โครงการพัฒนาเกณฑ์มาตรฐานการจัดกิจกรรม เพื่อจัดระดับชมรมผู้สูงอายุ ด้านการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก 8 มกราคม 2552 ห้องประชุมอาวุธ แสงกล้า กองทันตสาธารณสุข กรมอนามัย
"ส่งเสริมให้คนไทยสุขภาพดี" กรมอนามัย "ส่งเสริมให้คนไทยสุขภาพดี"
based on human rights & solidality ชี้นำ Advocate for health: based on human rights & solidality ลงทุน Invest in policy, actions, infrastructure : to address the determinants for health Bangkok Charter : PIRAB ระเบียบ/กฎหมาย Regulate and legislate: to ensure protection from harm & opportunity for health สร้างศักยภาพ Build capacity for: policy development, leadership, health promotion practice, knowledge transfer & research, health literacy ภาคีและเครือข่าย Partner & build alliances: to create sustainable action
ประเด็นยุทธศาสตร์กรมอนามัย พัฒนาอนามัยแม่และเด็ก ประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ ลดปัจจัยเสี่ยงในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น Goals : Healthy People Healthy Environment พัฒนาชุมชนและท้องถิ่นน่าอยู่ แก้ไขปัญหาโรคอ้วนคนไทย ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
ส่งเสริมให้คนไทยมีสุขภาพช่องปากดี กองทันตสาธารณสุข ส่งเสริมให้คนไทยมีสุขภาพช่องปากดี
สุขภาพช่องปากกลุ่มวัยทำงานและสูงอายุ ร้อยละผู้มีฟันใช้งาน 20 ซี่ กลุ่มผู้สูงอายุเป็นครึ่งหนึ่งของวัยทำงาน การสำรวจสภาวะทันตสุขภาพแห่งชาติครั้งที่ 6 : กองทันตสาธารณสุข กรมอนามัย
การสำรวจสภาวะทันตสุขภาพแห่งชาติครั้งที่ 6 : กองทันตสาธารณสุข กรมอนามัย ผู้สูงอายุมีโอกาสสูญเสียฟันจากรากฟันผุและperio ร้อยละรากฟันผุ สภาวะปริทันต์ของกลุ่มวัยทำงานและผู้สูงอายุ การสำรวจสภาวะทันตสุขภาพแห่งชาติครั้งที่ 6 : กองทันตสาธารณสุข กรมอนามัย
การสำรวจสภาวะทันตสุขภาพแห่งชาติครั้งที่ 6 : กองทันตสาธารณสุข กรมอนามัย สภาวะฟันผุ ครึ่งหนึ่งไม่ได้รับการรักษา ส่วนใหญ่เป็นการถอนฟัน ผู้สูงอายุ ร้อยละ 94 มีปัญหาการสูญเสียฟัน ร้อยละ 10 สูญเสียฟันทั้งปาก การสำรวจสภาวะทันตสุขภาพแห่งชาติครั้งที่ 6 : กองทันตสาธารณสุข กรมอนามัย
จากปัญหาและโอกาสที่จะสูญเสียฟัน โดยเฉพาะ ...ทั้งปากของผู้สูงอายุ นำมาสู่โครงการฟันเทียมพระราชทาน ปี 2548 ต่อเนื่องถึงปี 2551 - ภารกิจเร่งด่วน การจัดบริการใส่ฟันเทียมทั้งปากหรือเกือบทั้งปากปีละ 30,000 ราย - ภารกิจระยะยาว การพัฒนางานส่งเสริมป้องกันเพื่อลดการสูญเสียฟัน
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ การเข้าถึงบริการสร้างเสริมสุขภาพ บุตรหลาน/ญาติ/ผู้ดูแล ชมรม/เครือข่ายมีส่วนร่วม สภาพแวดล้อม
เครือข่ายวัยทำงานและสูงอายุในพื้นที่ ศูนย์เขตฯ สสจ. รพ. PCU ชมรม กรม/กองส่วนกลาง สำนักตรวจฯ วัด สาธารณสุข พื้นที่ ชุมชน องค์กรฯ ท้องถิ่น ศูนย์ 3 วัยฯ สถานประกอบการ คณะทันต หน่วยพระราชทาน
บริการ/กิจกรรม ที่ควรได้รับ วัยรุ่น วัยทำงาน ผู้สูงอายุ บริการ/กิจกรรม ที่ควรได้รับ การทำความสะอาดฟันแท้/ฟันเทียม ในโครงการฟันเทียมพระราชทานและในชมรมผู้สูงอายุ Developing personal skills ชมรมผู้สูงอายุมีมุมความรู้ และจัดกิจกรรมส่งเสริมด้านช่องปากเพื่อสมาชิกเช่น ประกวดฟันดี Creating supportive environment Building healthy public policy ประสานอปท.เรื่องการสนับสนุนกิจกรรมและบริการเพื่อคุณภาพชีวิต Reorienting health service เชื่อมโยงบริการส่งเสริม ป้องกัน รักษา ใส่ฟันเทียม Strengthening community action พัฒนาทันตบุคลากร บุคลากรสส.,ชมรม,อสม.
Reoriented Health Service โดยหน่วยบริการ - โครงการฟันเทียมพระราชทาน - โครงการพัฒนางานทันตกรรมป้องกันตามชุดสิทธิประโยชน์ โดยภาคประชาชน - โครงการพัฒนารูปแบบการส่งเสริมสุขภาพช่องปากโดยชมรมผู้สูงอายุ 2.การพัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่ายตามบทบาทหน้าที่ - พัฒนาทักษะทันตแพทย์/ทันตบุคลากร / บุคลากรสาธารณสุข / ชมรมผู้สูงอายุ 3. การเฝ้าระวังสภาวะช่องปาก กลุ่มผู้สูงอายุรายปี 4. ลดการสูญเสียฟันก่อนเข้าสู่วัยสูงอายุ (ส่งเสริมวัยทำงาน) รณรงค์ โครงการฟันเทียมพระราชทานร่วมกับหน่วยฯพระราชทานและเอกชน รณรงค์“คนไทยฟันดี สดุดีสมเด็จย่า” และการประกวด “10 ยอดฟันดี วัย 80 ปี”
ผลการดำเนินงาน
โครงการฟันเทียมพระราชทาน 1. สนับสนุนการจัดบริการใส่ฟันเทียมทั้งปากหรือเกือบทั้งปาก แก่ผู้สูงอายุทั่วประเทศประมาณปีละ 32,000 ราย 2. ร่วมกับคณะทันตฯ จัดการอบรมฝึกทักษะแก่ทันตแพทย์ที่ยังไม่ได้รับการอบรม (ปี 52 ที่มอ., มหิดล, จุฬาฯ) 3. จัดการรณรงค์ร่วมกับหน่วยทันตกรรมพระราชทานฯ ปีละ 2 ครั้ง (ปี 52 ที่กาญจนบุรี) 4. ร่วมกับบริษัทโอสถสภาสนับสนุนงบฯ บริการจังหวัดละ 100 และประชาสัมพันธ์โครงการ (ปี 52 ที่อุบลฯ ชัยภูมิ ราชบุรี ฯลฯ) 5. จัดนิทรรศการและประชาสัมพันธ์โครงการทางสื่อสาธารณะ
6. การติดตาม ประเมินผล (M&E) - การตรวจติดตามตามเป้าหมายโดยสำนักตรวจราชการ - การสุ่มติดตามภาคละ 1 จังหวัด/ปี โดยกองทันตฯ - การประเมินความพึงพอใจผู้สูงอายุที่รับบริการ โดยจังหวัด - การสำรวจสถานการณ์ตามตัวชี้วัดสำคัญ (4 คู่สบ, 20 ซี่) - การประเมินระบบบริการและสนับสนุนบริการโดย ศูนย์อนามัย - การประเมินโครงการฟันเทียมพระราชทานปี 2548-2550 โดยกองทันตฯ 7. การศึกษาวิจัย : ผลกระทบของการมีฟันใช้เคี้ยวอาหารต่อสุขภาพและ คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ อยู่ระหว่างการวิเคราะห์ข้อมูล ข้อมูลเฝ้าระวัง : ผู้สูงอายุมีฟันใช้งานได้ 4 คู่สบ ร้อยละ 44 ในปี 2548 เป็นร้อยละ 49 ในปี 2551
โครงการพัฒนารูปแบบการส่งเสริมป้องกัน ตามชุดสิทธิประโยชน์ เริ่มปี 2551 หน่วยบริการร่วมพัฒนารูปแบบการจัดบริการทันตกรรมป้องกัน 21 จังหวัด 167 หน่วยบริการต้นแบบ
ชมรมผู้สูงอายุ 2549 - ปัจจุบัน
ศูนย์อนามัย / กองทันตฯ สสจ. CUP PCU ชมรม กรอบแนวคิด ศูนย์อนามัย / กองทันตฯ สสจ. CUP PCU มีภูมิปัญญา มีความรู้ พร้อมจะทำงานเพื่อส่วนรวม เข้าใจผู้สูงวัยด้วยกัน ชมรม ผู้สูงอายุ เกิดกิจกรรมโดยชมรม (สุขภาพช่องปาก) - ให้ความรู้ - Self care / การเลือกกินอาหาร - ข่าวสาร - อื่นๆ
เครือข่ายที่เกี่ยวข้อง สาธารณสุข ศูนย์อนามัย / กองทันตฯ อบต./เทศบาล สสจ. CUP PCU ชมรมผู้สูงอายุ วิทยาลัยพยาบาล สมาชิกผู้สูงอายุ สภาฯ ผู้สูงอายุ
2549 ศูนย์อนามัย 4, 5, 10 7 จังหวัด 27 ชมรม สุพรรณบุรี / เพชรบุรี / ราชบุรี บุรีรัมย์, ชัยภูมิ เชียงใหม่, ลำปาง เจ้าพระยายมราช, บ้านลาด, ท่ายาง, วัดเพลง, ดำเนินสะดวก พุทไธสง, ประโคนชัย, คอนสวรรค์, บ้านเขว้า สันทราย, สารภี, ห้างฉัตร, แจ้ห่ม เจ้าพระยายมราช, บ้านลาด, ห้วยลึก, ท่ายาง, ท่าไม้รวก, วัดเพลง, เกาะศาลพระ, ดำเนินสะดวก, ท่านัด หนองหาร, เจดีย์แม่ครัว, สารภี, ท่ากว้าง, ห้างฉัตร, บ้านสถานี, บ้านเหล่า, แจ้ห่ม, บ้านม่วง, แม่สุก บ้านแฮด, หายโศก, ประโคนชัย, โคกมะขาม, คอนสวรรค์, บ้านโสก, บ้านเขว้า, หลุบโพธิ์ ชมรม (ผู้สูงอายุ) เกิดกิจกรรม (สุขภาพช่องปาก) ให้ความรู้ ข่าวสาร อื่นๆ
2550 ศูนย์อนามัย 4, 5, 6, 7, 10 11 จังหวัด 32 ชมรม สุพรรณบุรี / เพชรบุรี / ราชบุรี บุรีรัมย์, ชัยภูมิ ขอนแก่น อุบลราชธานี, ศรีสะเกษ, อำนาจเจริญ เชียงใหม่, ลำปาง เจ้าพระยายมราช, บ้านลาด, ท่ายาง, วัดเพลง, ดำเนินสะดวก พุทไธสง, ประโคนชัย, ลำปลายมาศ, หนองกี่, คอนสวรรค์, บ้านเขว้า ศูนย์อนามัยที่ 6, อ.เมือง สันทราย, สารภี, ห้างฉัตร, แจ้ห่ม, เถิน, เกาะคา พิบูลมังสาหาร, ราษีไศล, อำนาจเจริญ เจ้าพระยายมราช, บ้านลาด, ห้วยลึก, ท่ายาง, ท่าไม้รวก, วัดเพลง, เกาะศาลพระ, ดำเนินสะดวก, ท่านัด บ้านแฮด, หายโศก, ประโคนชัย, ลำปลายมาศ, หนองกี่, คอนสวรรค์, บ้านโสก, บ้านเขว้า, หลุบโพธิ์ ศูนย์อนามัยที่ 6, หนองหิน เจดีย์แม่ครัว, ท่ากว้าง, ห้างฉัตร, แจ้ห่ม, แม่สุก, เถิน, เกาะคา, บ้านผึ้ง เทศบาลเมืองพิบูลมังสาหาร, เมืองคง, ดงบัง
2550 มหกรรมการประชุมวิชาการ “คืนรอยยิ้มที่สดใสให้ผู้สูงวัย” 20-21 สค.50 ณ มิราเคิลแกรนด์ รร.มิราเคิล กรุงเทพฯ ผู้สูงอายุเข้าร่วมกิจกรรม 32 ชมรมๆ ละ 4 คน องค์ความรู้ เรื่อง สุขภาพ สุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ นำเสนอผลการศึกษาวิจัย เกี่ยวกับผู้สูงอายุ ประกาศชมรมผู้สูงอายุต้นแบบ 32 ชมรม ซุ้มนิทรรศการกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ
มหกรรมการประชุมวิชาการ “คืนรอยยิ้มที่สดใสให้ผู้สูงวัย” 2550
2550 การนำเสนอผลงานทางวิชาการ : ดีเด่น มหกรรมการประชุมวิชาการ “คืนรอยยิ้มที่สดใสให้ผู้สูงวัย” การนำเสนอผลงานทางวิชาการ : ดีเด่น 1. รูปแบบการพัฒนาเครือข่ายการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ กรณีศึกษา : ม.5 ต.บ้านเป้า อ.พุทไธสง จ.บุรีรัมย์ 2. การพัฒนากิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ จ.ชัยภูมิ 3. การสร้างเสริมสุขภาพช่องปากของผู้สูงอายุ อ.แจ้ห่ม จ.ลำปาง ฯลฯ
2551 ผล จัดการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ รูปแบบ/แนวทางการดำเนินงาน ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคกลาง ผล 26-28 มีค. 29 เมย.-1 พค. 51 มีเครือข่ายชมรมผู้สูงอายุ 98 ชมรม เครือข่ายบุคลากรสาธารณสุข 29 จังหวัด ผู้สูงอายุได้รับความรู้ ได้รู้จักเพื่อน ได้เห็นกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ ช่องปากในชมรมผู้สูงอายุ ได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ซึ่งกันและกัน ผู้สูงอายุสามารถนำไปใช้ในการดูแลสุขภาพตนเองและครอบครัว เป็นตัวอย่างที่ดีเรื่องการดูแลอนามัยช่องปากในชุมชน นำความรู้ไปเผยแพร่ในชมรม ขยายเครือข่ายไปสู่ชมรมอื่นๆ และเป็นต้นแบบในการศึกษาดูงาน บุคลากรสาธารณสุขได้เรียนรู้แนวคิด วิธีการ กระตุ้นให้ผู้สูงอายุจัดกิจกรรมในชมรมฯ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์การทำงาน
ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ รูปแบบ/แนวทางการดำเนินงานฯ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 26-28 มีค.51
ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ รูปแบบ/แนวทางการดำเนินงานฯ ภาคเหนือ ภาคกลาง 29 เมย.-1 พค.51
2551 พัฒนารูปแบบการดำเนินงานในพื้นที่นำร่องภาคใต้ 2 ศอ. 8 จว. พัฒนารูปแบบการดำเนินงานในพื้นที่นำร่องภาคใต้ 2 ศอ. 8 จว. 2551 ศูนย์ฯ 11 นครศรีธรรมราช, 12 ยะลา 8 จังหวัด 18+... ชมรม นครศรีธรรมราช / สุราษฎร์ธานี / กระบี่ / พังงา / ระนอง / ภูเก็ต สงขลา / สตูล อ.เมือง นครศรีธรรมราช, อ.บ้านนาเดิม สุราษฎร์, อ.เมือง, อ.ปลายพระยา อ,ละอุ่น, อ.สุขสำราญ, อ.เมือง กระบี่, อ.กะเปอร์, อ.กระบุรี อ.ตะกั่วทุ่ง, อ.เมือง ภูเก็ต อ.เมือง สงขลา, อ.หาดใหญ่, อ.จะนะ, อ.ควนเนียง, อ.สิงหนคร, อ.รัตภูมิ, อ.เมือง สตูล, อ.ละงู, อ.ทุ่งหว้า, อ.ควนกาหลง ชมรมผู้สูงอายุ 18 แห่ง ชมรมผู้สูงอายุ ชมรม (ผู้สูงอายุ) เกิดกิจกรรม (สุขภาพช่องปาก) ให้ความรู้ ข่าวสาร อื่นๆ
กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพช่องปาก ในชมรมภาคใต้ 2551 กิจกรรมที่ผู้สูงอายุดำเนินการเอง ด้านพฤติกรรม – แปรงฟันหลังอาหารกลางวันก่อนการละหมาด, เมนูชูสุขภาพในวันพระลดอาหารเนื้อสัตว์ และเพิ่มอาหารผัก, เปลี่ยนอาหารหวานเป็นผลไม้ ด้านการให้ความรู้ – ให้ความรู้โดยผู้สูงอายุ, ทำสื่อความรู้ เช่น บอร์ด โต้วาที ให้ความรู้ทางเสียงตามสาย ทำแผ่นป้ายรณรงค์ ด้านการช่วยเหลือชุมชน – จิตอาสาเล่านิทานในโรงเรียน ศูนย์เด็ก นวัตกรรม / สิ่งประดิษฐ์ - แต่งเพลงกล่อมเด็ก กิจกรรมที่บุคลากรสาธารณสุขดำเนินการ บูรณาการงานทันตฯ กับกลุ่มต่างๆ – ร่วมกับงานส่งเสริมสุขภาพ, คัดกรองสุขภาพช่องปาก ร่วมกับโรคเบาหวาน, ร่วมกับการป้องกันและรักษาทางทันตกรรมให้ผู้สูงอายุ, ร่วมกิจกรรมกับสาขาสภาฯ จังหวัด จัดประชุมร่วมกัน เสริมสร้างกำลังใจ – ประกวดผู้สูงอายุฟันดี วัย 80 ปี ประกวดผู้สูงอายุฟันสวย สร้างสภาพแวดล้อมให้เกิดกิจกรรม – ทำโครงการผู้สูงอายุไม่กินหวาน จัดฐานกิจกรรมให้ความรู้
กิจกรรม จ.ราชบุรี ชมรมผู้สูงอายุตำบลท่านัด อ.ดำเนินสะดวก แปรงฟันหลังอาหารกลางวัน ตรวจสุขภาพช่องปาก และให้ความรู้ “เค้กก้อนสุดท้าย” ประกวด ปู่-ย่า-ตา-ยาย บุตรหลาน สุขภาพฟันดี
บุรีรัมย์ กิจกรรมของ รพ.ลำปลายมาศ อ.ลำปลายมาศ จัดทำประชาคมเรื่อง ลดน้ำอัดลม ขนมกรุบกรอบ จัดตั้งชมรมผู้สูงวัยไม่กินหวาน ประกาศหมู่บ้านปลอดน้ำอัดลม โครงการไม่กินหวาน มดน้อยหน่อยในโรงเรียน
ชัยภูมิ กิจกรรมของ ชมรมผู้สูงอายุบ้านหลุบโพธิ์ อ.บ้านเขว้า หมู่บ้านต้นแบบสุขภาพช่องปาก ไม้คนทา ... อุปกรณ์เสริมดูแลสุขภาพช่องปาก ให้ความรู้ทางหอกระจายข่าว กองทุนแปรงสีฟัน ยาสีฟัน ขยายเครือข่าย ดูแลเด็ก ประชาชนทุกกลุ่มวัย
ชัยภูมิ กิจกรรมของ ชมรมผู้สูงอายุบ้านโสก คอนสวรรค์ แปรงฟันก่อนออกกำลังกาย ประกวดฟันดี และการแปรงฟันสะอาด ถูกวิธี
ลำปาง ชมรมผู้สูงอายุตำบลแจ้ห่ม อ.แจ้ห่ม แกนนำผู้สูงอายุ ตรวจสุขภาพช่องปาก / พัฒนาแบบฟอร์ม เผยแพร่ความรู้ เยี่ยม/ดูแลสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุที่บ้าน จัดทำสื่อการเรียนรู้ ผู้เฒ่าฟันดี ไม่ติดสีแดง
ลำปาง ชมรมผู้สูงอายุตำบลบ้านศิลา อ.เกาะคา ตรวจสุขภาพทุก 3 เดือน แกนนำสุขภาพช่องปาก ขยายเครือขยายแกนนำฯ วันรักษ์สุขภาพเหงือกและฟัน ตรวจฟันเด็กเล็ก และบันทึกผลการตรวจ
การพัฒนางานส่งเสริมสุขภาพช่องปากโดยชมรมผู้สูงอายุ ปัจจัยความสำเร็จ นโยบาย ผู้บริหารเห็นความสำคัญ และสนับสนุนการทำกิจกรรม เครือข่ายศูนย์อนามัย เป็นตัวเชื่อมประสานการทำงานในพื้นที่อย่างใกล้ชิด ชมรมผู้สูงอายุต้นแบบ หรือผู้สูงอายุต้นแบบสุขภาพดี เป็นแนวทางของกิจกรรมว่า มีความเป็นไปได้ และเกิดพลังในการทำกิจกรรมต่อยอด งบประมาณและสิ่งสนับสนุน ทำให้เกิดความพึงพอใจ และความร่วมมือ บุคลากรช่วยในการจัดการความรู้ที่มีศักยภาพ สามารถช่วยในกระบวนการประชุมได้เป็นอย่างดี
การพัฒนางานส่งเสริมสุขภาพช่องปากโดยชมรมผู้สูงอายุ การเรียนรู้ที่ได้รับ ผู้สูงอายุที่แข็งแรง หรือช่วยเหลือตัวเองได้ มีศักยภาพในการทำกิจกรรมร่วมกัน และกิจกรรมที่บำเพ็ญประโยชน์ให้กับสังคมไทยได้เป็นอย่างดี การจัดกิจกรรมที่ต้องใช้กระบวนการจัดการความรู้ต่างๆ เพื่อช่วยในการดำเนินการโครงการได้นั้น ศูนย์อนามัยสามารถให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมได้ เนื่องจากศูนย์อนามัยมีศักยภาพทางด้านการจัดการความรู้อยู่แล้ว การใช้การจัดการความรู้ในการทำกิจกรรมโครงการ เป็นกระบวนการที่ต้องมีการวางแผน ลำดับขั้นตอนการประชุม การเตรียมบุคลากร การเก็บข้อมูลระหว่างการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การประเมินความรู้ ความพึงพอใจ และการเผยแพร่ความรู้เมื่อเสร็จสิ้นการประชุม เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่างต่อเนื่องต่อไป
วัตถุประสงค์โครงการ จัดทำเกณฑ์มาตรฐาน “ชมรมผู้สูงอายุส่งเสริมสุขภาพช่องปาก” พร้อมกำหนดเงื่อนไขของเกณฑ์ ค้นหา และจัดระดับชมรมผู้สูงอายุ ที่จัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพช่องปากดี ตามเกณฑ์มาตรฐาน
งวดนี้ ... เราจะทำอะไรกัน เรามี พื้นที่ ทำกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพช่องปากในชมรมผู้สูงอายุ ได้เป็นรูปธรรม 7 แห่ง ใน 4 จังหวัด ที่ปรึกษา ด้าน Dental Geriatrics – อ.มัทนา พฤกษาพงษ์ นักวิชาการด้านสูงอายุ กรมอนามัย ประชุมพัฒนาเกณฑ์ฯ 1st ขั้นตอนการดำเนินการ นำเสนอ กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพช่องปาก ในชมรมผู้สูงอายุ ระดมความคิด เกณฑ์จัดระดับ “ชมรมผู้สูงอายุส่งเสริมสุขภาพช่องปาก กรมอนามัย” หาข้อสรุป – ประสานข้อสรุป ค้นหา ชมรมผู้สูงอายุ ที่เข้าตามเกณฑ์มาตรฐาน ประชุม สรุปผลการค้นหา ตามเกณฑ์ฯ } E-mail พื้นที่ + ศูนย์ฯ ดำเนินการ ประชุมพัฒนาเกณฑ์ฯ 2nd
ความคาดหวัง มีชมรมผู้สูงอายุส่งเสริมสุขภาพช่องปาก ที่เป็นต้นแบบการดำเนินงานที่ดี ให้กับบุคคล หรือหน่วยงานที่สนใจ ผู้สูงอายุได้รับการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก ในชมรมผู้สูงอายุ เกณฑ์มาตรฐาน “ชมรมผู้สูงอายุด้านการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก กรมอนามัย” เป็นเครื่องกระตุ้นให้เกิดกิจกรรม การส่งเสริมสุขภาพช่องปากในชมรมผู้สูงอายุ
Activity in Elderly Club These are activities by elderly’s club - group participation - oral health education - tooth brushing practice & plaque control - self care instrument from natural ขอขอบคุณทุกท่าน ที่ร่วมกันพัฒนางาน