สถานการณ์สภาวะสุขภาพช่องปาก จังหวัดกำแพงเพชร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
แนวทางการบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2558
งานส่งเสริมทันตสุขภาพ
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ภาคีรวมใจคนไทยไร้พุง จ.ลพบุรี Lopburi’s Slimming Academy
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
โครงการ “ฟันเทียมพระราชทาน”
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
เป็นเจ้าภาพหลัก 2 ประเด็น เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
รายงานผลการดำเนินงาน
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ผลการดำเนินงานต่อเนื่องของ service plan
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี
ประชุมMCH Board จังหวัดอุตรดิตถ์ ครั้งที่ ๒/๒๕๕๘ วันพฤหัสที่ ๑๘มิถุนายน ๒๕๕๘ ณ ห้องประชุมภูสอยดาว สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ์
ของเทศบาลตำบลหนองไผ่ อ.เมือง จ.อุดรธานี
แผนงานยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุขด้านพัฒนาสุขภาพ กลุ่มผู้สูงอายุ กระทรวงสาธารณสุข สถานการณ์ปัญหา : ด้าน โครงสร้างประชากร ปัจจุบันประเทศไทย : ( ข้อมูล ณ.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
การขับเคลื่อนงานสุขภาพจิต วัยทำงาน ประจำปี 2559 โดย โรงพยาบาลจิตเวชนครสวรรค์ราช นครินทร์
แนวทาง การดำเนินงาน ป้องกันการจมน้ำ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
เทศบาลเมืองวังน้ำเย็น อำเภอวังน้ำเย็น จังหวัดสระแก้ว
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบายการควบคุมโรคไม่ติดต่อ ด้านการเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันได้ดี ปีงบประมาณ 2561.
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอน้ำพอง
โครงการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุ
Excellence ที่ 1 Prevention & Promotion Excellence
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
โครงการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุ
สาธารณสุขยุคใหม่ สร้างสังคมสุขภาพดี วิถีธรรม วิถีไทย
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
ข้อสั่งการ/ข้อเสนอแนะ
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ ข้อสั่งการ/ข้อเสนอแนะ
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
การคัดกรองภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมนแต่กำเนิด (Congenital Hypothyroidism)
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
โครงการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ ปีงบประมาณ 2551
ประเด็น PA แผนงาน พัฒนาคุณภาพชีวิตแม่และเด็ก (Maternal & Child ) ลดมารดาตาย และเด็กต่ำกว่า 1 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ Target / KPI No : แม่ไม่เสียชีวิตจากการตั้งครรภ์และการคลอด.
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
Model ผลที่คาดหวัง วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดหลัก
กองทันตสาธารณสุข กรมอนามัย 11 ธันวาคม 2550
การตรวจราชการ “ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน”
43 แฟ้มกับงานทันตกรรม 1. Standard Data Set 43 แฟ้ม
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
โรคติดเชื้อไวรัสซิก้า
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข โซน3 จังหวัดเชียงใหม่ ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 ด้วยความยินดียิ่ง.
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
ยินดีต้อนรับ ทีมประเมินผลงาน รอบ ๖ เดือน ปีงบประมาณ ๒๕๖๐ คบสจ.พิจิตร
งานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ จังหวัดเชียงใหม่
สถานการณ์สุขภาพช่องปาก ปี 2560
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
อสม.ดีเด่น สาขาทันตสุขภาพ
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การป้องกันควบคุมโรค NCDs
สรุปผลการดำเนินงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ 2560
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ)
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
2.ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมาย : การเข้าถึงบริการโรคสมาธิสั้นร้อยละ 9
คุณต้องรู้ว่าคุณกำลังมีปัญหาอะไร?
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สถานการณ์สภาวะสุขภาพช่องปาก จังหวัดกำแพงเพชร * พรานกระต่าย โกสัมพี * โกสัมพี 12 ปี ฟันผุ<50% 60 ปีขึ้นไป มีฟัน 4 คู่สบ 3 ปี ฟันผุ < 50% ✓ ✓ ❌

สถานการณ์สุขภาพช่องปากจังหวัดกำแพงเพชร เด็กอายุ 12 ปี ฟันดี(cavity free) มากกว่า 65% ปี 2559 สถานการณ์ฟันผุในเด็กอายุ 12 ปี เป้าหมายไม่ควรเกินร้อยละ 50 พบว่ามีอัตราลดลงทุกปีตั้งแต่ปี 2555 จนปี 2558 อยู่ที่ร้อยละ 48.49 ผุมากขึ้นจากปี 2557 แต่ยังไม่เกินค่าเป้าหมาย ที่มา : จากการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากจังหวัดกำแพงเพชร

สถานการณ์สุขภาพช่องปากจังหวัดกำแพงเพชร ฟันแท้ผุกลุ่ม 12 ปี ≤ 50% ปี 2560 สถานการณ์ฟันผุในเด็กอายุ 12 ปี เป้าหมายไม่ควรเกินร้อยละ 50 พบว่ามีอัตราลดลงทุกปีตั้งแต่ปี 2555 จนปี 2558 อยู่ที่ร้อยละ 48.49 ผุมากขึ้นจากปี 2557 แต่ยังไม่เกินค่าเป้าหมาย ที่มา : จากการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากจังหวัดกำแพงเพชร

สถานการณ์สุขภาพช่องปากจังหวัดกำแพงเพชร ฟันน้ำนมผุกลุ่มอายุ 3 ปี ≤ 50% ปี 2560 สถานการณ์ฟันผุในเด็กอายุ 3 ปี เป้าหมายไม่ควรเกินร้อยละ 50 พบว่ามีอัตราลดลงทุกปีตั้งแต่ปี 2555 จนปี 2558 อยู่ที่ร้อยละ 50.82 ผุมากขึ้นจากปี 2557 เกินเป้าหมายมาร้อยละ 0.82 ที่มา : จากการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากจังหวัดกำแพงเพชร

เด็กอายุ 0-12 ปี ฟันดีไม่มีผุ cavity free KPI* เด็กอายุ 0-12 ปี ฟันดีไม่มีผุ cavity free PI หญิงตั้งครรภ์ หญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก ร้อยละ 70 เด็กอายุ 0-3 ปี เด็กอายุ 0-2 ปี ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก ร้อยละ 70 เด็กอายุ 0-2 ปี ที่เสี่ยงต่อโรคฟันผุได้รับการทาฟลูออไรด์วานิช ร้อยละ 30 ผู้ปกครองเด็กอายุ 0-2 ปี ได้รับการสอนและสาธิตการดูแลสุขภาพช่องปาก ร้อยละ 70 เด็กอายุ 3 ปี ฟันผุไม่เกิน ร้อยละ 50 เด็กอายุ 6-12 ปี เด็กอายุ 6 ปี ได้รับการเคลือบหลุมร่องฟันแท้ ร้อยละ 40 การยึดติดของสารเคลือบหลุมร่องฟันในเด็กอายุ 6 ปี ร้อยละ 70 เด็กอายุ 6-12 ปี ได้รับบริการทันตกรรม ร้อยละ 45 เด็กอายุ 12 ปี ฟันผุไม่เกิน ร้อยละ 40

ที่ รายการข้อมูล เป้าหมาย (ร้อยละ) เมือง ขาณุวรลักษบุรี คลอง ขลุง พรานกระต่าย คลองลาน ไทรงาม ลานกระบือ ปางศิลาทอง บึงสามัคคี ทรายทองฯ รพ.ทุ่งโพธิ์ทะเล โกสัมพีนคร จังหวัด 1 หญิงตั้งครรภ์ตรวจสุขภาพช่องปาก 70 38.68 76.04 56.51 63.75 68.51 52.38 45.38 79.28 78.21 89.29 71.93 73.14 57.13 2 จำนวนเด็กอายุ 0-2ปีตรวจสุขภาพช่องปาก 72.96 87.99 67.94 93.95 72.08 70.17 70.50 100 90.96 84.25 3 จำนวนเด็กอายุ 0-2ปีทาฟลูออไรด์ 30 58.04 96.70 56.81 65.82 79.57 73.36 79.56 87.83 86.61 69.79 74.70 4 จำนวนเด็กอายุ 0-2ปีฝึกทักษะการแปรงฟัน 92.89 78.16 93.10 79.22 80.34 83.87 89.76 94.50 5 เด็กอายุ3ปี ฟันน้ำนมผุ < 50 40.25 33.59 30.89 56.86 46.87 32.25 32.74 34.12 35.16 49.33 46.24 60.17 40.44

จังหวัด 40 70 45 <50 เด็กอายุ6ปีได้รับการเคลือบหลุม ร่องฟัน 18.68 ที่ รายการข้อมูล เป้าหมาย (ร้อยละ) เมือง ขาณุวรลักษบุรี คลอง ขลุง พรานกระต่าย คลองลาน ไทรงาม ลานกระบือ ปางศิลาทอง บึงสามัคคี ทรายทองฯ รพ.ทุ่งโพธิ์ทะเล โกสัมพี นคร จังหวัด 6 เด็กอายุ6ปีได้รับการเคลือบหลุม ร่องฟัน 40 18.68 41.31 55.76 72.22 24.48 36.07 13.11 56.14 51.27 84.69 28.47 31.51 37.42 7 การยึดติดของสารเคลือบหลุมร่องฟันเด็ก6ปี 70 48.48 54.46 50.25 86.46 70.55 64.25 79.17 66.89 48.0 84.05 56.34 62.14 63.33 8 เด็ก 6-12ปีได้รับบริการทันต กรรม 45 45.89 64.56 51.89 63.47 66.96 46.47 30.33 70.24 45.18 61.03 44.75 48.59 53.36 9 จำนวนเด็ก อายุ 12ปีฟันผุ <50 42.45 35.74 36.86 49.51 33.28 39.44 22.03 34.69 44.09 43.63 36.63 58.99 39.74

ผลพฤติกรรมทันตสุขภาพเด็กอายุ 12 ปี จังหวัดกำแพงเพชร ปี2560 2559

ร้อยละของเด็กอายุ 12ปี ดื่มน้ำอัดลม จ.กำแพงเพชร ปี 2559 ร้อยละของเด็กอายุ 12ปี ดื่มน้ำอัดลม จ.กำแพงเพชร ปี 2559 2559 2560

ร้อยละของเด็กอายุ 12ปี ดื่มน้ำหวาน จ.กำแพงเพชร ปี 2559 ร้อยละของเด็กอายุ 12ปี ดื่มน้ำหวาน จ.กำแพงเพชร ปี 2559 2559 2560

สถานการณ์สุขภาพช่องปากจังหวัดกำแพงเพชร ผู้สูงอายุมีฟันใช้งานอย่างน้อย 4 คู่สบ ≥ 60% ปี 2560 สถานการณ์การมีฟันใช้งานอย่างน้อย 4 คู่สบ มากขึ้นตั้งแต่ปี 2555 จนปี 2558 ลดลงอยู่ที่ร้อยละ 44.56 มีอำเภอคลองลาน และทุ่งโพธิ์ทะเลที่ผ่านเป้าหมายร้อยละ 60 ซึ่งจะได้เน้นการส่งเสริมป้องกันสุขภาพช่องปากในวัยก่อนสูงอายุและการรณรงค์การใส่ฟันเทียมเพิ่มมากขึ้นต่อไป สำหรับปี 2559 สภาวะสุขภาพช่องปากในทุกกลุ่มวัยยังอยู่ในช่วงการสำรวจจะได้ผลในเดือนกรกฎาคม ที่มา : จากการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากกำแพงเพชร

KPI ผู้สูงอายุมีฟันคู่สบฟันหลังใช้งานได้อย่างน้อย 4 คู่สบ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 PI ร้อยละ 60 ของผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก (คน) ร้อยละ 80 ของเป้าหมายจากกระทรวงที่ตั้งไว้ ผู้สูงอายุได้รับการใส่ฟันเทียมทั้งปาก (CD) และมากกว่า16ซี่ รายงานในโปรแกรมฟันเทียมพระราชทาน (จำนวน 725 ราย)

ที่ รายการข้อมูล เป้าหมาย (ร้อยละ) เมือง ขาณุวรลักษบุรี คลอง ขลุง พรานกระต่าย คลองลาน ไทรงาม ลานกระบือ ปางศิลาทอง บึงสามัคคี ทรายทองฯ รพ.ทุ่งโพธิ์ทะเล โกสัมพีนคร จังหวัด 1 ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจช่องปาก 60 29.53 62.32 57.93 43.98 55.01 65.20 49.77 66.96 43.90 50.94 61.37 43.83 48.29 2 ผู้สูงอายุได้รับการใส่ฟันเทียมตามเป้าหมาย 80 163.33 167.50 107.50 125 120 284 197.50 160 190 155 233.33 148 150.72

รพ.สต./ศสม.บริการสุขภาพช่องปากอย่างมีคุณภาพร้อยละ 60 ปี 2560

KPI ร้อยละอำเภอที่จัดบริการสุขภาพช่องปากในรพ.สต./ศสม.ที่มีคุณภาพตามเกณฑ์ภายใต้การสนับสนุนของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตอำเภอ หรือDistrict Health Broad ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 PI รพ.สต./ศ.ส.ม.จัดบริการสุขภาพช่องปากไม่น้อยกว่า 200 คนต่อพันประชากร ร้อยละ 60 รพ.สต./ศ.ส.ม.จัดบริการสุขภาพช่องปากครบ 6 กลุ่มเป้าหมาย 14 กิจกรรม ร้อยละ 60

จังหวัด CUP บริการครบ 200 คน/1000ประชากร 60 52.94 64.71 92.86 87.5 90 เป้า หมาย (ร้อยละ) เมือง ขาณุฯ คลอง ขลุง พรานกระต่าย คลองลาน ไทรงาม ลานกระบือ ปางฯ บึงสามัคคี ทรายทอง โกสัมพี จังหวัด บริการครบ 200 คน/1000ประชากร 60 52.94 64.71 92.86 87.5 90 77.78 33.33 100 83.33 87.50 72.73 ครอบคลุม 14 กิจกรรม 85.29 94.12 93.75 44.44 88.64 รพ.สต.คุณภาพ 58.82 71.97

การเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปาก ≥ 35% ปี2559 และ2560 สถานการณ์การมีฟันใช้งานอย่างน้อย 4 คู่สบ มากขึ้นตั้งแต่ปี 2555 จนปี 2558 ลดลงอยู่ที่ร้อยละ 44.56 มีอำเภอคลองลาน และทุ่งโพธิ์ทะเลที่ผ่านเป้าหมายร้อยละ 60 ซึ่งจะได้เน้นการส่งเสริมป้องกันสุขภาพช่องปากในวัยก่อนสูงอายุและการรณรงค์การใส่ฟันเทียมเพิ่มมากขึ้นต่อไป สำหรับปี 2559 สภาวะสุขภาพช่องปากในทุกกลุ่มวัยยังอยู่ในช่วงการสำรวจจะได้ผลในเดือนกรกฎาคม

KPI อัตราการใช้บริการสุขภาพช่องปากรวมทุกสิทธิของประชาชนในพื้นที่ ร้อยละ 35 PI ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ได้รับบริการทันตกรรม ร้อยละ 35 ร้อยละของเด็กอายุ 0-2 ปี ได้รับบริการทันตกรรม ร้อยละ 35 ร้อยละของเด็กอายุ 3-5 ปี ได้รับบริการทันตกรรม ร้อยละ 35 ร้อยละของเด็กอายุ 6-12 ปี ได้รับบริการทันตกรรม ร้อยละ 35 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานได้รับริการทันตกรรม ร้อยละ 35 ร้อยละของผู้สูงอายุได้รับบริการทันตกรรม ร้อยละ 35

CUP เป้า หมาย เมือง ขาณุฯ คลอง ขลุง พรานกระต่าย คลองลาน ไทรงาม ลานกระบือ ปางฯ บึงสามัคคี ทรายทอง โกสัมพี ทุ่งโพธิ์ จังหวัด หญิงตั้งครรภ์ได้รับบริการทันตกรรม 35 34.52 72.12 55.39 59.90 58.13 49.52 36.92 70.27 76.92 88.10 64.91 61.46 52.28 0-2ปี ได้รับบริการทันต กรรม 69.29 79.48 62.93 75.9 73.95 77.86 71.92 80.97 82.90 88.52 86.22 89.67 74.88 3-5 ปี ได้รับบริการทันต กรรม 53.09 75.83 59.74 73.94 57.95 57.15 53.01 65.44 62.39 82.71 67.29 54.24 62.10 6-12 ปี ได้รับบริการทันต กรรม 46.37 46.47 51.89 63.47 64.43 30.33 70.24 45.18 61.03 52.27 44.75 53.36 ผู้ป่วยโรคเบาหวานได้รับบริการทันต กรรม 43.43 66.11 65.15 57.14 63.44 71.06 58.83 74.52 52.46 59.62 53.41 67.57 57.78 ผู้สูงอายุได้รับบริการทันตกรรม 28.70 26.83 30.74 41.03 29.96 36.10 34.14 64.93 32.66 39.26 35.19 34.30 33.14

KPI : เด็กอายุ 0-12 ปี ฟันดีไม่มีผุ cavity free สถานการณ์ ปี 2558 2559 และ 2560 ร้อยละ 64.89 74.43 และ 76.11 ตามลำดับ ผ่านเกณฑ์เป้าหมายทุกอำเภอ สาเหตุปัญหา พฤติกรรมการรับประทานอาหาร การทำความสะอาดช่องปาก การเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปาก มาตรการ ส่งเสริม ป้องกัน รักษา ประสานเครือข่าย พัฒนาศักยภาพทันตบุคลากร และเครือข่าย พัฒนาเครื่องมือ/ครุภัณฑ์ทันตกรรม พัฒนาสารสนเทศ กิจกรรมหลัก อำเภอ : ตรวจเฝ้าระวังสุขภาพช่องปาก ให้ทันต สุขศึกษา ฝึกแปรงฟัน เคลือบหลุมร่อง ฟัน ศพด./รร.อ่อนหวาน รร.เครือข่าย เด็กไทยฟันดี จังหวัด : นิเทศ กำกับ ติดตาม ประเมิน รร.เครือข่าย สุ่มการติด แน่นสารเคลือบหลุมร่องฟัน สำรวจสภาวะสุขภาพช่อง ปากระดับจังหวัด อบรมวิชาการแก่ทันตบุคลากร จัดเวทีนำเสนอผลงานวิชาการ

มาตรการในแต่ละกลุ่มวัย ระดับอำเภอ หญิงตั้งครรภ์ - การตรวจร่างกายและการตรวจครรภ์ : บริการตรวจสุขภาพช่องปากและให้ทันตสุขศึกษา ฝึกแปรงฟัน อย่างน้อย ๑ ครั้ง ในช่วงฝากครรภ์ ครั้งที่ ๑ - การให้การดูแลรักษา : ช่วงฝากครรภ์ครั้งที่ ๑ หรือ ๒ (อายุครรภ์ไม่เกิน ๖ เดือน) - บริการเยี่ยมบ้านหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด : แนะนำการดูแลสุขภาพช่องปากตนเองและฝึกทักษะการทำความสะอาดช่องปากเด็ก พร้อมกับการเยี่ยมบ้านโดยสหสาขาวิชาชีพ

มาตรการในแต่ละกลุ่มวัย ระดับอำเภอ มาตรการในแต่ละกลุ่มวัย เด็กเล็กอายุ 0-5 ปี บริการตรวจสุขภาพช่องปากและการทาฟลูออไรด์วาร์นิช เพื่อการป้องกันฟันน้ำนมผุในเด็กอายุ ๙-๖๐ เดือน โดยทาฟลูออไรด์วาร์นิชเด็กกลุ่มเสี่ยง อายุ ๙,๑๘,๒๔,๓๖ ทุก ๖ เดือน และติดตามเด็กจนถึงอายุ ๖๐ เดือน ๑-๒ ครั้งต่อปี บริการเยี่ยมบ้าน/ชุมชน : ฝึกทักษะการทำความสะอาดช่องปากเด็ก พร้อมกับการเยี่ยมบ้านโดยสหสาขาวิชาชีพ รณรงค์ศพด.อ่อนหวาน

มาตรการในแต่ละกลุ่มวัย ระดับอำเภอ มาตรการในแต่ละกลุ่มวัย เด็กเล็กอายุ 6-12 ปี คัดกรองสุขภาพช่องปากในโรงเรียน ในเด็ก ป.๑-ป.๖ (อายุ ๖-๑๒ ปี) อย่างน้อย ๑ ครั้งต่อปี โดยการตรวจสุขภาพช่องปากและแนะนำในโรงเรียน โดยครู/จพง.ทันตสาธารณสุข/ทันตแพทย์ รวมทั้งส่งต่อเพื่อรักษากรณีที่จำเป็น เคลือบหลุมร่องฟัน ในเด็กโตและวัยรุ่น (อายุ ๖-๒๐ ปี) สำหรับฟันกรามถาวรซี่ที่ ๖,๗,๔,๕ โดยวัสดุเคลือบหลุมร่องฟัน (sealant) ซี่ละ ๑ ครั้ง ถ้าหลุดให้ดำเนินการเคลือบใหม่ ทุกโรงเรียนประถมศึกษาให้มีทันตบุคลากรดูแลรับผิดชอบ

มาตรการในแต่ละกลุ่มวัย ระดับอำเภอ เด็กเล็กอายุ 6-12 ปี เคลือบฟลูออไรด์ โดยบริการเคลือบฟันด้วยฟลูออไรด์ ทุก ๖ เดือน พร้อมกับให้คำแนะนำในการแปรงฟันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์อย่างน้อยวันละ ๒ ครั้ง รณรงค์โรงเรียนอ่อนหวาน และเครือข่ายโรงเรียนเด็กไทย ฟันดี

มาตรการในแต่ละกลุ่มวัย ระดับอำเภอ วัยทำงาน 25-59 ปี บริการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคทั่วไป : ตรวจสุขภาพช่องปาก ประเมินพฤติกรรมความเสี่ยง การคัดกรองที่จำเป็น การให้สุขศึกษา คำปรึกษา แนะนำ ซักถามและตอบคำถาม บริการเคลือบฟลูออไรด์ในกลุ่มเสี่ยง ทุก ๖ เดือน พร้อมกับให้คำแนะนำในการแปรงฟันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์อย่าง น้อยวันละ ๒ ครั้ง ตรวจสุขภาพช่องปาก ให้ทันตสุขศึกษา และบริการรักษาในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ได้แก่ ผู้ป่วยโรคเบาหวาน กลุ่มเสี่ยง : ผู้มีภาวะน้ำลายแห้ง เหงือกร่น รากฟันโผล่ ยากต่อการทำความสะอาด

มาตรการในแต่ละกลุ่มวัย ระดับอำเภอ ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป บริการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคทั่วไป : ตรวจสุขภาพช่องปาก ประเมินพฤติกรรมความเสี่ยง การคัดกรองที่จำเป็น คัดกรองมะเร็งช่องปาก การให้สุขศึกษา คำปรึกษา แนะนำ ซักถามและตอบคำถาม บริการเคลือบฟลูออไรด์ในกลุ่มเสี่ยง เป็นการใช้ฟลูออไรด์ความเข้มข้นสูงเฉพาะที่ ในกลุ่มเสี่ยงต่อ การเกิดโรคฟันผุ โดยให้บริการทาฟลูออไรดวาร์นิช พร้อมกับให้คำแนะนำในการแปรงฟันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์อย่าง น้อยวันละ ๒ ครั้ง บริการรักษา ฟื้นฟู โดยเฉพาะการขูดหินน้ำลาย และฟันเทียม รณรงค์ชมรมผู้สูงอายุส่งเสริมสุขภาพช่องปาก 1 อำเภอเพิ่ม 1 ชมรม / LTC กลุ่มเสี่ยง : ผู้มีภาวะน้ำลายแห้ง เหงือกร่น รากฟันโผล่ ยากต่อการทำความสะอาด

มาตรการในแต่ละกลุ่มวัย ระดับจังหวัด นิเทศ กำกับ ติดตาม ประเมินผลการดำเนินงานด้านสุขภาพช่องปาก ประเมินโรงเรียนเครือข่ายเด็กไทย ฟันดี สำรวจการติดแน่นของสารเคลือบหลุมร่องฟัน คัดเลือกผู้สูงอายุ 80 และ 90 ปี ฟันดี ประเมินคลินิกทันตกรรมคุณภาพใน รพ.สต. อบรมพัฒนาศักยภาพทันตบุคลากร และการนำเสนอผลงานวิชาการ จัดทำแผนทันตบุคลากร/ยูนิตทันตกรรมให้มีความครอบคลุม