Service Plan สาขาโรคหัวใจ โรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก โรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก
STEMI Open Heart Surgery Heart Failure Clinic Warfarin Clinic NSTEMI/UA Open Heart Surgery Heart Failure Clinic Warfarin Clinic
อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ เกิดจากเวลา onset to needle time นาน: รณรงค์ให้ประชาชนทราบ warning sign ที่ให้ผู้ป่วยรีบมา รพ. รณรงค์การคัดกรองผู้ป่วยที่มีความเสี่ยง (CVD risk) พัฒนาศักยภาพ รพช./รพท.ในเขตให้สามารถดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจได้ตามมาตรฐานอย่างมีประสิทธิภาพ Warfarin clinic ครบ 100 % แต่ยังไม่มีข้อมูลด้านคุณภาพ เช่น Target INR หรือ ภาวะแทรกซ้อนจากการให้ยา (อยู่ระหว่างการจัดทำฐานข้อมูล) Heart failure clinic รพ.พุทธฯ มีสหสาขาในการดูแลผู้ป่วย heart failure และเริ่มมีผู้ป่วยในคลินิกเพิ่มขึ้น Heart surgery การจัดการของ รพ.พุทธทำให้ลดเวลาการรอคอยผ่าตัดได้ แต่ยังไม่ปัญหาในเรื่องเครื่องมือครุภัณฑ์ในการผ่าตัดและจำนวนศัลยแพทย์
ผลการดำเนินงาน Service Plan สาขาโรคหัวใจ KPI เป้าหมาย 2557 2558 2559 2560 (ไตรมาสที่ 3) ร้อยละผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน (STEMI) ได้รับยาละลายลิ่มเลือดและหรือขยายหลอดเลือดหัวใจ (PPCI) ≥ ร้อยละ 75 85.71 86.86 90.28 86.41 ร้อยละโรงพยาบาลในระดับ F2 สามารถให้ยาละลายลิ่มเลือด (Fibrinolytic drug) ในผู้ป่วย STEMI ได้ ร้อยละ 100 100
ร้อยละของผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันที่ได้รับยาละลายลิ่มเลือด (SK) หรือการขยายหลอดเลือดหัวใจ (PPCI) จังหวัดพิษณุโลก เป้าหมาย ร้อยละ 75 โรงพยาบาล จำนวนผู้ป่วยSTEMI จำนวนผู้ป่วยได้ยา SK ที่ รพช. จำนวนผู้ป่วยได้ยา SK ที่ รพ.พุทธฯ จำนวนผู้ป่วยทำ Primary PCI สรุปผู้ป่วยได้รับยา SK หรือ PPCI ร้อยละของการได้ยา SK หรือ PPCI รพ.พุทธชินราช (มาเอง) 24 5 16 21 87.50 รพ.นครไทย 11 10 90.91 รพ.ชาติตระการ 4 1 2 3 75.00 รพ.บางระกำ 14 9 64.29 รพ.บางกระทุ่ม 7 100.00 รพ.พรหมพิราม 90.00 รพ.วัดโบสถ์ 13 12 92.31 รพ.วังทอง รพ.เนินมะปราง 6 66.67 รวม 103 8 67 89 86.41 ที่มา : ข้อมูลจากศูนย์โรคหัวใจ โรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก : ปี 2560 (9 เดือน)
KPI STEMI (ระดับจังหวัด) 75% 2560 12% 2560
อัตราตายด้วยโรคหลอดเลือดหัวใจ I20 – I25 (ลดลงร้อยละ 10 ในระยะ 5 ปี) (ปี 2558 – 2562) โดยเทียบกับ baseline ในปี 2555) ไม่เกิน 28 ต่อแสน ปชก. ที่มา : สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
การพัฒนาการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจระดับปฐมภูมิ จัดทำสื่อสารเผยแพร่ความรู้ในการป้องกันโรคแก่ประชาชน จัดทำสื่อเชิงสัญลักษณ์ เพื่อใช้ประชาสัมพันธ์ STEMI Alert + Stroke Alert + ระบบส่งต่อ 1669 สำหรับประชาชนกลุ่มป่วย โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง โดยใช้ตารางสี (Color Chart) - ทำคู่มือการดูแลตนเองในผู้ป่วยโรคหัวใจ คัดกรองประชากรกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิด โรคหลอดเลือดหัวใจ ในผู้ป่วยเบาหวาน และความดันโลหิตสูง
ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อหลอดเลือดหัวใจ(CVD Risk) เป้าหมาย >=80% ปี 2559 ปี 2560 89.04 70.47 ตรวจคัดกรอง ผลงาน T1= 20% T2= 50% T3= 60% T4= 80% อำเภอ A B ร้อยละ เมืองพิษณุโลก 10,778 5,004 46.43 นครไทย 4,708 3,193 67.82 ชาติตระการ 2,002 1,795 89.66 บางระกำ 5,101 4,552 89.24 บางกระทุ่ม 2,910 2,530 86.94 พรหมพิราม 5,559 3,646 65.59 วัดโบสถ์ 1,988 1,810 91.05 วังทอง 5,189 3,882 74.81 เนินมะปราง 2,461 2,268 92.16 รวมจังหวัด 40,696 28,680 70.47 ข้อมูล HDC ณ วันที่ 13 กรกฎาคม 2560 B หมายถึง จำนวนผู้ป่วย DM HT ที่ขึ้นทะเบียนและอยู่ในพื้นที่รับผิดชอบ ที่ยังไม่ป่วยด้วย CVD A หมายถึง จำนวนผู้ป่วย DM HT ที่ขึ้นทะเบียนและอยู่ในพื้นที่รับผิดชอบที่ยังไม่ป่วยด้วย CVD ได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk)
บอกตรงๆ สัญญาณ.... “อันตราย” ต้องรีบไปพบแพทย์ บอกตรงๆ สัญญาณ.... “อันตราย” ต้องรีบไปพบแพทย์ โรคหัวใจขาดเลือด โรคหลอดเลือดสมอง ด้วยความปรารถนาดีจาก สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพิษณุโลก การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) จังหวัดพิษณุโลก
เป้าหมายและตัวชี้วัด ตัวชี้วัด (KPI) เป้าหมาย ผลลัพธ์ 1. มี warfarin clinic ในรพ. A-F2 ร้อยละ 100 % 2. มี warfarin clinic ทีมีทีมสหวิชาชีพ มี
แผนการพัฒนาปี 2560 โครงการพัฒนาเครือข่ายการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจ เครือข่ายเขตสุขภาพที่ 2 ปีงบประมาณ 2560 วันที่ 29-30 มิถุนายน 2560 2. จัดโครงการประชุมวิชาการ “การพัฒนาคุณภาพวาร์ฟารินคลินิก” วันที่ 23 มิ.ย.60 3. การคัดกรองและประเมินความเสี่ยง และให้ความรู้แก่ประชาชน และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยง
ปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน เครือข่ายโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน 1.โรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก รับผู้ป่วยจำนวนมาก ทั้งในเขต 2 และเขต 3 2.ระบบ information system มีหลายระบบ ยังไม่มีหน่วยงานกลางรับผิดชอบ ยังไม่มีระบบที่ยั่งยืน ทำให้ข้อมูลที่ได้มีความน่าเชื่อถือลดลง 3.ผู้มีบทบาทหลักในการสร้างเครือข่าย ยังไม่มีโครงสร้างหรือบทบาทหน้าที่รองรับ เป็นการทำงานแบบ part time เช่น case manager สำนักงานเขต
กิจกรรม 1. จัดประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานโรคหัวใจปี 2561 แก่เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงาน, ติดตามผล ปัญหา-อุปสรรค และสรุปผลการดำเนินงาน 2. จัดทำต้นแบบ : สื่อประชาสัมพันธ์ STEMI Alert + ระบบส่งต่อการแพทย์ฉุกเฉิน 1669 และรวบรวมสื่อโรคหัวใจ 3. ติดตาม กำกับ ประเมินผลการใช้โปรแกรม Thai CV Risk Score และการจัดกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกลุ่มที่ประเมินอยู่ในระดับกลุ่มเสี่ยงมากกว่าร้อยละ 30 และเร่งรัดติดตาม การประเมินผล CVD Risk ให้ได้ตามเป้าหมาย 4. สำรวจการพัฒนาทักษะการใช้ยา SK ในผู้ป่วยกลุ่ม STEMI และส่งรายชื่อเข้ารับการพัฒนา 5. ควบคุม กำกับและติดตามการดำเนินงานด้านโรคหัวใจและหลอดเลือด 6. การคืนข้อมูลให้กับพื้นที่ 7. กิจกรรมเชิงรุก : ประชาสัมพันธ์และประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด โดยใช้ Thai CV Risk score
ผลการดำเนินงาน Open Heart surgery
ระยะรอคอยผ่าตัดหัวใจ ระยะรอคอยผ่าตัดหัวใจ 5 เดือน จำนวนผู้ป่วยรอผ่าตัดหัวใจ 187 ราย ผู้ใหญ่ 164 ราย เด็ก 23 ราย
แผนการพัฒนาปี 2561 1. พัฒนาศักยภาพการผ่าตัดหัวใจ ได้แก่ MV repair, CABG with BIMA, MAZE pending, Aortic surgery, Endovascular (TEVAR, EVAR) 2. พัฒนาศักยภาพในการผ่าตัดผู้ป่วยเด็ก 3. พัฒนาขีดความสามารถในการผ่าตัดเพื่อลดการรอคอย 4. Meeting & conference ร่วมกับ มน. 5. Oversea staff Co- working
ปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน งานผ่าตัดหัวใจแบบเปิด 1. ขาดแคลนแพทย์ CVT และพยาบาล 2. ขาดแคลนห้องผ่าตัดและเครื่องมือสนับสนุน
Thank you