ปัญญาประดิษฐ์ Artificial Intelligence

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
อ.วชิระ หล่อประดิษฐ์ ระบบสารสนเทศทางคอมพิวเตอร์
Advertisements

System Requirement Collection (2)
ข้อสรุปหลักสูตรการอบรมการผลิต รายการเด็ก TV4Kids.
เป็นหลักสำคัญในการนำเสนอเนื้อหา ของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนก็คือ ควร นำเสนอภาพที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหา ประกอบ กับคำอธิบายสั้นๆ ง่ายๆ แต่ได้ใจความ การใช้ภาพประกอบจะทำให้ผู้เรียน.
ขอบเขตของการพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
ซอฟต์แวร์ระบบที่รู้จักกันดี คือซอฟต์แวร์ควบคุมการปฏิบัติการ ของคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการเป็นชุดคำสั่งที่ใช้ควบคุมระบบฮาร์ดแวร์และ.
ปัญญาประดิษฐ์และระบบผู้เชี่ยวชาญ Artificial Intelligence and Expert System ระบบความฉลาด (Intelligence System) เป็นระบบคอมพิวเตอร์ที่ พยายามลอกเลียนภูมิปัญญาของมนุษย์
ประโยชน์และตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
บทที่ 1 หลักการทำโครงงาน
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา(Educational Media)
CSIT-URU อ. กฤษณ์ ชัยวัณณคุปต์ Mathematics and Computer Program, URU บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ เทคโนโลยีสารสนเทศ Introduction to Information.
นาย สรวิศ เตธัญญวรากูล ปวช.3/2 นาย ศิวกร มาลี ปวช.3/2.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
จัดทำโดย นางสาวพิจิตรา ปันเต เลขที่ 18 นางสาวปิยธิดา อุตมา เลขที่ 19 ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน.
Adaptive Software Development. วงจรชีวิตของการพัฒนาซอฟแวร์ หรือ Software Development Life Cycle (SDLC) เป็นโครง ร่างหรือแนวทางวิธีการ เพื่อใช้ทำความเข้าใจและเพื่อ.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
1. ด้าน หลักสูตร. จุดเน้นกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ คุณภาพผู้เรียน “ คุณภาพผู้เรียน ที่ระบุในจุดเน้นมีอยู่ แล้วในหลักสูตร.
โดย... นายวินิจ รักชาติ อดีตผู้อำนวยการ สำนักงาน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม จังหวัด กาญจนบุรี
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
โครงงาน(Project) เรื่อง ระบบร้านเช่าหนังสือออนไลน์
อาจารย์จุฑามาศ พรหมทอง สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์
Material requirements planning (MRP) systems
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
การแพร่กระจายนวัตกรรม Diffusion of Innovation
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
By Btech GPS : Jan GPS By BtechGPS By Btech GPS : Jan
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ (Information System)
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
One Point Lesson (OPL).....บทเรียนประเด็นเดียว
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
Information System MIS.
Chapter 3 Executive Information Systems : EIS
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ประยุกต์
แนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
การออกแบบและเทคโนโลยี
พื้นฐานการออกแบบ กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้การสื่อความหมาย ด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายของข้อมูลได้ถูกต้องตรง.
โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูล วัตถุเสพติดของกลาง (ระยะที่1)
โดย นางสาวนิรมล บุรกรณ์
SMS News Distribute Service
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
รายวิชา การบริหารการศึกษา
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
4 เทคโนโลยีสารสนเทศ สังคมเครือข่าย
Supply Chain Management
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
ระบบสารสนเทศ (ต่อ) (Information Systems : IS)
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
นวัตกรรม ขวดเก็บ Sputum culture
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
การขายและการตลาดสำหรับธุรกิจโรงแรมและที่พัก
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
การใช้ระบบสารสนเทศในการวิเคราะห์ข่าว
อ. ดร. ณฐิตากานต์ ปินทุกาศ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ปัญญาประดิษฐ์ Artificial Intelligence Chapter 11 ปัญญาประดิษฐ์ Artificial Intelligence วิชา MIS อ. สุรินทร์ทิพ ศักดิ์ภูวดล ปีการศึกษา 2553

วิวัฒนาการของระบบสนับสนุนการตัดสินใจ 1. วิวัฒนาการเริ่มแรก (กลางปี ค.ศ. 1950) ระบบประมวลผลรายการข้อมูล (Transaction Processing System: TPS) ระบบจัดทำรายงานสารสนเทศ (Information Reporting) ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information System: MIS) 2. วิวัฒนาการระยะที่สอง (ประมาณปี ค.ศ. 1960-1970) ระบบสำนักงานอัตโนมัติ (Office Automation System: OAS)

วิวัฒนาการของระบบสนับสนุนการตัดสินใจ 3. วิวัฒนาการระยะที่สาม (ช่วงปี ค.ศ. 1970-1980) ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support System: DSS) ระบบสนับสนุนผู้บริหารระดับสูง (Executive Support System: ESS) ระบบสนับสนุนการตัดสินใจเป็นทีม (Group Support System: GSS)

วิวัฒนาการของระบบสนับสนุนการตัดสินใจ 4. วิวัฒนาการระยะที่สี่ (ค.ศ. 1980 เป็นต้นมา) ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence: AI) ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System: ES) โครงข่ายใยประสาทเสมือน/คอมพิวเตอร์โครงข่ายใยประสาท (Artificial Neural Network/Neural Computing) ตรรกะคลุมเครือ (Fuzzy Logic) การประมวลผลภาษาธรรมชาติ (Natural Language Processing: NLP) 5. วิวัฒนาการระยะที่ห้า (ศตวรรษที่ 21) ตัวแทนปัญญา (Intelligent Agent)

ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence:AI) หมายถึง “การทำให้คอมพิวเตอร์สามารถคิดหาเหตุผลได้ เรียนรู้ได้ ทำงานได้เหมือนสมองมนุษย์ ” (ทักษิณา สวนานนท์, 2539,น.13) หมายถึง ศาสตร์แขนงหนึ่งของวิทยาการคอมพิวเตอร์ ที่ต้องการประดิษฐ์เครื่องจักร เช่น คอมพิวเตอร์ หรือ หุ่นยนต์ให้สามารถคิดและมีพฤติกรรมเลียนแบบมนุษย์ในกระบวนการตัดสินใจแก้ปัญหาได้ ซึ่งอาจจะต้องมีการวินิจฉัย หาเหตุผล จากความรู้ที่จัดเก็บไว้ และนำความรู้นั้นมาเชื่อมโยงเพื่อหาข้อสรุป หรือผลลัพธ์ของปัญหานั้นได้ในที่สุด

ลักษณะและความสามารถของ AI 1. สามารถเรียนรู้ และทำความเข้าใจประสบการณ์ที่ผ่านมา 2. สามารถทำความเข้าใจกับข้อความที่มีความคลุมเครือหรือมีความขัดแย้งกันได้ 3. มีความสามารถในการตอบสนองที่รวดเร็วและถูกต้องต่อสถานการณ์ใหม่ๆ 4. สามารถใช้เหตุผลเพื่อแก้ปัญหา และให้คำแนะนำได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ลักษณะและความสามารถของ AI 5. สามารถจัดการกับสถานการณ์ที่มีความยุ่งยาก ซับซ้อนได้ 6. สามารถทำความเช้าใจและวินิจฉัย เพื่อสรุปความอย่างมีเหตุผลได้ 7. สามารถประยุกต์องค์ความรู้ให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม 8. สามารถพิจารณาถึงความสำคัญขององค์ประกอบที่แตกต่างกันในแต่ละสถานการณ์ได้

ความสามารถที่ใช้เปรียบเทียบ ข้อจำกัดของ AI ความสามารถที่ใช้เปรียบเทียบ ปัญญาธรรมชาติ ปัญญาประดิษฐ์ (AI) ความละเอียดและยุติธรรม ลำเอียงได้ และบางเวลาเกิดความไม่รอบคอบได้ ละเอียด รอบคอบ และยุติธรรมตามที่ได้ถูกโปรแกรมไว้ การนำประสบการณ์ออกมาใช้ นำออกมาใช้ได้เลย ต้องมีการแปลงสารสนเทศก่อน ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ไม่มี การให้เหตุผล ต้องอาศัยประสบการณ์สูง ถ้าเป็นปัญหาเฉพาะด้าน จะสามารถให้เหตุผลได้ดี

การประยุกต์ใช้ปัญญาประดิษฐ์ในศาสตร์แขนงอื่น 1. หุ่นยนต์ (Robotic) 2. ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System: ES) 3. การประมวลผลภาษาธรรมชาติ (Natural Language Processing: NLP) และเทคโนโลยีเสียง (Voice/ Speech Technology) 4. คอมพิวเตอร์โครงข่ายใยประสาท (Neural Computing) 5. ตรรกะคลุมเครือ (Fuzzy Logic) 6. ตัวแทนปัญญา (Intelligent Agent) 7. ระบบช่วยสอนอันชาญฉลาด (Intelligent Tutoring System) 8. ระบบความเป็นจริงเสมือน (Virtual Reality System)

หุ่นยนต์ (Robotic) การนำหุ่นยนต์ ระบบความรู้สึก และกลไกการเคลื่อนไหวมารวมกัน ทำให้สามารถผลิตเครื่องจักรที่มีความฉลาด และมีความสามารถที่หลากหลาย เช่นในโรงงานอุตสาหกรรม การทำฟัน โรงพยาบาล ในโรงงานอุตสาหกรรม เช่น การทาสีรถยนต์ การเคลื่อนย้ายวัตถุ การตรวจสอบข้อบกพร่องของเครื่องจักร การทดสอบวงจรไฟฟ้า หุ่นยนต์ที่มีความฉลาดจะมีอุปกรณ์รับความรู้สึก (Sensory System) เช่น กล้องที่ใช้รวบรวมสารสนเทศ และสภาพแวดล้อมเกี่ยวกับการทำงานของหุ่นยนต์ สามารถแปลผลสารสนเทศที่มีการเก็บรวบรวมไว้แล้ว ทำการตอบสนองและปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมได้ดีกว่าการทำตามคำสั่งเพียงอย่างเดียว ประโยชน์ เพิ่มผลิตผล และลดความเสี่ยงที่จะเกิดอันตรายกับมนุษย์

การใช้คอมพิวเตอร์ควบคุมแขนและมือของหุ่นยนต์เพื่อช่วยในการประกอบ แผงวงจร (Circuit Board) ที่ Bell Laboratories

ASIMO หุ่นยนต์เลียนแบบมนุษย์ของบริษัทฮอนด้า เทคโนโลยี i-WALK ช่วยให้อาซิโมสามารถเดินและวิ่งได้อย่างอิสระเสรี ขึ้นบันไดและเต้นรำได้ มีระบบบันทึกเสียงเพื่อตอบสนองคำสั่งของมนุษย์ สามารถจดจำใบหน้าคู่สนทนาได้อย่างแม่นยำ http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%8B%E0%B8%B4%E0%B9%82%E0%B8%A1 http://www.youtube.com/watch?v=nQE9FY-_MZg&feature=related

ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System: ES) คือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่รวบรวมเอาความรู้ ความชำนาญและวิธีคิดที่เป็นเหตุเป็นผลของมนุษย์ที่เป็นผู้เชี่ยวชาญแล้วนำมาสร้างเป็นฐานความรู้(knowledge base)โดยทำหน้าที่เป็นผู้เชี่ยวชาญให้คำปรึกษา ให้คำแนะนำ บอกวิธีแก้ปัญหาให้กับมนุษย์ในเรื่องต่างๆ โดยที่ระบบผู้เชี่ยวชาญจะเป็นระบบโต้ตอบ ตอบสนองคำถาม ให้คำแนะนำและช่วยในกระบวนการตัดสินใจ

ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System: ES) หมายถึง โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการนำเสนอองค์ความรู้ของผู้เชี่ยวชาญเพื่อแก้ปัญหา และให้คำแนะนำอย่างเป็นเชิงเหตุและผล โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่แสดงความสามารถได้เหมือนกับผู้เชี่ยวชาญในสาขาต่างๆ หรือในงานเฉพาะอย่าง (ทักษิณา สวนานนท์, 2539,น. 99)

ตัวอย่างระบบผู้เชี่ยวชาญของ Software ExSys Corvid เริ่มเปิดโปรแกรม

ตัวอย่างระบบผู้เชี่ยวชาญของซอฟต์แวร์ ExSys Corvid ต่อ ตัวอย่างระบบผู้เชี่ยวชาญของซอฟต์แวร์ ExSys Corvid คำถาม คำตอบ คุณเคยเป็นเจ้าของกล้องวิดีโอมาก่อนหรือไม่ - เคย... -ไม่เคย... ราคาสูงสุดที่คุณสามารถจ่ายได้ $900 คำถามอื่นๆ... ... จากนั้นจะต้องมีการตอบคำถาม ดังตาราง

ตัวอย่างระบบผู้เชี่ยวชาญของซอฟต์แวร์ ExSys Corvid ต่อ ตัวอย่างระบบผู้เชี่ยวชาญของซอฟต์แวร์ ExSys Corvid สุดท้าย ExSys Corvid จะแสดงทางเลือกที่น่าสนใจให้

ประโยชน์ของระบบผู้เชี่ยวชาญ 1. ความรู้เฉพาะด้านของมนุษย์ที่เป็นผู้เชี่ยวชาญ สามารถนำมาสร้างเก็บไว้ในระบบผู้เชี่ยวชาญ เช่น เก็บความรู้ ความชำนาญของพ่อครัวไว้ 2. ขยายความสามารถในการตัดสินใจ 3. ช่วยแก้ปัญหาการขาดแคลนผู้เชี่ยวชาญ 4. ลดข้อจำกัดของมนุษย์ เช่น การป่วย การเสียชีวิต 5. เหมาะสำหรับการฝึกหัด เช่น บริษัทการบินใช้สถานการณ์จำลองในการฝึกบินของนักบิน และใช้ระบบผู้เชี่ยวชาญฝึกการตัดสินใจในระหว่างการฝึกหัด 6. เพิ่มคุณภาพ ให้คำปรึกษาที่เป็นกลางและถูกต้อง

ข้อจำกัดของระบบผู้เชี่ยวชาญ 1. องค์ความรู้ที่ต้องการนำมาจัดเก็บในระบบนั้นหาได้ยากในบางครั้ง 2. การถ่ายทอดความเชี่ยวชาญเป็นเรื่องยาก 3. ระบบผู้เชี่ยวชาญสามารถทำงานได้ดีที่สุดหากเป็นปัญหาที่มีขอบเขตไม่กว้างนัก 4. คำศัพท์ ที่ผู้เชี่ยวชาญให้ไว้ในระบบ ในบางครั้งเป็นคำที่ผู้ใช้ไม่สามารถทำความเข้าใจได้ 5. ต้องใช้ค่าใช้จ่ายในการพัฒนาระบบสูงมาก 6. การใช้ ES จะใช้แก้ปัญหาที่ได้รับการออกแบบและใส่ข้อมูลในโปรแกรมแล้วเท่านั้น ดังนั้น ES จึงไม่สามารถจัดการปัญหาที่เกิดขึ้นใหม่ นอกจากนี้ ES ไม่สามารถเรียนรู้จากประสบการณ์ที่ผ่านมาและไม่สามารถใช้ความเชี่ยวชาญที่มีอยู่เพื่อจัดการกับปัญหาใหม่ๆ แบบที่มนุษย์ทำได้

ตัวอย่างของ ES ที่นำไปใช้ในงานด้านต่างๆ 1. ด้านการแพทย์ : การให้คำแนะนำแก่หมอในการสั่งยาปฏิชีวนะให้คนไข้ซึ่งต้องคำนึงถึงปัจจัยต่างๆ หลายประการ เช่น ประวัติการเจ็บป่วยของคนไข้ แหล่งติดเชื้อ ราคาของยา 2. ด้านการผลิต : การให้คำแนะนำแก่โรงงานในการผลิตผลิตภัณฑ์ต่างๆ เช่น ชิ้นส่วนเครื่องบิน 3. ด้านธรณีวิทยา : ให้คำแนะนำแก่นักธรณีวิทยาในการวิเคราะห์ดินและน้ำมัน เพื่อพิจารณาในการขุดเจาะน้ำมัน 4. ด้านกระบวนการผลิต : ให้คำแนะนำในการกำหนดตารางเวลาในกระบวนการผลิต (Expert Systems Scheduling) ซึ่งทำให้บริษัทสามารถปรับตารางเวลาการการผลิต ให้สอดคล้องกับความต้องการในการเปลี่ยนแปลงการผลิตหรือเงื่อนไขของโรงงานที่เปลี่ยนไป อย่างรวดเร็วดังที่บริษัท General Motors ได้นำมาใช้ 5. ด้านกระบวนการทำงานของบริษัทบัตรเครดิต : ใช้ ES ช่วยในกระบวนการทำงานตั้งแต่การประมวลการสมัครของลูกค้า การอนุมัติเครดิต การรวมบัญชีที่ค้างชำระเกินกำหนด ES ที่ใช้ระบบนี้เรียกว่า Authorization Assistant และทำให้บริษัทประหยัดเงินได้หลายล้านดอลล่าร์ในแต่ละปี (Haag et al.,2000) http://elearning.northcm.ac.th/mis/content.asp?ContentID=76&LessonID=11

3. การประมวลผลภาษาธรรมชาติ (Natural Language Processing: NLP) และเทคโนโลยีเสียง (Voice/ Speech Technology) เป็นการติดต่อสื่อสารระหว่างผู้ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยผู้ใช้สามารถนำเข้าข้อมูลด้วยเสียงพูด อาจเป็นภาษาใดก็ได้ตามที่ผู้พัฒนาได้โปรแกรมไว้ การประมวลผลภาษาธรรมชาติเป็นการพัฒนาให้คอมพิวเตอร์สามารถโต้ตอบกับมนุษย์ได้ด้วยเสียงพูด

ข้อจำกัดของการประมวลผลภาษาธรรมชาติ สามารถจดจำคำศัพท์และความหมายได้ในจำนวนจำกัด

ตัวอย่างของ Software ที่มีการประมวลผลภาษาธรรมชาติ โปรแกรม Speak-to-Mail Speech Recognition มีคุณสมบัติดังนี้ 1. ส่ง E-mail ด้วยเสียง 2. สั่งให้คอมพิวเตอร์พิมพ์ข้อความด้วยเสียงได้ 3. ระบุที่อยู่ผู้รับได้ทั้ง cc,bcc และแนบไฟล์ (Attachment) ได้ด้วยเสียง 4. จัดการกับ Address book ได้ด้วยเสียง เช่น การเรียงลำดับ Address เป็นต้น 5. สามารถสั่งให้คัดลอกข้อความไปวางไว้ที่โปรแกรม Microsoft Word ได้ด้วยเสียง โดยการทำงานในส่วนนี้จะใช้เครื่องมือที่เรียกว่า “SpeakPad ”

Assignment งานสำหรับทุกคน 1. ให้หาระบบ AI ที่เราพบเห็นในชีวิตประจำวันหรือข่าว นิตยสาร 2. อาชีพ หรือความรู้เกี่ยวกับอะไรบ้างที่ควรนำมาพัฒนาเป็น Expert System การทำรายงานกลุ่ม 3 คน ให้ทำรายงานเรื่อง AI ได้ตามความสนใจค่ะ http://video.mthai.com/player.php?id=5M1183105017M0 Upload 27 มกราคม 2554 http://www.youtube.com/watch?v=u6hw6UCtmls&feature=related