สังคมยุคกลาง (Middle Age)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทฤษฎีทางอาชีพ ผศ. นิตยา เรืองแป้น ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา
Advertisements

ครูพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี 1 5 ข. กฎหรือข้อบังคับที่รัฐต้อง ปฏิบัติตาม ค. กฎเกณฑ์ควบคุมความ ประพฤติของบุคคล ง. กฎเกณฑ์ทางสังคม.
ผู้ลี้ภัยการเมือง จัดทำโดย นางสาว อำพันธ์ แสนคำวัง ลำดับ 106.
สิทธิในการเข้าสู่กระบวนการยุติธรรมทางปกครอง
หลักและทฤษฏีกฎหมายมหาชน
การส่งเสริมและสนับสนุน ให้สหกรณ์เป็นวาระ แห่งชาติ.
แนวทางการสอน เพื่อพัฒนาทักษะเด็กตามรูปแบบการสอน
รศ.ดร.จิตตินันท์ เดชะคุปต์ สาขาวิชามนุษยนิเวศศาสตร์
และองค์การบริหารส่วนจังหวัดกาญจนบุรีสาขาระดับอำเภอ 6 สาขา
การศึกษาและสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ ASEAN CURRICULUM SOURCEBOOK
แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับทีม
ผู้วิจัย วัฒนาทร ชูใหม่ สาขาการบริหารการศึกษา ปีการศึกษา 2548
PPA 1106 สถาบันการเมืองและรัฐธรรมนูญ
PPA 1106 สถาบันการเมืองและรัฐธรรมนูญ
๑ ทศวรรษของ สถาบัน. ๑ ) ด้านการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนา บุคลากรด้านการพัฒนามนุษย์ ๒ ) ผลิตและเผยแพร่ความรู้ด้านการ พัฒนามนุษย์ ๓ ) บริการสาธิตและวิจัยโดยศูนย์พัฒนา.
การอภิบาล ( การอภิบาล ( Governance) อำพล จินดาวัฒนะ การประชุมวิชชาการ : ปฏิรูประบบสุขภาพและชีวิต ปฏิรูป จิตสำนึกประชาธิปไตย ในโอกาส ๙ ปี สช. วันที่ 10.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
การจัดกิจกรรม ชุมนุม Science Club. การจัดกิจกรรมชุมนุมสนองตอบ วัตถุประสงค์ของการจัดการศึกษา ตามมาตรา ๒๔ ได้อย่างครบถ้วน.
สงกรานต์ ๒๕๕๗. ร่วมสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัย สงกรานต์ ทั่วไทยไร้อุบัติเหตุ  จะร่วมสร้างวัฒนธรรมความ ปลอดภัยกันอย่างไร  จะทำสงกรานต์ทั่วไทยไร้อุบัติเหตุ
การจัดทำหลักสูตร พัฒนาหัวหน้างาน เพื่อรองรับประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน.
ชุมชนปลอดภัย.
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
Soc106 สังคมวิทยาโลกาภิวัตน์ (Sociology of Global ization)
นักปรัชญาวิทยาศาสตร์
หลักการของจริยธรรมทางกฎหมาย
Seminar 1-3.
หลักสูตรอาเซียน เพื่อสร้างประชาคมอาเซียน ให้เป็นประชาคมที่มุ่งเน้น การปฏิสัมพันธ์กับต่างประเทศ มีความมั่นคง มีสันติภาพ และมีความมั่งคั่ง.
“Law is culture.” “Culture as law.” วัฒนธรรมในการใช้กฎหมาย
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
พื้นฐานการวิจัยและสร้างสรรค์ทางศิลปกรรมศาสตร์
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
ขีดความสามารถในการรองรับได้ของแหล่งท่องเที่ยว
โอวาท๓ / ไตรสิกขา.
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
กฎหมายและ โลกสมัยใหม่
Professional Learning Community ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
จัดทำโดย นาย วรปรัชญ์ ชาวเมือง เลขที่ 8 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4.3
โดย ผศ.ดร.ทศพล ทรรศนกุลพันธ์
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
Kerlinger (๑๙๘๘) กล่าวว่า การวิจัย เป็นรูปแบบหนึ่งของการแสวงหาความรู้ ความจริง ที่ถูกต้อง เชื่อถือได้ ตรวจสอบได้ เกี่ยวกับปรากฏการณ์ต่างๆ ในสังคมด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์
สอนโดย : อาจารย์กุสุมา ยกชู
Law as Social Engineering
อำนาจ การปกครอง และการระงับข้อพิพาท
Legal Culture วัฒนธรรมทางกฎหมาย
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
ISO ย่อมาจาก International Organization for Standardization คือ องค์การมาตรฐานสากล หรือองค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน เป็นองค์กรที่ออกมาตรฐานต่างๆ.
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
พฤติกรรมมนุษย์เพื่อการพัฒนาตน
วิชา สังคมไทยในบริบทโลก
ความช้าเร็ว ที่เกิดของวิปัสสนา
จรรยาบรรณวิชาชีพและกฎหมายสำหรับการท่องเที่ยวและการโรงแรม
กฎหมายและ โลกสมัยใหม่
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
การปกครองท้องถิ่น ในปัจจุบัน
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 พลเมืองดี.
ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 10
ลักษณะของกฎหมายระหว่างประเทศ อ.ดร. นวพร เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา
จริยธรรม (Ethics) คืออะไร
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม Man and Environment ภาคปลาย ปีการศึกษา 2561
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
อ. ดร. ณฐิตากานต์ ปินทุกาศ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สังคมยุคกลาง (Middle Age) Soc 106 (ชุดที่ 2) สังคมยุคกลาง (Middle Age) St. Thomas Aquinas (เซนต์ ทอมัส อโควนาส) ได้รับแนวคิดจากอริสโตเติล เป็นนักบวชรุ่นหลัง เซนต์ ออกุสติน มีแนวคิด ดังนี้

เหตุผล กับศรัทธา ต้องอยู่ด้วยกัน รัฐบาลชี้นำด้วยศีลธรรม / กำกับด้วยกฎหมาย มนุษย์ในสังคม / สังคมให้ความยุติธรรม สังคมที่ยุติธรรม จะให้หลักประกันแก่พลเมือง สิทธิที่จะบังคับให้เกิดความดีร่วมกัน มาจากมวลชนหรือ ตัวแทนมวลชน ตัวแทนที่ดีของมวลชน คือ K.

Thomas Hobbes (ทอมัส ฮอบส์) ได้รับแนวคิดจาก ทอมัส อโควนาส แนวคิด สังคม ต้องมีผู้ปกครอง ธรรมชาติของมนุษย์ คือความแก่งแย่งชิงดีกัน ต่อสู้กัน รัฐบาล แบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ (ระบอบกษัตริย์ Monarehy) ตัวแทน P. = เกิดความดีร่วมกัน + มีหน้าที่ควบคุมสังคม ฮอบส์ นิยมระบอบ K. สุดโต่ง (ระบอบประชาธิปไตย เป็นระบอบที่ชั่วร้าย) บทบาท K. ช่วยสังคมไม่ได้ สังคมจะกลายเป็น อนาธิปไตย (anarchy)

Jean Jacques Rousseau (ฌอง ฌ้าค รุสโซ) มนุษย์ เป็นพลเมืองของสังคม มนุษย์เป็นคนดีโดยธรรมชาติ แต่เป็นพลเมืองอยู่ในสังคม ภาวะความยินยอมพร้อมใจ จึงเกิดสิ่งที่เรียกว่า สัญญาประชาคม (Social Contract) คือ ประชาชนจะให้อะไรกับสังคม / สังคมให้อะไรกับประชาชน ( หน้าที่ ) ( สิทธิ )

ยุคทองของมนุษย์ คือ ยุคบุพกาล (Primitire Society) รัฐบาล คือ ผู้ที่ประชาชนมอบอำนาจชอบธรรมให้ปกครอง ประชาชนถอนอำนาจนี้ได้ หากรัฐบาลไม่ทำตามสัญญา ยุคทองของมนุษย์ คือ ยุคบุพกาล (Primitire Society) คือ ยุคที่มนุษย์ ใกล้ชิด และเรียนรู้ธรรมชาติมาก รุสโซ - ต่อต้านความไม่เป็นธรรมในสังคม ความไม่เป็นธรรม  เกิดจากทรัพย์สินส่วนบุคคล เช่นที่ดิน ประชาคม (Civil Society)  การที่บุคคลอื่นมาร่วมรับรู้ในกรรมสิทธิ์  กลุ่มคนที่ได้รับการบอกล่าว ยอมเชื่อผู้อ้างกรรมสิทธิ์

ถาม ? ประชาคมท้องถิ่น หมายถึง ............................................................. ....................................................................................................................... ประชาคมโลก หมายถึง .............................................................

Georg Wilhelm Friedrich Hegel (เฮเกล) ศึกษาจิต และความคิด เชื่อ จิตใจและธรรมชาติ เป็นสิ่งเดียวกัน ไม่อาจแยกได้ / ไม่เป็นอิสระจากกัน โลก ควรเปิดตัว / แสดงออกของความคิดรวบยอด โลก คือ การพัฒนาอย่างต่อเนื่อง โดยตัวของตัวเอง การพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ทำให้สังคมเปลี่ยนแปลง  สังคมเปลี่ยนแปลงได้ เพราะมนุษย์ใช้สมอง  สมองเป็นตัวกำหนดความคิด (มนุษย์คิด สังคม จึงเปลี่ยน)

รัฐ คือ ความจริง หรือรูปแบบของความคิด เชิงศีลธรรม การรับรู้จิตวิญญาณสูงสุดโดยใช้เหตุผล คือ จิตของมนุษย์ / ไม่ใช่ใช้ศรัทธา สมาชิกในรัฐ ถือเป็นอิสรภาพ / เป็นเกียรติของมนุษย์ รัฐทุกรัฐต้องมีอิสรภาพของตนเอง พลเมืองมีหน้าที่ธำรงรักษาความเป็นอิสระ และอธิปไตย

สังคมมีการเปลี่ยนแปลงได้ เพราะมนุษย์มีความคิด สมาชิกในสังคมทำให้สังคมเปลี่ยน

Auguste Comte (ออกุสต์ ก้องต์) บิดาแห่งสังคมวิทยา (เป็นนักวิทยาศาสตร์ F.) เห็นว่ามีความจำเป็น ในการมีระเบียบในชุมชน  ชุมชนควรเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน (Unifying Communal Order) ทฤษฎีควรมาก่อนการปฏิบัติ  แนวคิด แบบวิทยาศาสตร์ เป็นที่มาของความคิด แบบปฏิฐานนิยม (Positivism) แนวคิดแบบสังคมนิยม มีอิทธิพลต่อ มาร์กซ์

โลกกายภาพ จัดด้วยหลักทางวิทยาศาสตร์ เพียรพยายาม ทำให้สังคมศาสตร์ เป็นวิทยาศาสตร์ สร้างวิชาฟิสิกส์สังคม (Social Physics) บัญญัติ คำว่า สังคมวิทยา ในวงวิชาการ (Sociology) ไม่ชอบสิทธิสังคมนิยม หรือคอมมิวนิสต์ (เขาเชื่อในระบบคุณค่า และทรัพย์สินส่วนบุคคล  ทำให้เกิดปัจจัยการผลิต อารยธรรมของสังคมต่างๆ เกิดขึ้นได้ถ้ามีความพร้อมเชิงวัตถุ หรือความร่ำรวย (สิ่งที่ครอบครอง มิได้จะทำอะไรตามใจได้ ผู้ครอบครองจะต้องรู้หน้าที่ต่อสังคม โดยรวม ความคิดนี้อยู่ระหว่าง เสรีนิยม กับสังคมนิยม

สิทธิ คือ ......................................................................................... หมายถึง ........................................................................................ หน้าที่ หมายถึง .............................................................................. ..........................................................................................................................

ความมุ่งมั่นของก้องต์ สังคม ควรได้รับการปฏิรูป ปรัชญา ทำหน้าที่สังเคราะห์องค์ความรู้ จากวิทยาศาสตร์/ศาสตร์อื่นๆ ศาสนาของมนุษยชาติ (Religion of Humanity)

ปฏิรูปสังคม คนรุ่นใหม่ ควรคิดแบบปฏิฐานนิยม คือ หลุดพ้นจากวิธีคิดแบบศาสนา ไม่นิยมความรุนแรง ค่อยเป็นค่อยไป (ไม่ถอนราก ถอนโคน) / ไม่เสียเลือกเนื้อ / ไม่ปฏิวัติ

การสังเคราะห์ทางวิทยาศาสตร์ เป็นต้นกำเนิดของกฎระเบียบต่างๆ นำไปสู่กฎหมาย Law อธิบายปรากฏการณ์ธรรมชาติ สามารถนำมาอธิบายให้มนุษย์เข้าใจ ค้นพบ โครงสร้างทางสังคม ทำให้เข้าใจตัวตน เข้าใจมนุษย์ กฎเกณฑ์ ความรู้จากการศึกษา ค้นพบกฎที่อธิบายแก่สังคม

สังคมวิทยา สังคมวิทยา หมายถึง ศาสตร์แห่งความสามารถที่จะเข้าใจ (Entendment) สังคม มนุษย์ไม่อาจเข้าใจสังคมได้ด้วยการพิจารณาตัวเอง หรือการวิเคราะห์ แต่มนุษย์ต้องใช้วิธีสังเกต ดูกิจกรรมต่างๆ ที่มนุษย์กระทำ หรือ ผลงานทั้งหลายที่เกิดขึ้น ในอดีต ในสังคม

ถาม สังคม คืออะไร? ระบบสังคมเป็นอย่างไร? พฤติกรรมทางสังคม คืออะไร? สังคม คืออะไร? ระบบสังคมเป็นอย่างไร? พฤติกรรมทางสังคม คืออะไร? ระเบียบวิธีแสวงหาความรู้ แนวปฏิฐานนิยม เป็นอย่างไร ?

สังคม คืออะไร? .................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ระบบสังคมเป็นอย่างไร? ................................................................................................................................ พฤติกรรมทางสังคม คืออะไร? ........................................................................................................... ระเบียบวิธีแสวงหาความรู้ แนวปฏิฐานนิยม เป็นอย่างไร ? ..........................................................................................................................................................................................................