บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน (Elasticity of Demand and Supply) ผศ.ดร.จารุวรรณ ชนม์ธนวัฒน์ J.chontanawat@gmail.com.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of Demand)
Advertisements

บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
แนวทางการจัดทำบัญชีสมดุลผลไม้
“กลยุทธ์การบริหารความเสี่ยง จากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ”
สุกร ส่วนวิจัยเศรษฐกิจปศุสัตว์และประมง สำนักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร
บทที่ 1 การรวมธุรกิจ.
การค้าระหว่างประเทศ.
เฉลยแบบฝึกหัดเตรียมความพร้อมก่อนเรียน บทที่ 3 Consumer Behavior
ครูพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี การแทรกแซงตลาดของรัฐบาล ผู้สอน นางพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี โรงเรียนวังไกลกังวล ผู้สอน นางพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี โรงเรียนวังไกลกังวล สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม.
BUNCHEE TIPS BY AOODY FOR MM MEETING ON FEBUARY 17, 2014.
การรายงานผลการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
การบริหารการค้าปลีกและการค้าส่ง
บทที่2 การวางแผนการผลิตและกำลังการผลิต
อุปสงค์ ( demand ) อุปทาน ( supply )
ข้อดี ข้อเสีย ของ ค่าเงินบาทอ่อน
โปรแกรมสต๊อกสินค้า และ โปรแกรมขายหน้าร้าน Nanosoft Smart INV.NET วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปและการ ประยุกต์ใช้งาน อ. วิสุตร์ เพชรรัตน์
เรื่องที่ครอบคลุม การซื้อขายสินค้าในตลาดแข่งขันสมบูรณ์
การจัดซื้อจัดจ้างตามระเบียบ พัสดุ ประกาศคณะรักษาความรักษา ความสงบแห่งชาติ การซื้อและ การจัดจ้างด้วยระบบ อิเล็กทรอนิกส์ (e – GP) และการบริหาร งบประมาณ ขององค์กรปกครองส่วน.
เงินเฟ้อ Inflation.
กระบวนการทางการบัญชี บันทึก  สมุดรายวันขั้นต้น
การกำหนดราคาและผลผลิต ในตลาดแข่งขันสมบูรณ์
รายชื่อกลุ่ม 1.น.ส.อริศรา มีตัน ปวส. 2/6 รหัส น.ส.พรพรรณ หมอนสวัสดิ์ ปวส. 2/6 รหัส น.ส.ศลัญญากรณ์ ศิลป์มณีโชค ปวส. 2/6 รหัส
Content Team: คู่มือการป้องกันสินค้าลอกเลียนแบบ 9 July 2015
ความยืดหยุ่น ( Elasticity )
ACCOUNTING FOR INVENTORY
บทที่ 6 ต้นทุนการผลิตและรายรับจากการผลิต
สัมมนาการตลาด (Seminar in Marketing)
บทที่ 1 หน่วยผลิตและทางเลือกภายใต้โครงสร้างตลาด
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
บทที่ 2 กลยุทธ์ช่องทางการจัดจำหน่าย (Place Strategy)
บทที่ 8 เงินเฟ้อ เงินฝืด และการว่างงาน
Factors Markets of Resource Markets ตลาดปัจจัยการผลิต
1. การสอบกลางภาค วันที่ 6 ตุลาคม เวลา น. เก็บ 40 % 2
วัสดุคงเหลือ.
บทที่ 8 การบริหารสินค้าคงเหลือ
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน (Elasticity of Demand and Supply) ผศ.ดร.จารุวรรณ ชนม์ธนวัฒน์ SSC 281 เศรษฐศาสตร์ (Economics)
บทที่ 5 การวางแผนทางการเงิน ผศ. อรทัย รัตนานนท์ รศ.อรุณรุ่ง วงศ์กังวาน.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ระบบเศรษฐกิจ.
บทที่ 4 พฤติกรรมผู้บริโภค
ดีมานด์ ซัพพลาย และราคาตลาด (Demand Supply and Market Price)
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์ กรมปศุสัตว์
บทที่ 3 พฤติกรรมผู้ผลิต.
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
MGT 228 การจัดการสมัยใหม่ บทที่ 3 สภาพแวดล้อมของการจัดการธุรกิจ
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปการตลาดระดับโลก
บทที่ 6 การปันส่วนต้นทุนและต้นทุนฐานกิจกรรม
บทที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค (Theory of Consumer Behavior)
Marketing.
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี
บทที่ 3 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ต้นทุน-ปริมาณ-กำไร
Topic 11 เงินเฟ้อ เงินฝืด การว่างงาน
ตัวอย่างการจัดทำรายงานการผลิต และงบการเงิน
การเตรียมการป้องกันและแก้ปัญหาภัยแล้ง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
บทที่ 15 แผนการจ่ายเงินจูงใจ
สัมมนาการตลาด (Seminar in Marketing)
Chapter 7 การพยากรณ์ (Forecasting) Asst.Prof. Juthawut Chantharamalee
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
ขดลวดพยุงสายยาง.
การวางแผนกำลังการผลิต
รายได้ประชาชาติ รายวิชา : week 04.
อ.ชิดชม กันจุฬา (ผู้สอน)
กลยุทธ์ราคา (Pricing Strategy)
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
บทที่ 8 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม
บทที่ 7 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน (Elasticity of Demand and Supply) ผศ.ดร.จารุวรรณ ชนม์ธนวัฒน์ J.chontanawat@gmail.com

ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of Demand) ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา (Price Elasticity of Demand) ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ (Income Elasticity of Demand) ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาสินค้าอื่นที่เกี่ยวข้อง (Cross Elasticity of Demand)

ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of Demand) ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา (Price Elasticity of Demand) : การวัดเปอร์เซนต์การเปลี่ยนแปลงของปริมาณซื้อที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้าชนิดนั้น Price Elasticity Demand (Ed) = % change in quantity % change in price

การวัดความยืดหยุ่นของ D & S มี 2 วิธี 1. Point Elasticity (แบบจุด) : คำนวณจากจุดๆ เดียวบนเส้น Demand หรือ Supply ใช้ในกรณีที่ราคามีการเปลี่ยนแปลงน้อยมาก 2. Arc Elasticity (แบบช่วง) : คำนวณจากจุด 2 จุดบนเส้น Demand หรือ Supply ใช้ในกรณีที่ราคามีการเปลี่ยนแปลงมาก

สูตรในการคำนวณ 1. Point Elasticity = % Q = dQ/q = dQ . P 2. Arc Elasticity = % Q = dQ / [(Q1+Q2)/2] = dQ . (P1+P2) % P dP/P dP Q % P dP / [(P1+P2)/2] dP (Q1+Q2)

ลักษณะของความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา อุปสงค์มีค่าความยืดหยุ่นมาก (Ed > 1) อุปสงค์มีค่าความยืดหยุ่นน้อย (Ed < 1 ) อุปสงค์มีค่าความยืดหยุ่นเท่ากับ หนึ่ง (Ed =1) อุปสงค์มีค่าความยืดหยุ่นมากที่สุด (Ed = ∞) อุปสงค์มีค่าความยืดหยุ่นน้อยที่สุด (Ed = 0)

ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ (Income Elasticity Demand) ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ (Ey) : เป็นการวัดเปอร์เซนต์การเปลี่ยนแปลงของปริมาณซื้อที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงของรายได้ Ey = % การเปลี่ยนแปลงของปริมาณซื้อ % การเปลี่ยนแปลงของรายได้

ลักษณะความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ Ey > 0 , สินค้าปกติ (Normal Goods) รูป ก Ey < 0 , สินค้าด้อยคุณภาพ (Inferior Goods) รูป ข Y D Q รูป ก Y Q D รูป ข

สูตรในการคำนวณ 1. Point Elasticity = % Q = dQ/q = dQ .Y 2. Arc Elasticity = % Q = dQ / [(Q1+Q2)/2] = dQ .(Y1+Y2) % Y dY/Y dY Q % Y dY / [(Y1+Y2)/2] dY (Q1+Q2)

ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ไขว้ ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ไขว้ (Ec) : วัดเปอร์เซนต์การเปลี่ยนแปลงของปริมาณซื้อที่มีต่อเปอร์เซนต์การเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้าอื่น Ec = % การเปลี่ยนแปลงปริมาณซื้อ % การเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้าอื่น

ลักษณะความยืดหยุ่นของอุปสงค์ไขว้ Ec < 0 , กรณีสินค้าสอง ชนิดใช้ประกอบกัน รูป ก Ec > 0 , กรณีสินค้าสองชนิดใช้ทดแทนกัน รูป ข Pb Qa D รูป ก รูป ข Qa D Pb

สูตรในการคำนวณ 1. Point Elasticity = % Qa = dQa/Qa = dQa . Pb 2. Arc Elasticity = % Qa = dQa / [(Qa1+Qa2)/2] = dQa . (Pb1+Pb2) % Pb dPb/Pb dPb Qa % Pb dPb / [(Pb1+Pb2)/2] dPb (Qa1+Qa2)

ปัจจัยที่กำหนดความยืดหยุ่นของ Demand สินค้าชนิดใดชนิดหนึ่งจะมี Ed มาก เมื่อ 1. เป็นสินค้าแพง , ฟุ่มเฟือย 2. มีสินค้าอื่นใช้แทนได้มาก 3. เป็นสินค้าคงทน สินค้าชนิดใดชนิดหนึ่งจะมี Ed น้อย เมื่อ 1. เป็นสินค้าจำเป็น เช่น ปัจจัย 4 2. เป็นสินค้าที่มีราคาน้อย 3. เป็นสินค้าที่หาสินค้าอื่นทดแทนได้ยาก

ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และรายรับ รายรับรวม (Total Revenue : TR) = P x Q - Ed > 1 , TR P - Ed < 1 , TR P - Ed = 1 , TR ไม่เปลี่ยนแปลงเมื่อราคาเปลี่ยน

ความยืดหยุ่นของอุปทาน (Elasticity of Supply) ความยืดหยุ่นของอุปทาน (Es) : การวัดเปอร์เซนต์การเปลี่ยนแปลงของปริมาณขายที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงของราคาขาย Es = % การเปลี่ยนแปลงของปริมาณขาย % การเปลี่ยนแปลงของราคาขาย

ลักษณะความยืดหยุ่นของอุปทาน P Q Es=0 Es<1 Es=1 Es>1 Es=

การแทรกแซงราคาโดยรัฐบาล - การกำหนดราคาขั้นสูง (Price Ceiling) เป็นมาตรการเพื่อช่วยเหลือผู้บริโภค - การกำหนดราคาขั้นต่ำ (Floor Price) เป็นมาตรการเพื่อช่วย เหลือผู้ผลิต

การกำหนดราคาขั้นสูง (Price Ceiling) S E Excess Demand Pe B Pc D Q1 Qe Q2

การแก้ปัญหากรณีเกิดอุปสงค์ส่วนเกิน การจัดสรรปันส่วนสินค้า เช่นการแจกคูปอง

การกำหนดราคาขั้นต่ำ (Floor Price) การกำหนดราคาขั้นต่ำ หรือการประกันราคา P Pe P1 E B A Q1 Qe Q2 Q Excess Supply

การแก้ปัญหากรณีเกิดอุปทานส่วนเกิน P Pf Pe Qe D S A E Q รัฐจ่ายเงินอุดหนุน Q P Pf Pe Q1 Qe Q2 A B E S รัฐรับซื้อส่วนเกิน

การเก็บภาษีและการผลักภาระภาษี การเก็บภาษีจากผู้ขาย - ภาษีต่อหน่วย (Specific Tax) รูป ก - ภาษีคิดเป็นร้อยละของราคา (Ad Valorem Tax) รูป ข Tax P Q Q0 S St รูป ข P Q Q0 Tax Pt P0 S St รูป ก

การเก็บภาษีจากผู้ขายและภาระภาษี St P Tax S E’ P1 a a P0 E b P2 G D Q Q1 Q0

การเก็บภาษีจากผู้ซื้อ - ภาษีต่อหน่วย (Specific Tax) รูป ก - ภาษีคิดเป็นร้อยละของราคา (Ad Valorem Tax) รูป ข D Dt Tax Q1 Q0 Advalorem Tax P0 P รูป ข Q P P0 Tax D Dt Q1 Q0 Specific Tax รูป ก

การเก็บภาษีจากผู้ซื้อและภาระภาษี P S G P1 a a E P0 b P2 E’ D Dt Q1 Q0 Q