e-Payment ภาครัฐ หลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติในการจ่ายเงิน การรับเงิน และการนำเงินส่งคลังของส่วนราชการ ผ่านระบบ KTB Corporate Online เริ่มดำเนินการ 1 ตุลาคม 2559 กลุ่มบริหารการเงิน กองบริหารการคลัง สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
National e-Payment Master Plan คือ แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานระบบการชำระเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์แห่งชาติ มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2558 จุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาระบบการชำระเงินของประเทศไทยให้เข้าสู่ระบบการชำระเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Payment) อย่างครบวงจร บูรณาการ และยั่งยืน สามารถรองรับธุรกรรมทางการเงินและกิจกรรมทางเศรษฐกิจต่างๆ ให้ดำเนินไปอย่างสะดวกและรวดเร็วยิ่งขึ้น อันเป็นกลไกสำคัญในการยกระดับศักยภาพในการแข่งขันของภาคธุรกิจ ช่วยยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน และสร้างความมั่นคงให้กับระบบบริหารจัดการการเงินการคลังโดยพัฒนาระบบการรับจ่ายเงินงบประมาณแผ่นดิน และบูรณาการระบบบริหารจัดเก็บภาษี อันจะนำมาสู่ การเพิ่มประสิทธิภาพโครงสร้างพื้นฐานการชำระเงิน (Payment Infrastructure Development) การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบภาษีอิเล็กทรอนิกส์ (e-Tax System) การลงทะเบียนผู้มีรายได้น้อย รวมทั้งบูรณาการระบบสวัสดิการสังคม (Social Welfare) การส่งเสริม การเข้าถึงบริการทางการเงิน (Financial Inclusion) และการส่งเสริม e-payment ในทุกภาคส่วน
National e-Payment Master Plan 1.โครงการระบบการชำระเงินแบบ Any ID หรือ (PromptPay) 2. โครงการการขยายการใช้บัตร 3. โครงการระบบภาษีและเอกสารธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ 4. โครงการ e-Payment ภาครัฐ 4.1 โครงการบูรณาการฐานข้อมูลสวัสดิการสังคม 4.2 โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการรับจ่ายเงินภาครัฐ ทางอิเล็กทรอนิกส์ 5. โครงการส่งเสริมการใช้ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์
4. โครงการ e-Payment ภาครัฐ 4.2 โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการรับจ่ายเงินภาครัฐทางอิเล็กทรอนิกส์ 1) ส่งเสริมการรับ-จ่ายเงิน ของหน่วยงานภาครัฐ ทางอิเล็กทรอนิกส์ 2) เพิ่มประสิทธิภาพ ลดความผิดพลาด และลดปัญหาการทุจริตจากการจ่ายเงินด้วยเงินสดและเช็ค เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการด้านการเงินอย่างครบวงจร
กระทรวงการคลังได้ยกเลิกหลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติตามหนังสือ ดังนี้ ลำดับ หนังสือ กระทรวงการคลัง เรื่อง 1 ด่วนที่สุด ที่ กค 0406.3/ว 36 ลงวันที่ 8 เมษายน 2559 หลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติในการจ่ายเงินของ สรก.ผ่านระบบ KTB 2 ด่วนที่สุด ที่ กค 0406.3/ว 76 ลงวันที่ 6 กรกฎาคม 2559 หลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติในการนำเงินส่งคลังในระบบ KTB 3 ด่วนที่สุด ที่ กค 0406.3/ว 77 ลงวันที่ 6 กรกฎาคม 2559 หลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติในการรับเงินของ สรก.ผ่านระบบ KTB 4 ด่วนที่สุด ที่ กค 0402.2/ว 90 ลงวันที่ 29 กรกฎาคม 2559 ขยายระยะเวลาเริ่มดำเนินการตามหลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการจ่ายเงิน การรับเงิน และการนำเงินส่งคลังผ่านระบบ KTB หมายเหตุ : ให้ปฏิบัติตามหนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนที่สุด ที่ กค 0402.2/ว 103 ลงวันที่ 1 กันยายน 2559)
ให้ปฏิบัติตามหนังสือกระทรวงการคลัง หลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติในการจ่ายเงิน การรับเงิน และการนำเงินส่งคลัง ของส่วนราชการผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ (KTB Corporate Online) ให้ปฏิบัติตามหนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนที่สุด ที่ กค 0402.2/ว 103 ลงวันที่ 1 กันยายน 2559 ด่วนที่สุด ที่ กค 0402.5/ว 85 ลงวันที่ 6 กันยายน 2561 ด่วนที่สุด ที่ กค 0402.2/ว 100 ลงวันที่ 28 กันยายน 2561
หลักเกณฑ์ด้านการจ่ายเงิน (ว 103, ว 85) บัญชีเงินฝากธนาคารรับโอนเงินงบประมาณเบิกจากคลัง 1. จ่ายเงินสวัสดิการ ค่าตอบแทนได้แก่ ค่าเล่าเรียนบุตร ค่ารักษา พยาบาล ค่าเบี้ยประชุมกรรมการ ค่าเช่าบ้าน ค่า OT คชจ.เดินทางฯ ค่าเบี้ยประชุมกรรมการ ค่าตอบแทนการสอบ ค่าตอบแทนคณะกรรมการ ค่าสมนาคุณวิทยากร ค่าตอบแทนคณะกรรมการที่ดำเนินการเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้าง 2. เงินยืมราชการตามสัญญายืมเงิน 3. การจ่ายเงินกรณีซื้อทรัพย์สิน จ้างทำของ หรือเช่าทรัพย์สินที่มีวงเงินต่ำกว่า 5,000 บาท เปิดใช้บริการด้านการโอนเงิน (Bulk Payment) KTB Corporate Online สำหรับส่วนราชการ ให้ผู้มีสิทธิกรอก “แบบแจ้งข้อมูลการรับเงินโอนผ่านระบบ KTB Corporate Online” จัดทำทะเบียนคุมข้อมูลโอนเงินของผู้มีสิทธิรับเงินในระบบคอมพิวเตอร์
(ว.103)
บัญชีเงินฝากธนาคารของผู้มีสิทธิรับเงิน (ว.103) KTB Corporate Online (บัญชีเงินฝากธนาคารของ ผู้มีสิทธิรับเงิน) 1. กรณีเป็นข้าราชการ ลูกจ้าง พนักงานราชการ ให้โอนเงินเข้าบัญชีที่รับเงินเดือน ค่าจ้าง ค่าตอบแทน หรือบัญชีเงินฝากธนาคารอื่นของผู้มีสิทธิตามที่หัวหน้าส่วนราชการผู้เบิกอนุญาต 2. กรณีเป็นบุคลากรต่างสังกัดหรือบุคคลภายนอก ให้โอนเงินเข้าบัญชีเงินฝากธนาคารตามที่ผู้มีสิทธิรับเงินแจ้งความประสงค์ไว้ 3. ให้ สรก.โอนเงินเต็มจำนวนตามสิทธิที่ขอเบิกเงินจากคลัง เข้าบัญชีเงินฝากธนาคารของผู้มีสิทธิ เมื่อมีการโอนเงินสำเร็จ ระบบจะส่งข้อความแจ้งเตือนผ่านโทรศัพท์มือถือ (SMS) หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (e-mail) ตามที่แจ้งไว้
หลักเกณฑ์ด้านการจ่ายเงิน (ว 103 ลว. 1 ก.ย. 59) ต่อ หลักเกณฑ์ด้านการจ่ายเงิน (ว 103 ลว. 1 ก.ย. 59) ต่อ ส่วนราชการแจ้งให้ผู้มีสิทธิรับเงินครั้งแรกกรอก “แบบแจ้งข้อมูลการรับเงินโอนผ่านระบบ KTB Corporate Online” ตามแบบฟอร์มที่กำหนด และจัดทำทะเบียนคุมการโอนเงิน เพื่อใช้ ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลสำหรับการโอนเงินครั้งต่อไป 2. เมื่อผู้มีสิทธิได้รับการโอนเงินเข้าบัญชีเงินฝากธนาคารแล้ว ผู้มีสิทธิรับเงินไม่ต้องลงลายมือชื่อ รับเงินในแบบคำขอเบิกเงินดังกล่าว 3. ให้ใช้รายงานสรุปผลการโอนเงิน (Detail Report และ Summary Report หรือ Transaction History) ที่ได้จากระบบ KTB เป็นหลักฐานการจ่ายและเก็บรักษาไว้ให้ สตง. ตรวจสอบต่อไป
กรณีเกิดข้อผิดพลาดในการโอนเงินเข้าบัญชีของผู้มีสิทธิรับเงิน (ว 103) เช่น 1. โอนเงินเข้าบัญชีผิดราย 2. โอนเงินเกินจำนวนที่ผู้มีสิทธิจะได้รับ ** ให้ สรก.เรียกเงินคืนเข้าบัญชีเงินฝากธนาคาร (เงินงบประมาณ) และนำเงินส่งคืนคลัง ดังนี้ 1. ถ้านำเงินส่งก่อนสิ้นปีงบประมาณ ให้นำส่งเป็นเงินเบิกเกินส่งคืน 2. ถ้านำส่งภายหลังสิ้นปีงบประมาณ ให้นำส่งเป็นรายได้แผ่นดิน ประเภทรายได้เงินเหลือจ่ายปีเก่าส่งคืน (4206010102) รหัสรายได้ 811 แหล่งของเงิน xx19400 3. ยกเว้น ค่ารักษาพยาบาล ให้นำส่งเป็นรายได้แผ่นดิน (RA และ R1) (ตามหนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด ที่ กค 0422.2/ว 209 ลว.30 กันยายน 2553 เรื่อง หลักเกณฑ์การนำเงินค่ารักษาพยาบาลส่งคืนคลัง)
หลักเกณฑ์ด้านการรับเงิน (ว 103 ลว. 1 ก.ย. 59) หลักเกณฑ์ด้านการรับเงิน (ว 103 ลว. 1 ก.ย. 59) -เปิดบัญชีเงินฝากธนาคาร (กระแสรายวัน) 1 บัญชี เพื่อรับเงินผ่านช่องทางการให้บริการของ ธ.กรุงไทย ใช้ชื่อบัญชี “..ชื่อส่วนราชการ...เพื่อการรับเงินทางอิเล็กทรอนิกส์” -เปิดใช้บริการด้านการรับเงิน (Bill Payment) สรก.กำหนดแบบใบแจ้งการชำระเงินข้อมูลประกอบด้วย “ชื่อส่วนราชการผู้รับชำระเงิน, วันที่รับชำระ, ชื่อผู้ชำระเงิน, รายการหรือประเภทของรายได้ที่รับชำระ, จำนวนเงิน โดยจะต้องมีรหัส Company Code /Product Code และข้อมูลอ้างอิง (Reference Code) KTB Corporate Online ด้านการ รับเงิน ผู้ชำระเงินสามารถชำระเงินผ่านช่องทาง ธ.กรุงไทยได้ทุกแห่ง ได้แก่ เคาน์เตอร์ธนาคาร, ATM Internet Banking, Mobile Banking
Bill Payment (ด้านการรับเงิน)
หลักเกณฑ์ด้านการนำเงินส่งคลัง (ว 103 ลว. 1 ก.ย. 59) หลักเกณฑ์ด้านการนำเงินส่งคลัง (ว 103 ลว. 1 ก.ย. 59) ให้ สรก.นำเงินส่งคลังผ่านระบบ KTB โดยเลือกหมายเลขบัญชีเงินฝากธนาคารที่ สรก.ได้เปิดรองรับไว้ หรือจากบัญชีเงินนอกงบประมาณ โดยระบุประเภท จำนวนเงิน ที่จะนำส่งเพื่อโอนเงินเข้าบัญชีเงินฝากธนาคารของกรมบัญชีกลาง หรือ สนง. คลังจังหวัด (แล้วแต่กรณี) การนำเงินส่งคลัง -ส่งเงินรายได้แผ่นดิน -เงินรายได้แผ่นดินแทนกัน -นำส่งเงินนอกงบประมาณฝากคลัง -นำเงินนอกงบประมาณฝากคลังแทนกัน -ค่าธรรมเนียมการใช้บริการ GFMIS Package และ Bill Payment ธ.กรุงไทย เรียกเก็บจากกรมบัญชีกลาง KTB Corporate Online ด้านการนำเงินส่งคลัง เมื่อทำรายการเสร็จแล้ว ให้พิมพ์หน้าจอการทำรายการสำเร็จจากระบบ KTB เป็นหลักฐานในการนำเงินส่งคลัง และเก็บหลักฐานให้ สตง.ตรวจสอบ ทุกสิ้นวันทำการ ให้ สรก.ตรวจสอบการนำเงินส่งคลังผ่านระบบ KTB จากเอกสารที่พิมพ์จากหน้าจอทำรายการสำเร็จ กับรายการสรุปความเคลื่อนไหวทางบัญชี ให้ถูกต้องตรงกัน
ขั้นตอนการใช้งาน e-Payment ภาครัฐ ผ่านระบบ KTB Corporate Online
ขั้นตอนการใช้งาน e-Payment ภาครัฐ ผ่านระบบ KTB Corporate Online 1. ต้นสังกัด (ผู้ดูแลระบบ) สมัครขอใช้บริการ KTB Corporateฯ และขอเปิดใช้บริการ GFMIS Package พร้อมกับรวบรวมข้อมูลบัญชีเงินฝาก ธ.กรุงไทย ของหน่วยเบิกจ่ายในสังกัดส่งให้ ธ.กรุงไทย 2. หน่วยเบิกจ่าย สมัครขอใช้บริการ KTB Corporate Online สำหรับกลุ่มภาครัฐ และส่งใบสมัครให้ สาขา ธ.กรุงไทยฯ ที่เปิดบัญชีเงินฝากธนาคารไว้ (ธ.กรุงไทยรวบรวมใบสมัครส่งให้ ธ.กรุงไทย สนง.ใหญ่ (ว.108) 3. ธ.กรุงไทยแจ้ง Company ID ของต้นสังกัด (Admin 1 และ Admin 2) พร้อมกับแจ้ง Company ID ของ สรก.ระดับหน่วยเบิกจ่าย ให้ระดับต้นสังกัดทราบ 4. ต้นสังกัดกำหนดสิทธิให้กับผู้ใช้งาน (Company User) และแจ้ง Company ID และ Password ให้บุคคลดังกล่าวทราบ (ใส่ซองปิดผนึกเพื่อมิให้ผู้อื่นทราบ) (ว.109) 5. หน่วยเบิกจ่ายเข้าระบบ KTB และเปลี่ยนรหัสผ่านทันที (ครั้งต่อไปเปลี่ยนทุก 3 เดือน)
โครงสร้างผู้ใช้งานระบบ KTB Corporate Online
โครงสร้างผู้ใช้งานระบบ KTB Corporate Online (ต่อ) หน้าที่ของผู้ดูแลระบบ (Company Administrator) (ต้นสังกัดส่วนกลาง) 1.Company Administrator Maker (Admin 1) = มีหน้าที่บันทึกข้อมูลของ ผู้เข้าใช้งานในระบบ (Company User) หรือ เพิ่ม,ลด กำหนดสิทธิและหน้าที่ ของผู้ใช้งานในระบบรายบุคคล 2. Company Administrator Authorizer (Admin 2) = ตรวจสอบและอนุมัติสิทธิตาม Admin 1 บันทึก และสามารถ Reset Password ได้ ถ้า Maker หรือ Authorizer คีย์ PS ผิด หรือ PS ถูกล็อค
โครงสร้างผู้ใช้งานระบบ KTB Corporate Online (ต่อ) หน้าที่ของผู้ใช้งานในระบบ (Company User) (ส่วนภูมิภาค) Company User Maker–การจ่ายเงิน = ผู้ทำรายการโอนเงินและตรวจสอบความถูกต้องก่อนส่งรายการให้ Company User Authorizer อนุมัติการโอนเงิน Company User Maker-การรับเงิน = เรียกดูรายงานการรับชำระเงินระหว่างวันเพื่อใช้ในการตรวจสอบการรับเงินของส่วนราชการ Company User Maker-การนำเงินส่งคลังหรือฝากคลัง = เป็นผู้ทำรายการนำเงินส่งคลังหรือฝากคลัง ก่อนนำส่งรายการให้กับ Company User Authorizer อนุมัติการโอนเงินเพื่อนำส่งคลังหรือฝากคลัง Company User Authorizer = ตรวจสอบ/อนุมัติ รายการโอนเงิน/นำเงินส่งคลังหรือฝาก คลัง และแจ้งผลการอนุมัติให้ User Maker ทราบ
การเข้าสู่ระบบ KTB Corporate Online ครั้งแรก ระบบจะบังคับให้ตั้ง Password ใหม่
ข้อควรรู้เกี่ยวกับ Password PS ไม่ได้กำหนดวันหมดอายุ บังคับเปลี่ยนตอนเข้าสู่ระบบครั้งแรก คีย์ PS ผิด 3 ครั้ง ระบบจะล็อคทันที (User is Lock) ถ้า PS ล็อค หรือจำไม่ได้ 3.1 กรณี Admin 1 หรือ Admin 2 ให้ติดต่อสาขาเจ้าของบัญชีเพื่อกรอกแบบฟอร์ม Reset Password 3.2 กรณี Maker หรือ Authorizer ให้ติดต่อ Admin 2 เพื่อ Reset Password 4. ถ้าคีย์ PS ครั้งแรกผิด (ต้องหยุดคีย์ก่อน) ให้ตรวจสอบ PS ก่อนคีย์อีกครั้ง 5. ทุกครั้งที่ออกจากระบบให้กดปุ่ม Logout ทุกครั้ง (หน้าจอมุมขวามือบน) หากกดปิด หน้าจอเลย User จะค้างในระบบ 15 นาที ไม่สามารถใช้งานได้ ต้องรอ 15 นาที ค่อย Login ใหม่
ติดต่อเจ้าหน้าที่กองบริหารการคลัง คุณจันทนา อินพรม Admin1 โทร. 0 2590 1276 คุณพนิดา อนันตอัมพร Admin2 โทร. 0 2590 1266 คุณอรชร สายแผลง User Maker ด้านการจ่ายเงิน โทร. 0 2590 1275 คุณอรพรรณ์ เพ็งผล User Maker ด้านการรับเงิน โทร. 0 2590 1276 และนำเงินส่งคลังหรือฝากคลัง คุณจิตรา บัวสุวรรณ User Authorize ผู้อนุมัติ โทร. 0 2590 1269
THANK YOU