กรณีที่กฎหมายกำหนดให้หักภาษี ณ ที่จ่าย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักมาตรฐานด้านการบัญชีภาครัฐ
Advertisements

พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์
บทที่ 1 การรวมธุรกิจ.
โดย... กอง บริหารงาน บุคคล วันพุธที่ 12 พฤษภาคม พ. ศ ณ ห้อง ประชุมสภาชั้น 4 อาคารทีปวิชญ์
ความเป็นมาการประกันภัยพืชผลในประเทศไทย
1 ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับ ภาษีเงินได้ ( ฉบับที่ 183) เรื่อง กำหนด หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการลด อัตราภาษีเงินได้ของกิจการที่มีสถาน ประกอบกิจการตั้ง.
โครงการพัฒนาศักยภาพ เครือข่าย เจ้าพนักงานตามกฎหมาย การสาธารณสุข ( ปี 2551) โดย ศูนย์บริหารกฎหมาย สาธารณสุข และศูนย์อนามัยที่
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษีอากรและการบัญชีเกี่ยวกับภาษี
วิเคราะห์ พ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.2558 วิเคราะห์ พ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.2558.
ยินดีต้อนรับคณะกรรมการ ติดตามและประเมินผล กองทุนหลักประกัน สุขภาพระดับท้องถิ่น.
1.
กลุ่มออกแบบและก่อสร้าง สำนัก อำนวยการ สพฐ.
สาระสำคัญของ ร่างพระราชบัญญัติธนาคาร ที่ดิน พ. ศ..... โดย นายธรรมนิตย์ สุมันตกุล อดีตรองเลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา.
แนวทางการบริหารจัดการเขต พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษโดย สหกรณ์ นายเชิดชัย พรหมแก้ว ผู้อำนวยการกองพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตร และกลุ่มเกษตรกร กรมส่งเสริมสหกรณ์ วันที่
การจัดซื้อจัดจ้างตามระเบียบ พัสดุ ประกาศคณะรักษาความรักษา ความสงบแห่งชาติ การซื้อและ การจัดจ้างด้วยระบบ อิเล็กทรอนิกส์ (e – GP) และการบริหาร งบประมาณ ขององค์กรปกครองส่วน.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
การอุดหนุน งบประมาณ ให้แก่ สถานศึกษาใน สังกัดสำนักงาน คณะกรรมการ การศึกษาขั้น พื้นฐาน.
ภาษีอากร.
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
สำนักงานพัฒนาธุรกิจการค้าจังหวัดสุโขทัย
ไฟฟ้า.
เสนอโดย สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดเชียงใหม่ การประชุมคณะกรรมการผังเมือง เรื่อง การขอแก้ไขกฎกระทรวงให้ใช้บังคับ ผังเมืองรวมเมืองเชียงใหม่ พ. ศ.
วิชากฎหมายอาคาร รหัสวิชา ท-ป-น (2-0-2) หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปวช.2556 ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างก่อสร้าง สาขาวิชาช่างโยธา.
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การหักภาษี ณ ที่จ่ายในธุรกรรม Bond Switching
การบัญชีภาษีอากร AC 316 อาจารย์ประจำวิชา อ.บุญผ่อง สายเพ็ชร
ภาพรวมและความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับความตกลง FATCA
การให้เงินช่วยเหลือหรืออุดหนุนเพื่อส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน
ไฟฟ้า.
Design by Agri - Map สำนักงานชลประทานที่ ๘.
พ.ร.ก.ยกเว้นและสนับสนุนฯ สำนักกฎหมาย กรมสรรพากร
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
ข่าวประชาสัมพันธ์สำนักงานเกษตรจังหวัดสุโขทัย
โดย... นางสาวปวีณ์ริศา เกณิกานนท์ นักวิชาการแรงงานชำนาญการ
ฝ่ายบัญชีและการเงิน สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ
คู่มือ การจัดทำและนำส่งการรายงานการเปลี่ยนแปลงการถือหลักทรัพย์และสัญญาซื้อขายล่วงหน้าของกรรมการ ผู้บริหาร ผู้สอบบัญชี ผู้ทำแผน และผู้บริหารแผน ขั้นตอนที่
การจัดทำบัญชีสิ้นปีงบประมาณ
ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการขออนุญาตทำงาน และการอนุญาตให้ทำงานตามพระราชกำหนดการบริหารจัดการการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ.
(มีผลใช้บังคับวันที่ ๑ พ.ย. ๒๕๕๗)
กลุ่มเกษตรกร.
นายทะเบียนแจ้งผลการจองชื่อ
การให้เงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน เพื่อส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน
สมาคมฌาปนกิจสงเคราะห์
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กองทุนเงินทดแทน ประกันสังคม.
สำนักงานกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ สาขา 7
ประกันภัยกับการพัฒนาเศรษฐกิจ
จำนวนนิติบุคคลในจังหวัดเลย
ภาษีธุรกิจเฉพาะ (SBT )
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา (Personal income tax 1)
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่ 7 ธันวาคม 2561
แนวปฏิบัติ การจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ
กฎกระทรวง ฉบับที่ 66 (พ.ศ. 2559) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ตัวอย่างการจัดทำรายงานการผลิต และงบการเงิน
ผู้ประกอบการโลจิสติกส์ในเขตปลอดอากร นักตรวจสอบภาษีชำนาญการพิเศษ
BUSINESS TAXATION รศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี
บทที่ 6 เงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุน
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
องค์กรต้นแบบอนามัยไร้พุง ปี 2552
การจัดองค์กรของรัฐในประเทศไทย ********************
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
บทที่ 7 นิติบุคคล (Juristic Persons)
4.2.3แผนการปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
การขายและการตลาดสำหรับธุรกิจโรงแรมและที่พัก
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
“อนาคตการสื่อสารไทย โฉมหน้าใหม่ กสทช. ในร่างรัฐธรรมนูญ”
บทที่ 7 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กรณีที่กฎหมายกำหนดให้หักภาษี ณ ที่จ่าย มาตรา 50 มาตรา 3 เตรส โดยคำสั่ง ท.ป. 4/2528 มาตรา 70 มาตรา 69 ทวิ มาตรา 69 ตรี

กรณีที่กฎหมายกำหนดให้หักภาษี ณ ที่จ่าย มาตรา 50 มาตรา 3 เตรส โดยคำสั่ง ท.ป. 4/2528 มาตรา 70 มาตรา 69 ทวิ มาตรา 69 ตรี

มาตรา 50 จ่ายให้แก่ผู้รับที่เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา (1) กรณีจ่ายเงินได้ ประเภทที่ (1) และ(2) ปกติ ขั้นตอนที่ 1 เงินได้หรือประเมิน x จำนวน คราวที่ต้องจ่าย ขั้นตอนที่ 2 หักค่าใช้จ่ายและค่าลดหย่อน ขั้นตอนที่ 3 คำนวณภาษีตามอัตราภาษีเงิน ได้บุคคลธรรมดา ขั้นตอนที่ 4 หารด้วยจำนวนคราวที่ต้องจ่าย

ตัวอย่าง นายเอก ทำงานบริษัทไทย จำกัด ได้รับเงินเดือนๆ ละ 50,000 บาท นายเอก ได้แจ้งสภาพการหักลดหย่อน และยกเว้นไว้ดังนี้ - ภริยาชอบด้วยกฎหมายไม่มีเงินได้และร่วมกันตลอดปีภาษี - บุตรชอบด้วยกฎหมายที่เป็นผู้เยาว์ กำลังศึกษาในประเทศ ไทย 2 คน - จ่ายประกันชีวิตของตนเอง 80,000 บาท - จ่ายประกันชีวิตของภรรยา 20,000 บาท ดังนั้นบริษัทไทย จำกัดจะต้องหักภาษี ณ ที่จ่าย ในปี 2549 เดือนละเท่าไร

ค่าลดหย่อนเบี้ยประกันชีวิตภรรยา = 10,000 = 154,000 คงเหลือเงินได้สุทธิ = 386,000 ภาษีเงินได้ทั้งปี(100,000 ได้รับยกเว้นภาษี)+286,000x10% = 28,600 ภาษีที่จะต้องหักภาษี ณ ที่จ่าย เดือนละ = 28,600 /12 = 2,383.33 การคำนวณภาษีหัก ณ ที่จ่าย ตามกฎหมายใหม่ เงินเดือนเสมือนหนึ่งว่าได้จ่ายทั้งปี 50,000 x 12 = 600,000 หัก ค่าใช้จ่าย ( 40%ไม่เกิน 60,000 ) = 60,000 คงเหลือ เงินได้หลังหักค่าใช้จ่าย = 540,000 หัก ค่าลดหย่อนส่วนตัว = 30,000 ค่าลดหย่อนคู่สมรส = 30,000 ค่าลดหย่อนบุตรศึกษา 2 คน = 34,000 ค่าลดหย่อนเบี้ยประกันชีวิตส่วนตัว = 50,000

ตัวอย่าง นายโท เป็นคนโสดมีรายได้จากการเป็นนายหน้าขายประกันชีวิตดังนี้ คงเหลือ เงินได้หลังหักค่าใช้จ่าย = 72,000 บาท หัก ค่าลดหย่อนส่วนตัว = 30,000 บาท คงเหลือ เงินได้สุทธิ = 42,000 บาท ไม่ต้องหักภาษี ณ ที่จ่าย เนื่องจากเงินได้สุทธิไม่เกิน 100,000 ได้รับยกเว้น มกราคม 120,000 บาท กุมภาพันธ์ 90,000 บาท มีนาคม 60,000 บาท ดังนั้นบริษัทประกันภัยจะต้องหักภาษี ณ ที่จ่ายอย่างไร ค่านายหน้าเดือนมกราคม = 120,000 บาท หัก ค่าใช้จ่าย(40%ไม่เกิน 60,000 บาท ) = 48,000 บาท ตัวอย่าง

= 120,000 คงเหลือ เงินได้สุทธิ ภาษีที่ต้องหักภาษี ณ ที่จ่ายเดือน กุมภาพันธ์ = 2,000 บาท ภาษีเงินได้ = (100,000 ได้รับยกเว้น) +20,000 x10% = 30,000 หัก ค่าลดหย่อนส่วนตัว = 150,000 คงเหลือ เงินได้หลังหักค่าใช้จ่าย = 60,000 หัก ค่าใช้จ่าย (40% ไม่เกิน 60,000) = 210,000 ค่านายหน้าเดือนกุมภาพันธ์ต้องรวมเดือนมกราคมด้วย

= 180,000 คงเหลือ เงินได้สุทธิ = 8,000 ภาษีเงินได้ = (100,000 ได้รับยกเว้น) +80,000 x10% = 6,000 ดังนั้น ภาษีหัก ณ ที่จ่ายเดือนมีนาคม = 8,000 – 2,000 หากผู้รับค่านายหน้ามิได้อยู่ในประเทศไทยให้หักร้อยละ 15 ของเงินได้เลย ข้อสังเกต = 30,000 หัก ค่าลดหย่อนส่วนตัว = 210,000 คงเหลือ เงินได้หลังหักค่าใช้จ่าย = 60,000 หัก ค่าใช้จ่าย (40% ไม่เกิน 60,000) = 270,000 ค่านายหน้าเดือนมีนาคม ต้องรวมเดือนมกราคมและกุมภาพันธ์ด้วย

มาตรา 50 (ต่อ) (2) กรณีจ่ายเงินได้ประเภทที่ (1) และ (2) ซึ่งนายจ้างจ่ายให้ครั้งเดียวเพราะเหตุออกจากงาน ขั้นตอนที่ 1 เงินได้ที่ต้องนำคำนวณ ขั้นตอนที่ 2 หักค่าใช้จ่าย 7000 x จำนวนปี ที่ทำงาน 50 % ขั้นตอนที่ 3 คำนวณภาษีตามอัตราภาษีเงิน ได้บุคคลธรรมดา

มาตรา 50 (ต่อ) (3) กรณีจ่ายค่าลิขสิทธิ์กู๊ดวิล เงินได้ที่จ่าย x อัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา (4) กรณีจ่ายดอกเบี้ย เงินได้ที่จ่าย x 15% (5) กรณีจ่ายเงินปันผล เงินได้ที่จ่าย x 10% (6) กรณีรัฐบาล องค์การรัฐบาล จ่ายเงินได้ประเภท ค่าเช่า วิชาชีพอิสระ รับเหมา การธุรกิจ ฯ เงินได้ที่จ่าย x 1% สำหรับการจ่ายตั้งแต่ 10,000 บาท

สรุปการหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย ตามมาตรา 3 เตรส และคำสั่งกรมสรรพากรที่ ท.ป.4/2528

ลำดับที่ 1 ประเภทเงินได้พึงประเมินที่จ่าย เงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(2) และ(3) เช่น ค่านายหน้า, ค่าแห่งกู๊ดวิลล์, ค่าแห่งลิขสิทธิ์ หรือสิทธิอย่างอื่น เป็นต้น ผู้จ่ายที่มีหน้าที่หักภาษี - บริษัท หรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล - นิติบุคคลอื่น

ลำดับที่ 1 (ต่อ) ผู้รับที่ต้องถูกหักภาษี (1) บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ประกอบ กิจการในประเทศไทย อัตราภาษีร้อยละ 3.0 (2) มูลนิธิหรือสมาคม อัตราภาษีร้อยละ 10.0

สรุปการหักภาษี ณ ที่จ่ายตามมาตรา 40(2) เช่น ค่านายหน้าหรือค่าวิทยากร สรุปการหักภาษี ณ ที่จ่ายตามมาตรา 40(2) เช่น ค่านายหน้าหรือค่าวิทยากร 15% 10% 3% ม. 50(1) มูลนิธิ หรือ สมาคม บริษัท หรือห้างหุ้นส่วนนิติฯ ผู้เสียภาษีเงินได้ นิติบุคคลที่มิได้ ประกอบกิจการในไทย ผู้เสียภาษีเงินได้นิติบุคคลประกอบกิจการในไทย บุคคลธรรมดา

ผู้เสียภาษีเงินได้นิติบุคคล สรุปการหักภาษี ณ ที่จ่ายตามมาตรา 40(3) เช่น ค่าแห่งลิขสิทธิ์ หรือกู๊ดวิล 200,000 x 10% = 25,000 กรณีไม่อยู่ในไทย 300,000 x 15% = 45,000 45,000 30,000 9,000 100,000 x 5% 300,000 x 15 % 300,000 x 10 % 300,000 x 3% 300,000 เช่น 15% 10% 3% อัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา กรณีอยู่ในไทย มูลนิธิ หรือ สมาคม บริษัท หรือ ห้างหุ้นส่วนนิติฯ ผู้เสียภาษีเงินได้ นิติบุคคลที่มิได้ ประกอบกิจการในไทย ผู้เสียภาษีเงินได้นิติบุคคล บุคคลธรรมดา

ลำดับที่ 2 ประเภทเงินได้พึงประเมินที่จ่าย เงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(4)(ก) เช่น ดอกเบี้ยเงินฝาก ดอกเบี้ยตั๋วเงิน เป็นต้น ผู้จ่ายที่มีหน้าที่หักภาษี - ธนาคารพาณิชย์ - บริษัทเงินทุน / หลักทรัพย์ / เครดิตฯ

ลำดับที่ 2 (ต่อ) ผู้รับที่ต้องถูกหักภาษี (1) บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ประกอบ กิจการในประเทศไทย (ไม่รวมถึงธนาคารพาณิชย์และบริษัทเงินทุน /หลักทรัพย์ /เครดิตฯ) อัตราภาษีร้อยละ 1.0 (2) มูลนิธิหรือสมาคม อัตราภาษีร้อยละ 10.0

ลำดับที่ 3 ประเภทเงินได้พึงประเมินที่จ่าย เงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(4)(ก) เฉพาะดอกเบี้ยพันธบัตร ดอกเบี้ยหุ้นกู้ ผู้จ่ายที่มีหน้าที่หักภาษี - บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล - นิติบุคคล(ไม่รวมถึงธนาคารพาณิชย์และบริษัทเงินทุน/หลักทรัพย์/เครดิตฯ)

ลำดับที่ 3 (ต่อ) ผู้รับที่ต้องถูกหักภาษี ธนาคารพาณิชย์ หรือบริษัทเงินทุน/หลักทรัพย์/เครดิตฯ อัตราภาษีร้อยละ 1.0

ลำดับที่ 4 ประเภทเงินได้พึงประเมินที่จ่าย เงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(4)(ก) เฉพาะดอกเบี้ยพันธบัตร ดอกเบี้ยหุ้นกู้ ดอกเบี้ยตั๋วเงิน ดอกเบี้ยเงินกู้ยืม ดอกเบี้ยเงินกู้ยืมที่อยู่ในบังคับต้องถูกหักภาษีไว้ ณ ที่จ่ายตามกฎหมายว่าด้วยภาษีเงินได้ปิโตรเลียมเฉพาะส่วนที่เหลือจากถูกหักภาษีไว้ ณ ที่จ่ายตามกฎหมายดังกล่าว

ลำดับที่ 4 (ต่อ) ผลต่างระหว่างราคาไถ่ถอนกับราคาจำหน่ายตั๋วเงิน หรือตราสารแสดงสิทธิในหนี้ที่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลหรือนิติบุคคลอื่นเป็นผู้ออกและจำหน่ายครั้งแรกในราคาต่ำกว่าราคาไถ่ถอน ผู้จ่ายที่มีหน้าที่หักภาษี - บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล - นิติบุคคล (ไม่รวมถึงธนาคารพาณิชย์และบริษัทเงินทุน/หลักทรัพย์/เครดิตฯ)

ลำดับที่ 4 (ต่อ) ผู้รับที่ต้องถูกหักภาษี (1) บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ประกอบกิจการ ในประเทศไทย (ไม่รวมถึงธนาคารพาณิชย์และบริษัทเงินทุน/หลักทรัพย์/เครดิตฯ) อัตราภาษีร้อยละ 1.0 (2) มูลนิธิหรือสมาคม อัตราภาษีร้อยละ 10.0

40(ก) ข้อ 4 ดอกเบี้ยพันธบัตร ข้อ 5 ดอกเบี้ยหุ้นกู้ ข้อ 6 ดอกเบี้ย ฯ ธนาคารหรือ สถาบันการเงิน 40(ก) บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล 1 % มูลนิธิหรือสมาคม 10% ข้อ 4 ข้อ 5 บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล หรือนิติบุคคลอื่น ดอกเบี้ยพันธบัตร ธนาคารหรือ สถาบันการเงิน 1 % ดอกเบี้ยหุ้นกู้ บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล หรือนิติบุคคลอื่น บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล 1% มูลนิธิหรือสมาคม 10% ข้อ 6 ดอกเบี้ย ฯ

สรุปการหักภาษี ณ ที่จ่ายตามมาตรา 40(ก) เช่น ดอกเบี้ย สรุปการหักภาษี ณ ที่จ่ายตามมาตรา 40(ก) เช่น ดอกเบี้ย เช่น 30,000 20,000 2,000 200,000 x 15 % 200,000 x 10 % 200,000 x 1% 15% 10% 1% มูลนิธิ หรือ สมาคม บริษัท หรือ ห้างหุ้นส่วนนิติฯ ผู้เสียภาษีเงินได้ นิติบุคคลที่มิได้ ประกอบกิจการในไทย ผู้เสียภาษีเงินได้นิติบุคคล บุคคลธรรมดา

ลำดับที่ 5 ประเภทเงินได้พึงประเมินที่จ่าย เงินปันผลหรือเงินส่วนแบ่งของกำไรหรือประโยชน์อื่นใด ตามมาตรา 40(4)(ข)

ลำดับที่ 5 (ต่อ) ผู้จ่ายที่มีหน้าที่หักภาษี - บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย - กองทุนรวม - สถาบันการเงิน ที่มีกฎหมายโดยเฉพาะของประเทศไทยจัดตั้งขึ้นสำหรับให้กู้ยืมเงินเพื่อส่งเสริมเกษตรกรรมฯ (ไม่รวมถึงกิจการร่วมค้า)

ลำดับที่ 5 (ต่อ) ผู้รับที่ต้องถูกหักภาษี (1) บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายของต่างประเทศประกอบกิจการในประเทศไทย อัตราภาษีร้อยละ 10.0 (2) บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย (ไม่รวมถึงบริษัทจดทะเบียนและบริษัทจำกัดซึ่งถือหุ้นในบริษัทจำกัดผู้จ่ายเงินปันผลไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 ของหุ้นทั้งหมดที่มีสิทธิออกเสียงในบริษัทจำกัด ผู้จ่ายเงินปันผลไม่ได้ถือหุ้นในบริษัทจำกัดผู้รับเงินปันผล ไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อม) อัตราภาษีร้อยละ 10.0

ลำดับที่ 6 ประเภทเงินได้พึงประเมินที่จ่าย ค่าเช่า หรือประโยชน์อย่างอื่นที่ได้จากการให้ เช่าทรัพย์สินตามมาตรา 40(5)(ก) ได้แก่ ค่าเช่า อาคาร บ้าน โรงเรือน สิ่งปลูกสร้างอย่างอื่น ฯลฯ (แต่ไม่รวมถึงค่าแห่งอาคารหรือ โรงเรือนที่ได้รับกรรมสิทธิ์และค่าเช่าตามสัญญาให้เช่าทรัพย์สินแบบลิสซิ่ง ตามคำสั่ง ท.ป. 29/2543 และ ท.ป. 34/2534)

ลำดับที่ 6 (ต่อ) ผู้จ่ายที่มีหน้าที่หักภาษี - บริษัท หรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล - นิติบุคคลอื่น ผู้รับที่ต้องถูกหักภาษี (1) บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ประกอบกิจการในประเทศไทย อัตราภาษีร้อยละ 5.0 (2) มูลนิธิหรือสมาคม อัตราภาษีร้อยละ 10.0 (3) ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา อัตราภาษีร้อยละ 5.0

ลำดับที่ 6 (ต่อ) ประเภทเงินได้พึงประเมินที่จ่าย ค่าเช่าเรือตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมพาณิชย์นาวีที่ใช้ในการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ (ตามคำสั่ง ท.ป.68/2539) ผู้จ่ายที่มีหน้าที่หักภาษี - บริษัท หรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล - นิติบุคคลอื่น

ลำดับที่ 6 (ต่อ) ผู้รับที่ต้องถูกหักภาษี (1) บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ประกอบกิจการในประเทศไทย อัตราภาษีร้อยละ 1.0 (2) ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา อัตราภาษีร้อยละ 1.0

สรุปการหักภาษี ณ ที่จ่ายตามมาตรา 40(5) เช่น ค่าทรัพย์สิน สรุปการหักภาษี ณ ที่จ่ายตามมาตรา 40(5) เช่น ค่าทรัพย์สิน อยู่ในไทย 5 % 15% 10% 5 % มิได้อยู่ในไทย 15% มูลนิธิ หรือ สมาคม บริษัท หรือ ห้างหุ้นส่วนนิติฯ ผู้เสียภาษีเงินได้ ที่มิได้ประกอบ กิจการในไทย ผู้เสียภาษีเงินได้นิติบุคคลประกอบกิจการในไทย บุคคลธรรมดา

ลำดับที่ 7 ประเภทเงินได้พึงประเมินที่จ่าย ค่าวิชาชีพอิสระ ตามมาตรา 40(6) ผู้จ่ายที่มีหน้าที่หักภาษี - บริษัท หรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล - นิติบุคคลอื่น

ผู้เสียภาษีเงินได้นิติบุคคลประกอบกิจการในไทย สรุปการหักภาษี ณ ที่จ่ายตามมาตรา 40(6) เช่น ประกอบโรคศิลป , กฎหมาย , บัญชี อยู่ในไทย 3 % 15% 10% 3 % มิได้อยู่ในไทย 15% มูลนิธิ หรือ สมาคม บริษัท หรือ ห้างหุ้นส่วนนิติฯ ผู้เสียภาษีเงินได้ ที่มิได้ประกอบ กิจการในไทย ผู้เสียภาษีเงินได้นิติบุคคลประกอบกิจการในไทย บุคคลธรรมดา

ลำดับที่ 7 (ต่อ) ผู้รับที่ต้องถูกหักภาษี (1) บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ประกอบกิจการในประเทศไทย อัตราภาษีร้อยละ 3.0 (2) มูลนิธิหรือสมาคม อัตราภาษีร้อยละ 10.0 (3) ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาที่มีภูมิลำเนาหรืออยู่ในประเทศไทย อัตราภาษีร้อยละ 3.0

ลำดับที่ 8 ประเภทเงินได้พึงประเมินที่จ่าย ค่าจ้างทำของตามมาตรา 40(7)และมาตรา 40(8) ผู้จ่ายที่มีหน้าที่หักภาษี - บริษัท หรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล - นิติบุคคลอื่น

ลำดับที่ 8 (ต่อ) ผู้รับที่ต้องถูกหักภาษี (1) บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ประกอบกิจการในประเทศไทย ไม่รวมถึงมูลนิธิหรือสมาคม อัตราภาษีร้อยละ 3.0 (2) บริษัท หรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้น ตามกฎหมายของต่างประเทศ โดยมีสำนักงานสาขาตั้งอยู่เป็นการถาวรในประเทศไทย อัตราภาษีร้อยละ 3.0 (3) ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา อัตราภาษีร้อยละ 3.0

ลำดับที่ 9 ประเภทเงินได้พึงประเมินที่จ่าย ค่าจ้างทำของ ผู้จ่ายที่มีหน้าที่หักภาษี - บุคคล - บริษัท หรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล - นิติบุคคลอื่น - ห้างหุ้นส่วนสามัญ - คณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคล

ลำดับที่ 9 (ต่อ) ผู้รับที่ต้องถูกหักภาษี บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล ซึ่งตั้งขึ้นตามกฎหมายของต่างประเทศ ประกอบกิจการในประเทศไทย โดยมิได้มีสำนักงานสาขาตั้งอยู่เป็นการถาวรในประเทศไทย อัตราภาษีร้อยละ 5.0

ลำดับที่ 10 ประเภทเงินได้พึงประเมินที่จ่าย รางวัลในการประกวด การแข่งขัน การชิงโชค หรือการอื่นใดอันมีลักษณะทำนองเดียวกัน ผู้จ่ายที่มีหน้าที่หักภาษี - บุคคล - บริษัท หรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล - นิติบุคคลอื่น - ห้างหุ้นส่วนสามัญ - คณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคล

ลำดับที่ 10 (ต่อ) ผู้รับที่ต้องถูกหักภาษี ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้นิติบุคคล หรือผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา อัตราภาษีร้อยละ 5.0

ลำดับที่ 11 ประเภทเงินได้พึงประเมินที่จ่าย ค่านักแสดงสาธารณะ ได้แก่ นักแสดงละครภาพยนต์ วิทยุและโทรทัศน์, นักร้องนักดนตรี นักกีฬาอาชีพ หรือนักแสดงเพื่อความบันเทิงใดๆ ผู้จ่ายที่มีหน้าที่หักภาษี - บุคคล - บริษัท หรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล - นิติบุคคลอื่น - ห้างหุ้นส่วนสามัญ - คณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคล

ลำดับที่ 11 (ต่อ) ผู้รับที่ต้องถูกหักภาษี (1) ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาที่มีภูมิลำเนาอยู่ในต่างประเทศ อัตราภาษีร้อยละ 5.0 -37.0 (2) ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาที่มีภูมิลำเนาอยู่ในประเทศ อัตราภาษีร้อยละ 5.0

ลำดับที่ 12 ประเภทเงินได้พึงประเมินที่จ่าย ค่าโฆษณา ผู้จ่ายที่มีหน้าที่หักภาษี - บริษัท หรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล - นิติบุคคลอื่น

ลำดับที่ 12 (ต่อ) ผู้รับที่ต้องถูกหักภาษี ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้นิติบุคคล หรือผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา อัตราภาษีร้อยละ 2.0

ลำดับที่ 13 ประเภทเงินได้พึงประเมินที่จ่าย ค่าสินค้าพืชผลทางการเกษตร ประเภทยางแผ่น มันสำปะหลัง ปอ ข้าว ข้าวโพด อ้อย เมล็ดกาแฟ ผลปาล์มน้ำมัน

ลำดับที่ 13 (ต่อ) ผู้จ่ายที่มีหน้าที่หักภาษี - บริษัท หรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล - นิติบุคคลอื่นเฉพาะกรณีผู้ซื้อเป็นผู้ส่งออกหรือผู้ผลิตตามที่ระบุไว้ (แต่ไม่รวมถึงกลุ่มเกษตรกรตามกฎหมายว่าด้วยสหกรณ์) ผู้รับที่ต้องถูกหักภาษี ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้นิติบุคคล อัตราภาษีร้อยละ 0.75

ลำดับที่ 14 ประเภทเงินได้พึงประเมินที่จ่าย ค่าบริการตามมาตา 40(8) แต่ไม่รวมถึง (1) การจ่ายเงินได้ตาม 8,9,11,12,15 และ 17 ซึ่งกำหนดให้หักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย ไว้โดยเฉพาะแล้ว (2) การจ่ายค่าบริการโรงแรมและภัตตาคาร (3) การจ่ายค่าเบี้ยประกันชีวิต

ลำดับที่ 14 (ต่อ) ผู้จ่ายที่มีหน้าที่หักภาษี - บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล - นิติบุคคลอื่น ผู้รับที่ต้องถูกหักภาษี (1) บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ประกอบกิจการในประเทศไทย(ไม่รวมถึงมูลนิธิหรือสมาคม) อัตราภาษีร้อยละ 3.0 (2) ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้นิติบุคคธรรมดา อัตราภาษีร้อยละ 3.0

ลำดับที่ 15 ประเภทเงินได้พึงประเมินที่จ่าย รางวัล ส่วนลด หรือประโยชน์ใดๆ เนื่องจากการส่งเสริมการขาย ผู้จ่ายที่มีหน้าที่หักภาษี - บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล - นิติบุคคลอื่น

ลำดับที่ 15 (ต่อ) ผู้รับที่ต้องถูกหักภาษี (1) บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ประกอบกิจการในประเทศไทย (ไม่รวมถึงมูลนิธิหรือสมาคม) อัตราภาษีร้อยละ 3.0 (2) ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้นิติบุคคลธรรมดา(ไม่รวมถึงผู้รับที่เป็นผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการซึ่งเป็นผู้บริโภคหรือผู้ประกอบการโดยตรงโดยมิได้มีวัตถุประสงค์จะนำไปขายต่อไป) อัตราภาษีร้อยละ 3.0

ลำดับที่ 16 ประเภทเงินได้พึงประเมินที่จ่าย ค่าเบี้ยประกันวินาศภัย ผู้จ่ายที่มีหน้าที่หักภาษี - บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล - นิติบุคคลอื่น ผู้รับที่ต้องถูกหักภาษี บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลซึ่งประกอบกิจการวินาศภัยตามกฎหมายว่าด้วยการประกันวินาศภัยในประเทศไทย อัตราภาษีร้อยละ 1.0

ลำดับที่ 17 ประเภทเงินได้พึงประเมินที่จ่าย ค่าขนส่ง (ไม่รวมถึงค่าโดยสารสำหรับการขนส่งสาธารณะ) ผู้จ่ายที่มีหน้าที่หักภาษี - บริษัท หรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล - นิติบุคคลอื่น

ลำดับที่ 17 (ต่อ) ผู้รับที่ต้องถูกหักภาษี (1) บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ประกอบกิจการในประเทศไทย(ไม่รวมถึงมูลนิธิหรือสมาคม) อัตราภาษีร้อยละ 1.0 (2) ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้นิติบุคคล อัตราภาษีร้อยละ 1.0

หมายเหตุ (1) ข้อความตามลำดับที่ 1 ถึงลำดับที่ 4 และลำดับที่ 14 ถึงลำดับที่ 17 คือส่วนที่แก้ไขเพิ่มเติมใหม่ตามกฎหมายกระทรวงฉบับที่ 229 (พ.ศ. 2544) ประกอบกับคำสั่งกรมสรรพากร ที่ ท.ป.101/2544 และ ทป.104/2544

หมายเหตุ (2) มูลนิธิหรือสมาคมที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังประกาศกำหนดให้เป็นองค์การหรือสถานสาธารณกุศล ตามมาตรา 47(7)(ข) นั้น ไม่ใช่ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้นิติบุคคล ดังนั้นจึงไม่อยู่ในข่ายต้องถูกหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย แต่อาจมีหน้าที่หักภาษี ณ ที่จ่ายตามกรณีที่กฎหมายกำหนด

มาตรา 70 (1) จ่ายให้ หักบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล ที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายต่างประเทศ (2) มิได้ประกอบกิจการในประเทศไทย (3) จ่ายเงินได้ประเภท (2) – (6) ได้แก่ - ค่านายหน้า - ค่ากู๊ดวิล ลิขสิทธิ์ - ดอกเบี้ย เงินปันผล ขายหุ้นเกินจากที่ทุนไว้ - ค่าเช่าทรัพย์ - วิชาชีพอิสระ เช่น ประกอบโรคศิลป กฎหมาย บัญชี

มาตรา 69 ทวิ กรณีรัฐบาล องค์การรัฐบาล เทศบาล องค์บริหารราชการส่วนท้องถิ่นอื่น จ่ายเงินได้พึงประเมินให้กับบริษัท หรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลหักภาษีอัตราร้อยละ 1.0

มาตรา 69 ตรี กรณีบุคคล ห้างหุ้นส่วน บริษัท สมาคม หรือ คณะบุคคล จ่ายเงินได้พึงประเมินให้บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล การขายอสังหาริมทรัพย์ หักภาษีอัตราร้อยละ 1.0