แผนภาพแสดงกระบวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์แบบมุ่งผลสัมฤทธิ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
Advertisements

การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
ข้อสรุปจากวีดีทัศน์ “ผีปู่แสะย่าแสะ” 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน 2
Draft Application Report
เอกสารประกอบการประชุม จังหวัดนครสวรรค์ วันที่ 14 ก.พ. 56
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
การจัดทำแผนปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กันยายน 2557.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
แผนที่ยทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรที่มุ่งส่งเสริม สร้างเครือข่าย.
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
1 สบช.. 2 เอกสารข้อมูล สถานการณ์ / ผลการ ดำเนินงานสบช. - สถานการณ์ - ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับ การดำเนินงานสบช. - GAP ( อดีต / ปัจจุบัน / อนาคต ) ความคิดเห็นผู้บริหาร.
หลักสูตรการอบรมวิทยากรตัวคูณ ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 ภาคกลางตอนบน ( วันที่สอง ) ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันที่ 9 – 11 มีนาคม 2558.
ภาพรวมและความเชื่อมโยงการดำเนินการ ตามตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของการพัฒนา คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ส่วนราชการระดับกรม.
วิสัยทัศน์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ สิ่งสำคัญที่ต้องทำ ให้บรรลุ เพื่อตอบสนอง วิสัยทัศน์ เป้าประสง ค์ หลัก ประสิทธิภ าพ ผลสำเร็จ สูงสุดของ องค์กรซึ่ง ประชาชน.
แผนแม่บทระบบสถิติประเทศไทย ฝ่ายวิชาการและวางแผนสำนักงานสถิติจังหวัดระยอง 1.
การขอมีหรือขอเลื่อนวิทยฐานะโดยใช้รางวัล สูงสุดระดับชาติ ตามหลักเกณฑ์ ว 13 / 2556 ดร. ชูชาติ ทรัพย์มาก ที่ปรึกษาด้านการบริหารงานบุคคลและนิติ การ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
เพื่อยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการ ให้เทียบเท่ามาตรฐานสากล เครื่องมือตรวจสุขภาพและปรับปรุง องค์การ กรอบการประเมินองค์การด้วยตนเอง ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
โดย ปณิต มีแสง. ส่วนที่ 1 ลักษณะสำคัญขององค์กร ส่วนที่ 2 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐ - การนำองค์กร - การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ - การให้ความสำคัญกับผู้รับบริหารและ.
คณะกรรมการปรับปรุงยุทธศาสตร์ฯ
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ประชุมติดตามความก้าวหน้าการดำเนินการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕ วันที่ ๔ เมษายน ๒๕๕๕ เวลา ๑๓.๐๐ น. ณ ห้องประชุม ๔/๑ ศาลากลางจังหวัด.
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
รศ. ทวีศักดิ์ สูทกวาทิน สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
ข้อสังเกตโดยรวมของผลงานที่ได้คะแนน ระดับดีมาก - ดี
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
การประเมินศักยภาพชุมชน ด้วย... ค่ากลางที่คาดหวัง
โดย นายแพทย์ประดิษฐ์ วินิจจะกูล รองอธิบดีกรมอนามัย
การสนับสนุน การบูรณาการ ค่ากลาง จังหวัดเชียงใหม่
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
ศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ ตัวชี้วัดกรม ตัวชี้วัดตามภารกิจหน่วยงาน แบบวิเคราะห์การถ่ายทอดตัวชี้วัด ความเชื่อมโยงการถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับหน่วยงานลงสู่ระดับกลุ่มงาน.
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
การดำเนินงานต่อไป.
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
บทที่ ๓ การวางแผนการพัฒนา Development Planning
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
เอกสารประกอบการบรรยาย การประชุมเชิงปฎิบัติการ การจัดทำแผนฯ
แบบฟอร์มที่ 2ลักษณะสำคัญขององค์การ
กรณีศึกษา การจัดทำข้อเสนอโครงการที่ดี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แผนภาพแสดงกระบวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์แบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ 1. การวิเคราะห์ปัจจัยเข้า ทางยุทธศาสตร์ สำคัญ (ภารกิจ) เร่งด่วน (ปัญหา) ผลกระทบ (ลูกค้า) เป็นไปได้ในทางปฏิบัติ (4 M) ความเชื่อมโยง (นโยบาย) 3. การกำหนดจุดยืนการพัฒนา ของแผนยุทธศาสตร์ (Strategic Positioning : SP) SN Policy จัดกลุ่ม SN รัฐบาล/กระทรวงฯ ผู้ว่าราชการจังหวัด/กกท. 5. การกำหนดทิศทางของ แผนยุทธศาสตร์ วิสัยทัศน์ (Vision) พันธกิจ (Mission) ประเด็นยุทธศาสตร์(Strategic Issue) เป้าประสงค์ (Goal) ผลผลิต (Strategic Output) Stakeholder SN 4. การประเมินสภาพแวดล้อมขององค์กร /ความเสี่ยงขององค์กร SWOT COSO ERM KSF นักกีฬา/บุคลากรกีฬา/ชมรมกีฬา สโมสรกีฬา/ผู้ใช้บริการ/หน่วยงานภาครัฐ และเอกชน 2. การวิเคราะห์ความจำเป็นทางยุทธศาสตร์ (Strategic Needs) SN Business 4M 7. การกำหนดระบบวัดผล ของแผนยุทธศาสตร์ (KPI, Target) Result SN ผลการดำเนินงาน ของสมาคมกีฬาจังหวัด Feedback รายการงบประมาณ เชิงยุทธศาสตร์ (Project) (การวิเคราะห์และจัดทำแผน บริหารความเสี่ยงระดับรายการ) กลยุทธ์ (Strategy) 8. การกำกับและบริหารแผนยุทธศาสตร์แบบครบวงจร การกำหนดแผนบริหารความเสี่ยงระดับองค์กร วิเคราะห์และสรุปผล ติดตามประเมินผล ปฏิบัติ 6. การแปลงแผนยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ

KPI : Key Performance Indicator ( ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานหลักที่สำคัญ ) KPI : Key Performance Indicator

ประเภทตัวชี้วัด ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ ตัวชี้วัดที่เป็นระดับขั้นตอนการดำเนินงาน

ประเภทของการจัดทำตัวชี้วัด กำหนดวัตถุประสงค์ในแต่ละมุมมอง และพิจารณาว่าอะไรคือ ตัวชี้วัดที่จะทำให้บรรลุวัตถุประสงค์ จัดทำ Key Result area (KRA) หรือสิ่งที่มีความสำคัญต่อ ความสำเร็จขององค์กร จัดทำตัวชี้วัดโดยอาศัยการถาม-ตอบ

เกณฑ์การกำหนดตัวชี้วัด ( KPI ) SMART คือ : S - Specific มีลักษณะเฉพาะเจาะจง ชัดเจน M - Measurable สามารถวัดได้ A - Achievable สามารถบรรลุ หรือ สำเร็จได้ R - Realistic สอดคล้องกับความเป็นจริง T - Timely วัดได้ตามช่วงเวลาที่กำหนด

12 คุณลักษณะของตัวชี้วัดที่ดี วัดผลได้ชัดเจนเป็นรูปธรรม วัดผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินงาน สอดคล้องกับ Vision , Mission , Strategic Issue , Goal เก็บข้อมูลได้ หน่วยงานสามารถควบคุมได้ มีความเชื่อมโยงเหตุ - ผล CEO + ผู้เกี่ยวข้อง + ผู้ตรวจประเมินยอมรับ

ตัวชี้วัดที่ดี 8.มีเกณฑ์ในการคัดเลือกตัวชี้วัด 9.ต้องเปลี่ยนพฤติกรรมคนให้สอดคล้องกับตัวชี้วัด 10.เน้นการบูรณาการร่วมกัน 11.สอดคล้องกับแผนที่มีอยู่ 12.ประกอบด้วยตัวชี้วัดที่เป็นเหตุและเป็นผล 13.ตัวชี้วัดที่สร้างต้องมีบุคคลหรือหน่วยงานรับผิดชอบ

ตัวชี้วัดที่ดี 14.มีหลักเกณฑ์ในการกำหนดจำนวนตัวชี้วัด 15. แปลงตัวชี้วัดจากระดับองค์กรไปยังผู้บริหารระดับต่างๆ 16.ตัวชี้วัดที่สร้างต้องมีบุคคลหรือหน่วยงานรับผิดชอบ

1. วัดผลได้ชัดเจนเป็นรูปธรรม ร้อยละ / อัตรา / สัดส่วน จำนวน ผลสำเร็จ ระดับขั้นของความสำเร็จ ( Milestone )

1. วัดผลได้ชัดเจนเป็นรูปธรรม ร้อยละ / อัตรา / สัดส่วน Ex.ร้อยละของงบประมาณที่สามารถประหยัดได้ Ex.ร้อยละของนักศึกษาที่จบการศึกษาแล้วมีงานทำ Ex.ร้อยละของผู้เข้าอบรมที่ผ่านเกณฑ์การทดสอบความรู้ Ex.อัตราการป่วยด้วยไข้เลือดออก(ต่อแสนประชากร) Ex.สัดส่วนผู้ติดยาเสพติดลดลง(ต่อพันประชากร)

1. วัดผลได้ชัดเจนเป็นรูปธรรม จำนวน Ex. จำนวนผู้เข้าอบรมที่ผ่านเกณฑ์การทดสอบความรู้ Ex. จำนวนโรงเรียนที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานโรงเรียน ส่งเสริมสุขภาพ Ex. จำนวนหลักสูตรที่มีการเรียนการสอนแบบ On-line

1. วัดผลได้ชัดเจนเป็นรูปธรรม ผลสำเร็จ Ex. ผลสำเร็จในการจัดทำข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง (Blueprint for Change) Ex. ผลสำเร็จในการจัดทำฐานข้อมูลจังหวัด Ex. ผลสำเร็จในการจัดหลักสูตรการเรียนการสอนแบบ On-line

1. วัดผลได้ชัดเจนเป็นรูปธรรม ระดับขั้นของความสำเร็จ ( Milestone ) Ex. ระดับความสำเร็จในการจัดทำข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง (Blueprint for Change) Ex. ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการป้องกันและ ปราบปรามการทุจริตและพฤติมิชอบ

2. วัดผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินงาน ผลสัมฤทธิ์ (Results) ปัจจัยนำเข้า ( Inputs ) กิจกรรม ( Processes ) ผลผลิต ( Outputs ) ผลลัพธ์ ( Outcomes ) ผลลัพธ์สุดท้าย ( Ultimate Outcomes )

3. สอดคล้องกับ Vision , Mission , Strategic Issue , Goal KPI อัตราส่วนตำบลที่ส่งผลิตภัณฑ์จำหน่ายในต่างประเทศ เสริมสร้างอาชีพที่ยั่งยืน รายได้ที่มั่นคง มีการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่ดี บนพื้นฐานการมีส่วนร่วมของประชาชน ร้อยละของแหล่งน้ำธรรมชาติที่ไม่ถูกทำลาย หรือเสื่อมโทรม

Goal KPI เป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวนานาชาติครบวงจรที่ได้คุณภาพมีมาตรฐาน ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของรายได้จากการท่องเที่ยว ประชาชนมีคุณภาพชีวิตและอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดี ร้อยละของอำเภอที่ผ่านเกณฑ์เมืองไทยแข็งแรง

4. เก็บข้อมูลได้  วิธีการจัดเก็บข้อมูลตัวชี้วัด ► แบบสอบถาม  วิธีการจัดเก็บข้อมูลตัวชี้วัด ► แบบสอบถาม ► แบบประเมิน ► รายงานการประชุม ► รวบรวม จัดทำสถิติ ► แบบฟอร์มรายงานผล ► อื่น ๆ

ตัวอย่าง KPI : ร้อยละของประชาชนมีความตระหนัก ในการสวมหมวกนิรภัยขณะขับขี่รถจักรยานยนต์ KPI : จำนวนประชาชนที่ไม่สวมหมวกนิรภัยขณะขับขี่รถจักรยานยนต์

5. หน่วยงานสามารถควบคุมได้ เป็นภารกิจหลักของหน่วยงาน หน่วยงานเป็นผู้ปฏิบัติหลัก มีการดำเนินงานร่วมกับหน่วยงานอื่น

ตัวอย่าง KPI : จำนวนโรงงานผลิตอาหารเพื่อการส่งออกเพิ่มขึ้น KPI : ร้อยละของโรงงานผลิตอาหารเพื่อการส่งออก มีการดำเนินงานตามมาตรฐาน GMP

6. มีความเชื่อมโยงเหตุ - ผล เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ชาติ/ รัฐบาล KPI เป้าหมายการให้บริการสาธารณะ (ระดับกระทรวง) KPI ผลผลิต เป้าหมายการให้บริการระดับหน่วยงาน

7. CEO + ผู้เกี่ยวข้อง + ผู้ตรวจประเมินยอมรับ ผู้เกี่ยวข้อง ร่วมปฏิบัติ ( Cross Function ) ผู้ตรวจประเมิน รักษามาตรฐานให้เป็นที่ยอมรับทั่วไป

8. เกณฑ์ในการคัดเลือกตัวชี้วัด เชื่อมโยงกับกลยุทธ์หรือไม่ สามารถวัดได้ชัดเจนหรือไม่ เข้าใจง่ายหรือไม่ เป็นที่ยอมรับหรือไม่ เก็บข้อมูลได้หรือไม่

8.เกณฑ์ที่ใช้ในการพิจารณาตัวชี้วัด ความพร้อมของข้อมูล และความถูกต้องของข้อมูล ความทันสมัยของข้อมูล ต้นทุนในการจัดหาข้อมูล ความชัดเจนของตัวชี้วัด ตัวชี้วัดต้องสะท้อนให้เห็นผลกรดำเนินงานที่แท้จริง เปรียบเทียบกับผลการดำเนินงานในอดีต หรือองค์กรอื่นได้ ตัวชี้วัดมีความสัมพันธ์กับตัวชี้วัดอื่นในเชิงเหตุและผล

9.พฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงไป คนจะตอบสนองต่อตัววัดที่ใช้ คนจะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามการถูกวัด พึงระวัง - การสร้างหลักฐานปลอม - ไม่ใช่ข้อมูลจริง - สิ้นเปลืองงบประมาณ เวลา - สร้างวัฒนธรรมที่ไม่ดีในองค์กร

10. ตัวชี้วัดต้องเน้นการบูรณาการ ไม่ก่อให้เกิดความขัดแย้งในองค์กร - แต่ละหน่วยงานอาจมีการแย่งชิงทรัพยากร - ไม่ก่อให้เกิดการร่วมมือ ฉะนั้นต้อง - สร้างตัวชี้วัดที่มีการร่วมมือกันระหว่างหน่วยงาน - กำหนดขอบเขต ข้อปฏิบัติร่วมกันที่ชัดเจน ยอมรับได้

11.สอดคล้องกับแผนที่มีอยู่แล้ว ผลลัพธ์ของแผนคืออะไร สร้างตัวชี้วัดของผลลัพธ์ อะไรคือปัจจัยแห่งความสำเร็จในการบรรลุผลลัพธ์ กำหนดตัวชี้วัดในการบรรลุแต่ละปัจจัย

12.ประกอบด้วยตัวชี้วัดที่เป็นเหตุและเป็นผล ผลลัพธ์ของแผนคืออะไร สร้างตัวชี้วัดของผลลัพธ์ อะไรคือปัจจัยแห่งความสำเร็จในการบรรลุผลลัพธ์ กำหนดตัวชี้วัดในการบรรลุแต่ละปัจจัย

13.ตัวชี้วัดที่สร้างต้องมีบุคคลหรือหน่วยงานรับผิดชอบ ผู้รับผิดชอบหลัก ผู้ร่วมรับผิดชอบ ผู้ที่เกี่ยวข้อง ต้องกำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบที่ชัดเจน

14.มีหลักเกณฑ์ในการกำหนดจำนวนตัวชี้วัด เริ่มจากการกำหนดตัวชี้วัดให้มากที่สุด ใช้เครื่องมือทดสอบคุณภาพ จัดลำดับความสำคัญ คัดเลือกตัวชี้วัดที่มีคุณค่าที่สุด

15.แปลงตัวชี้วัดจากระดับองค์กรไปยังผู้บริหารระดับต่างๆ ผู้บริหารพิจารณาตัวชี้วัดขององค์กรที่ตนเองรับผิดชอบ แปลงตัวชี้วัดไปสู่ระดับต่อไป - ผู้บริหารกำหนด - ร่วมกันกำหนด

ความหมาย การให้ค่าคะแนน การคำนวณผล การเก็บข้อมูล ผู้รับผิดชอบ 16.มีการกำหนดแฟ้มแสดงตัวชี้วัด ความหมาย การให้ค่าคะแนน การคำนวณผล การเก็บข้อมูล ผู้รับผิดชอบ

การกำหนดเป้าหมาย

ความสำคัญของเป้าหมาย ไม่มีเป้าหมายย่อมไม่รู้ว่าผลงานได้ตามที่คาดไว้หรือไม่ หากมีการกระจายเป้าหมายและความรับผิดชอบในการปรับปรุงเป้าหมาย ดังกล่าวลงในหน่วยงานทุกระดับจะทำให้ทุกหน่วยงานตระหนักในความ สำคัญของงาน เป็นแนวทางในการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง กระตุ้นให้การทำงานมีความท้าทาย

ที่มาของเป้าหมาย ข้อมูลจากการพูดคุยกับพนักงาน จากการวิเคราะห์ผลประกอบการและแนวโน้ม จากการพูดคุยกับผู้บริหาร สัมมนาร่วม ข้อมูลจาก SWOT จากการเทียบเคียงกับคู่แข่งหรือองค์กรอื่น จากค่าเฉลี่ยของอุตสาหรรม จากการสำรวจลูกค้า

ข้อควรระวังในการกำหนดเป้าหมาย หลีกเลี่ยงค่าเฉลี่ย การยืดเป้าหมาย เป้าหมายต้องไม่มั่ว เห็นพ้องกัน ต้องมีการอนุมัติเป้าหมาย ต้องท้าทาย เพียงพอต่อการบรรลุกลยุทธ์

การตั้งเป้าหมาย (Target) การพิจารณาแนวโน้มในอดีต (Trend) ปี่ 1 ปีที่ 4 ปีที่ 5 ปีที่ 6 ปีที่ 3 ปีที่ 2 ผลงาน ปี เส้นแนวโน้ม (Trend)

การตั้งเป้าหมาย (Target) ควรถ่ายทอดจากเป้าหมายระดับชาติ (เป้าหมายรัฐบาล , วาระแห่งชาติ กระทรวงเจ้าสังกัด) ผลงาน ปี ปีที่ 1 ปีที่ 4 ปีที่ 5 ปีที่ 6 ปีที่ 3 ปีที่ 2 เป้าหมายของรัฐบาลภายใน 1 ปี จัดสรร Resource

การตั้งเป้าหมาย (Target) การปรับปรุงพัฒนาอย่างต่อเนื่อง (Self Improvement) ปีที่ 1 15 % ปีที่ 3 25% ปีที่ 2 20%

การตั้งเป้าหมาย (Target) การกำหนดเป็นเป้าหมายแบบก้าวกระโดด (Stretch Targeting) ผลการดำเนินงาน ปี ปีที่ 3 ปีที่ 4 ปีที่ 5 ปีที่ 2 ปีที่ 1 ปีที่ 6 Self-Improvement Stretch Targeting

การตั้งเป้าหมาย (Target) การกำหนดเป้าหมายจากนโยบาย (Policy Targeting) ผลงาน ปี ปีที่ 1 ปีที่ 4 ปีที่ 5 ปีที่ 6 ปีที่ 3 ปีที่ 2 - จัดสรร Resource - เกลี่ยคน - เกลี่ยงบประมาณ

การตั้งเป้าหมาย (Target) การพิจารณาผลการดำเนินงานที่ดีที่สุดขององค์กร (Best Performance)

การตั้งเป้าหมาย (Target) การรักษามาตรฐานที่ดีไว้ (Sustainability) คุณภาพการบริการปีที่ 2 คุณภาพการบริการปีที่ 1

การตั้งเป้าหมาย (Target) การเปรียบเทียบกับค่าเดียวกันของหน่วยงานอื่น (Benchmarking) ยอดขาย 1,000 ล้านกระป๋อง/ปี ยอดขาย 3,000 ล้านกระป๋อง/ปี

การตั้งเป้าหมาย (Target)

การกำหนดเป้าหมายและการประเมินผลโครงการ

การตั้งเป้าหมาย (Target) การกำหนดเป้าหมายโดยไม่มีฐานข้อมูล (X Target) เป้าหมาย ค่าเฉลี่ยเดือน 1 - เดือน 3 เท่ากับ X Y เท่ากับ X + 10 % 12 1 2 3 4 5 6 เดือน เริ่มเก็บข้อมูลสถิติ สถิติผลงานจริง