั้นกลาง และสินค้าขั้นสุดท้าย จนกระทั่งจัดส่งสินค้าให้แก่ลูกค้า ผู้ส่งมอบ (supplies) โรงงาน ลูกค้า กระบวนการผลิต (ในมุมมองใหม่) MENU เทคโนโลยีสารสนเทศกับการจัดการโซ่อุปทาน
HOME Supply Chain Management : SCM
Financial Resource Management : FRM การจัดการทรัพยากรการเงินใน resource ERP รวบรวมข้อมูลทางการเงินจากหน่วยงานการทำงานต่างๆ และสร้างรายงานทางการเงินที่มีคุณค่าเช่น งบดุล งบทดลอง Ledgers ทั่วไปรายงานทางการเงินรายได้มาสรุป บัญชี, การวิเคราะห์กำไรขั้นต้นและค่าใช้จ่าย MENU
Financial Resource Management : FRM MENU
“อ้างอิง จากเว็บ” www.logisticscorner.com www.tistr-foodprocess.net www.sirikitdam.egat.com - ประวัติ และบทความ ERP อ้างอิงจาก http://www.sirikitdam.egat.com/sara/erp.php (สืบค้นอังคาร ที่ 28 เดือนสิงหาคม พ.ศ 2555) ธุรกิจภายในประเทศ อ้างอิงจาก http://cpe.kmutt.ac.th/previousproject/2006 /22/index.html (สืบค้นอังคาร ที่ 28 เดือนสิงหาคม พ.ศ 2555) MENU
ตัวอย่างซอฟท์แวร์ ERP หรือระบบ ERP ที่มีชื่อเสียงในประเทศไทย มีดังนี้ - SAP ตัวอย่างหน้าจอ SAP Material Management - PeopleSoft ตัวอย่างหน้าจอ People Soft Scorecards
LINK : ERP ในองค์กรธุรกิจ http://www.youtube.com/watch?v=Z0Oi9J69sUQ http://www.youtube.com/watch?v=5oxo1QTirZI&feature=relmfu ตัวอย่างซอฟท์แวร์ ERP MENU
MEMBERs THE END Mr. Oobkit Kanaree 5506105062 Mr. Chaowalit norprom5506105017 Mr. Saknarin inlaw 5506105046 Mr. Kampanat manoon 5506105002 Mr. Akkarawut Ngandee 5506105058 Mr. Nutth Tan-aud 5506105018 THE END