แนวคิดทางสัตวบาลในการแก้ไขปัญหาโรคนิวคาสเซิลในไก่ไข่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
Advertisements

การผลิตบ่อพัก ทำเอง ใช้เอง หจก. มภัสกาญ คอนสตรัคชั่น
เป็นการนำความรู้ด้าน Microsoft Excel ที่มีความพิเศษตรงที่สามารถ กำหนดสูตรการคำนวณในแต่ละเซลล์ ของ Sheet งานนั้นๆได้ โดยอาศัย ความแม่นยำในการคีย์ข้อมูลเข้าไป.
แนวทางการบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2558
จัดทำโดย น. ส. ดวงกมล งามอยู่เจริญ เลขที่ 8 น. ส. ณัชชา เชื้อตา เลขที่ 6 เตรียมบริหารธุรกิจปี 1.
1. การให้การดูแลผู้ป่วยแบบ ปฐมภูมิ 2. การประเมินผู้ป่วยตามความ รุนแรง 3. การดูแลผู้ป่วยที่อาจมีอาการ เปลี่ยนแปลง 4. การป้องกันและการเฝ้าระวัง การติดเชื้อในชุมชน.
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
ข้อสรุปจากวีดีทัศน์ “ผีปู่แสะย่าแสะ” 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน 2
การขัดเกลาทางสังคมซ้ำเพื่อสร้างพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ของเยาวชนในศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน ผู้วิจัย นภัสวรรณ บุญประเสริฐ หลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรดุษฎี
การใช้ภาษาและเทคโนโลยีสำหรับครู
กรณีศึกษาของเยาวชนที่กระทำความผิดคดีฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา : สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน จังหวัดสระบุรี ผู้วิจัย โยธิน จารุจุฑารัตน์ หลักสูตร ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต.
การจัดการความรู้ KM อำเภอเสนางคนิคม.
ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๑ ใช้เพื่อคลิ๊กไปสู่ หน้าถัดไป ใช้เพื่อคลิ๊กกลับ หน้าเดิม ใช้เพื่อคลิ๊กกลับสู่ หน้าหลัก ใช้คลิ๊กเมื่อต้องการ ออกจากระบบ.
ประเภทของ CRM. OPERATIONAL CRM เป็น CRM ที่ให้การสนับสนุนแก่กระบวนการธุรกิจ ที่เป็น “FRONT OFFICE” ต่างๆ อาทิ การขาย การตลาด และการ ให้บริการ SALES FORCE.
การเจริญเติบโตของปลาดุกทะเล (Plotosus canius Hamilton, 1822) ในระบบน้ำหมุนเวียน วลีรัตน์ มูสิกะสังข์ กฤษณา องอาจ พุทธ ส่องแสงจินดา.
ระเบียบคณะกรรมการพลังงานปรมาณูเพื่อสันติว่าด้วยวิธีการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของวัสดุนิวเคลียร์และสถานประกอบการทางนิวเคลียร์พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
หลักการเลี้ยงสัตว์ คำบรรยาย โดย ครูสีกุน นุชชา
กระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสง
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
แนวทาง การดำเนินงาน ป้องกันการจมน้ำ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
มาตรฐานระบบการบริหารงานคุณภาพ
การศึกษาอุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงการเกิดพิษต่อตับ ในผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่ได้รับยาต้านไวรัสเอชไอวี โรงพยาบาลวารินชำราบ.
ระดับความเสี่ยง (QQR)
มาทำความรู้จักกับ มาทำความรู้จักกับ เห็ดหูหนูขาว.
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
แนวทางการดำเนินงานเพื่อผู้สูงอายุ
การคาดประมาณปริมาณการใช้วัคซีน เด็กอายุ 1 ปี (เกิดตั้งแต่ 1 ม.ค. 57)
ประกาศกรมควบคุมมลพิษ เรื่องหลักเกณฑ์ในการพิจารณาความเหมาะสมของพื้นที่ การออกแบบก่อสร้างและการจัดการสถานที่หมักปุ๋ยจากมูลฝอย ประกาศในกรมควบคุมมลพิษ.
ผลการดำเนินงาน การบริหารจัดการประเมิน และดูแลผู้ป่วยก่อนกลับเข้าทำงาน
ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
บทที่ 4 การดูแลให้ได้รับการพักผ่อนและความปลอดภัย การจัดการสิ่งแวดล้อม การทำเตียง อ.กรวรรณ สุวรรณสาร.
ความรู้เบื้องต้นระบบระบายอากาศ
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ความสำคัญ เหตุผลที่เฝ้าระวัง PM10
คำสำคัญ : ความชุกวัณโรค, ผู้ต้องขังในเรือนจำ
สัตวบาลเบื้องต้น นายสัตวแพทย์สุพจน์ หนูปัทยา กลุ่มพัฒนาสุขภาพสัตว์
การวิเคราะห์ ข้อมูลขยะ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
โปรตีน กรดอะมิโนหลายโมเลกุล จะยึดเหนี่ยวกันด้วยพันธะเพปไทด์
กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
รายวิชา การบริหารการศึกษา
กฎกระทรวงสถานีบริการก๊าซปิโตรเลียมเหลว พ.ศ.....
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
บทที่ 3 โรงเรือนและอุปกรณ์โคเนื้อ
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
ขดลวดพยุงสายยาง.
กิจกรรมที่ 7 นายปรีชา ขอวางกลาง
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
รายงานสถานการณ์E-claim
นวัตกรรม ขวดเก็บ Sputum culture
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
ทายสิอะไรเอ่ย ? กลม เขียวเปรี้ยว เฉลย ทายสิอะไรเอ่ย ? ขาว มันจืด เฉลย.
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม Man and Environment ภาคปลาย ปีการศึกษา 2561
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
คุณต้องรู้ว่าคุณกำลังมีปัญหาอะไร?
บทที่ 8 การจดบันทึกและทำบัญชี
นำเสนอโดย ABC DEFG คณะเกษตรศาสตร์สาขา สัตวศาสตร์
เครื่องขุดหลุมปลูกยาสูบ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวคิดทางสัตวบาลในการแก้ไขปัญหาโรคนิวคาสเซิลในไก่ไข่ ดร. เสกสม อาตมางกูร ภาควิชาสัตวบาล มก. กพส.

ปัจจัยสำคัญในการผลิตไข่ สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม สมรรถภาพ การผลิตไข่ โภชนาการ ที่ถูกต้อง การจัดการ เลี้ยงดูที่ดี สุขภาพไก่ที่ดี

สาเหตุที่ทำให้สีเปลือกไข่ซีดกว่าปกติ ความเครียด อายุแม่ไก่ (อัตราส่วนของน้ำหนักไข่และน้ำหนักเปลือกไข่) สารเคมีต่างๆ เช่น Sulfonamides และ Nicarbazin ไวรัสต่างๆ เช่น Newcastle, Infectious bronchitis และ Egg drop syndrome

กระบวนการสร้างสีของเปลือกไข่ รงค์วัตถุสำคัญ (สร้างที่เซลบริเวณท่อนำไข่ส่วน Uterus) Biliverdin-IX Zinc chelate ของ Biliverdin-IX Protoporphyrin-IX (Fe, Cu) แม่ไก่จะใช้เวลา 1-2 ชม สุดท้ายของการวางไข่ สะสมรงค์วัตถุ ต่างๆในส่วนของนวลไข่ (Cuticle) Biliverdin-IX Protoporphyrin-IX

ความสัมพันธ์ระหว่างโภชนาการและ ND อาหารที่มีคุณภาพที่ดี (ประกอบไปด้วยวัตถุดิบที่ย่อยง่ายและไม่มี สารปนเปื้อนต่างๆ) กระตุ้นให้มีปริมาณการกินได้ต่อวันที่เพิ่มขึ้น หรือพิจารณาเพิ่ม ความเข้มข้นของสารอาหารให้สอดคล้องกับปริมาณการกินของไก่ พิจารณาใช้สารเสริมให้เหมาะสม Feed enzymes สมุนไพร เช่น ฟ้าทะลายโจร และกวาวเครือ เป็นต้น

ความสัมพันธ์ระหว่างโภชนาการและ ND ทำอาหารให้มี Particle size ของวัตถุดิบต่างๆที่สม่ำเสมอ โดยเฉพาะอย่างยิ่งข้าวโพด (เพื่อลดปัญหาการเลือกกินของไก่) พิจารณาเสริมเปลือกหอยหรือหินเกร็ด? ถึงแม้ว่าไก่ส่วนใหญ่จะหายป่วยและมีสุขภาพที่ดีขึ้น รวมทั้งมีการ กินได้ที่กลับเข้าสู่เกณฑ์มาตรฐานแล้วก็ตาม ผลผลิตไข่และคุณภาพ ของไข่จะไม่สามารถกลับเข้าสู่เกณฑ์มาตรฐานได้อย่างเดิม (อาจ ลดลงประมาณ 10-15%)

การขัดขวาง การใช้ประโยชน์ ระหว่างแร่ธาตุ ด้วยกัน

กระบวนการสร้างและคุณภาพของเปลือกไข่ แคลเซี่ยมจากอาหาร CaCO3 HCO-3 Ca++ Carbonic anhydrase Zn P H2O + CO2 ธนาคารแคลเซี่ยม

ความสัมพันธ์ระหว่างโภชนาการและ ND แร่ธาตุอินทรีย์ Zinc chelate เพิ่มภูมิคุ้มกัน และคุณภาพเปลือกไข่ Iron chelate เพิ่มปริมาณเหล็กในตับสำหรับการสร้าง และสะสมเหล็กในไข่แดง รวมทั้งการสร้างสีเปลือกไข่ Copper chelate การสร้างสีเปลือกไข่ ไวตามิน C เพิ่มภูมิคุ้มกันและลดความเครียด

สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม ความหนาแน่นในการเลี้ยงต่อกรงและต่อโรงเรือน Feeding space Watering space คุณภาพอากาศภายในโรงเรือน ปริมาณออกซิเจน ความเร็วลม การกระจายของลมทั่วโรงเรือน

ความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรือนและ ND คุณภาพของอากาศ และปริมาณแอมโมเนีย**

ความสัมพันธ์ระหว่างการจัดการเลี้ยงดูและ ND เน้นคุณภาพของอากาศเป็นพิเศษ ความเร็วลม (เพิ่มพัดลม ตรวจเช็คพัดลม ติดชิ่งลม) อุณหภูมิของอากาศในโรงเรือน (ตรวจเช็คประสิทธิภาพ ของ Pad และระบบพ่นน้ำว่ากระจายทั่ว Pad หรือไม่) หมั่นเก็บมูลไก่ อย่าให้มีการสะสมและสร้างแอมโมเนียได้

คุณภาพของ Pad

คุณภาพของ Pad

คุณภาพของพัดลม มีจำนวนพอเพียง (พัดลม เสีย?) ตรวจเช็คความทั่วถึงของ แรงลมให้ทั่วโรงเรือน ตรวจเช็คสายพาน (เบอร์ ถูกต้อง และมีระดับความตึง ที่ถูกต้อง)

ความสัมพันธ์ระหว่างการจัดการเลี้ยงดูและ ND เลี้ยงไก่ให้บางลง (กรณีขึ้นไก่สาวชุดใหม่) โดยให้คำนึงถึง Feeding space เป็นเกณฑ์ เพิ่มจำนวนครั้งของการให้อาหาร และหมั่นเกลี่ยรางอาหารบ่อยๆ หมั่นตรวจคลำกระดูกเชิงกรานของแม่ไก่เพื่อตรวจสอบสถานภาพ การให้ไข่ของทั้งฝูงไก่ (อาจจะต้องมีการคัดทิ้งประมาณ 10-15%)

ความสัมพันธ์ระหว่างสุขภาพไก่และ ND Bacteria Virus

ข้อคิดของการทำวัคซีน ข้อคิดโดยทั่วไป ชนิดของวัคซีน โปรแกรมวัคซีน ข้อควรคิดเพิ่มเติม กระบวนการเก็บรักษา และการเตรียมวัคซีน กระบวนการทำวัคซีนให้ ไก่ได้รับวัคซีนเต็มโด๊ส สุขภาพของฝูงไก่ก่อนและ หลังการทำวัคซีน

Farm bio-security การป้องกันเชื้อโรคจากภายนอกฟาร์มไม่ให้เข้าสู่บริเวณ ภายในฟาร์ม การป้องกันไม่ให้เชื้อโรคที่เกิดขึ้น ณ ส่วนหนึ่งส่วนใดของ โรงเรือนหรือฟาร์มแพร่กระจายไปยังส่วนอื่นๆของโรงเรือน หรือฟาร์ม การป้องกันไม่ให้เชื้อโรคภายในฟาร์มของเราออกไปสู่ ภายนอกฟาร์ม

Farm bio-security Isolation (การแยกไก่ในฟาร์มออกจากสิ่งมีชีวิตทุกอย่างนอกฟาร์ม) Traffic control (การจัดระบบการทำงานของพนักงาน รถส่งอาหาร รถจับไก่ รถขนส่งไข่ ภายในฟาร์มและระหว่างโรงเรือนต่างๆ) Sanitation ( การจัดการด้านสุขศาสตร์ของฟาร์ม อาทิเช่นการทำ ความสะอาด และการฆ่าเชื้อที่ถูกต้องเป็นต้น)

ข้อคิดในเรื่อง Farm bio-security

สรุปการจัดการต่อโรค ND โปรแกรมวัคซีนและการทำวัคซีนที่ถูกต้อง Farm bio-security การจัดการสภาพแวดล้อมที่ดี การจัดการโภชนาการที่ดี การจัดการเลี้ยงดูที่ดี การจัดการสุขภาพทั่วไปที่ดี